จิตวิทยาการเรียนการสอนและความเป็นครู

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 40

สารบัญ

หน้ า
ความหมายจิตวิทยาการเรี ยนการสอน........................................................................... 1
ความสาคัญของจิตวิทยาการเรี ยนการสอน................................................................... 2
จิตวิทยาทางการศึกษา................................................................................................... 4
แรงจูงใจ....................................................................................................................... 5
ประเภทของแรงจูงใจ................................................................................................... 7
การปรับตัว................................................................................................................... 10
กลวิธีในการปรับตัว..................................................................................................... 11
สุ ขภาพจิตและลักษณะของผูท้ ี่มีสุขภาพจิตดี............................................................... 13
ทัศนคติและความสนใจ............................................................................................... 19
องค์ประกอบของทัศนคติ............................................................................................ 19
การสร้างและพัฒนาทัศนคติที่ดีต่อการเรี ยน................................................................ 20
การสร้างและพัฒนาทัศนคติที่ดีต่อการเรี ยน................................................................ 23
ความหมายของการเรี ยนรู ้ .......................................................................................... 24
หลักการของทฤษฎี สิ่งเร้ าและการตอบสนอง............................................................ 25
การจัดสภาพที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ ................................................................................. 27
การถ่ายโยงการเรี ยนรู ้ ................................................................................................. 29
ธรรมชาติของการเรี ยนรู ้ ............................................................................................. 30
จิตวิทยาการรับรู ้ และปั จจัยที่เกี่ ยวข้องกับการรับรู ้ ..................................................... 32
จิตวิทยาการเรี ยนรู้....................................................................................................... 34
จิตวิทยาพัฒนาการ....................................................................................................... 36

บรรณานุกรม............................................................................................................... 38
คานา

รายงานนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของรายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา เป็ นการรายงานเรื่ อง


จิ ตวิท ยาการเรี ย นการสอน ในเอกสารรายงานนี้ จะบอกถึ ง ความหมายของจิ ตวิทยาการเรี ย นการสอน
ความสาคัญของจิตวิทยา จิตวิทยาทางการศึกษา การสร้ างและพัฒนาทัศนคติที่ดีต่อการเรี ยน ซึ่ งเป็ นส่ วน
สาคัญต่อการรับรู ้และการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน ซึ่ งผูท้ ี่ได้คน้ คว้าและศึกษาเอกสารเล่มนี้ สามารถนาวิธีการและ
หลักการใช้จิตวิทยาต่อการเรี ยนการสอนไปใช้ในลักษณะต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ได้ดา้ นการเรี ยนการ
สอนได้
ทางคณะผูจ้ ดั ทารายงานเล่ มนี้ หวังเป็ นอย่างยิ่งว่า รายงานเล่ มนี้ จะเป็ นประโยชน์ต่อผูท้ ี่ ได้ศึกษา
ค้นคว้าในเรื่ อง จิตวิทยาการเรี ยนการสอน และปั จจัยต่างๆ ที่ส่งผลให้ผเู้ รี ยนและผูส้ อนบรรลุวตั ถุประสงค์
ได้

คณะผูจ้ ดั ทา
18/02/2554
จิตวิทยาการเรียนการสอนและความเป็ นครู

ความหมาย
“จิตวิทยา”เป็ นศาสตร์ ที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมและกระบวนการทางจิต โดยศึกษาว่าสิ่ งเหล่านี้ได้
อิทธิ พลอย่างไรจากสภาวะทางร่ างกาย สภาพจิตใจและสิ่ งแวดล้อมภายนอก
แนวทางในการศึกษา
ศึกษาและสังเกตพฤติกรรมการเรี ยนรู ้อย่างเป็ นระบบในห้องทดลอง นาผลการทดลองไปใช้ในสถานการณ์
จริ งในห้องเรี ยนค้นหาวิธีการเรี ยนการสอนที่มีประสิ ทธิภาพ ศึกษาเกี่ยวกับการวัดและการประเมินทาง
การศึกษา ศึกษาพัฒนาการด้านต่างๆของนักเรี ยน
จิตวิทยากับการเรียนการสอน
จิตวิทยาการเรี ยนการสอนเป็ นศาสตร์ อนั มุ่งศึกษาการเรี ยนรู ้และพฤติกรรมของผูเ้ รี ยนในสถานการณ์
การเรี ยนการสอน พร้อมทั้งหาวิธีที่ดีที่สุดในการสอนให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้อย่างสอดคล้องกับพัฒนาการของ
ผูเ้ รี ยน
ความรู้ ทอี่ ยู่ในขอบข่ ายการเรี ยนการสอน
1. ความรู้เรื่ องพัฒนาการมนุษย์
2. หลักการของการเรี ยนรู้และการสอนประกอบด้วย
ทฤษฎีการเรี ยนรู ้และการเรี ยนรู ้ชนิ ดต่างๆ
3. ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่มีผลต่อการเรี ยน
4. การนาเอาหลักการและวิธีการเรี ยนรู้ไปใช้ในการ
แก้ปัญหาการเรี ยนการสอน
จุดมุ่งหมายของการนาจิตวิทยามาประยุกต์ ใช้ กบั การเรียนการสอน
ประการแรก มุ่งพัฒนาองค์ความรู ้เกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ของมนุษย์ในสถานการณ์การเรี ยนการสอน
ประการที่สอง นาเอาองค์ความรู ้ขา้ งต้นมาสร้างรู ปแบบเชิงปฏิบตั ิเพื่อครู และผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับการจัด
การศึกษา สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการเรี ยนการสอน
หลักการสาคัญ
1. มีความรู ้ในเนื้อหาวิชาที่สอน
2. มีความสามารถในการประยุกต์หลักการจิตวิทยาเพื่อการเรี ยนการสอน
3. มีความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ใหม่
4. มีเจตคติที่ดีต่อผูเ้ รี ยน
จิตวิทยาครู
ครู หมายถึง ผูส้ อน มาจากภาษาบาลีวา่ “ครุ ”
ภาษาสันสกฤตว่า “คุรุ” แปลว่า หนัก สู งใหญ่
- ครู ตอ้ งรับภารหนักในหน้าที่และความรับผิดชอบ
- ครู ตอ้ งมีความหนักแน่น สุ ขมุ ไม่ววู่ าม ทั้งความคิดและการกระทา
บทบาทและความสาคัญของครู ในปัจจุบัน
ธี รศักดิ์ (2542) ได้กล่าวถึง 4 ประเด็น ดังนี้
- บทบาทและความสาคัญต่อเยาวชน
- บทบาทและความสาคัญของครู ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
- บทบาทและความสาคัญของครู ในการรักษาชาติ
- บทบาทและความสาคัญของครู ในเยียวยาสังคม

รู ปแบบของครู (Models of Teachers)


Fenstermacher และ Soltis (1992)ได้กล่าวถึงรู ปแบบและบทบาทของครู เป็ น 3 ประเภท
1. The Executive Model ทาหน้าที่คล้ายบริ หาร
2. The Therapist Model มีส่วนร่ วมในการเรี ยนการสอนอย่างใกล้ชิด
3. The Liberationist Model ครู ที่ให้อิสระผูเ้ รี ยนในการเรี ยนรู้

Parsons and others (2001) กล่าวว่าครู ควรมีหลายบทบาทตามความเหมาะสมของสภาพการณ์ มิใช่มี


ความรู ้หรื อเชี่ยวชาญเฉพาะเนื้อหา ดังนั้นครู อาจมีบทบาท ดังนี้
- รับผิดชอบการวางแผนการสอนและวัดผล
- มีความรู ้เกี่ยวกับวิธีการสอนหรื อให้ขอ้ มูลแก่ผเู ้ รี ยนอย่างมีประสิ ทธิภาพ
- ทาหน้าที่ผจู้ ดั การ หรื อบริ หารห้องเรี ยนให้เหมาะสมกับการเรี ยนรู ้
- ให้คาปรึ กษา รับฟังความคิดเห็นแก่ผเู ้ รี ยน

บทบาทดังกล่าวนี้มีความสอดคล้องกับแนวคิดของWoolfok และ Nicalich (1980) ที่กล่าวไว้หลายประเด็น


และมีคลอบคลุม ดังนี้
- เป็ นผูช้ านาญการสอน เป็ นผูท้ ี่กระตุน้ ให้เกิดแรงจูงใจ
- เป็ นผูจ้ ดั การ เป็ นผูน้ า
- เป็ นผูใ้ ห้คาปรึ กษา
- เป็ นวิศวกรสังคม
- เป็ นตัวแบบ
หลักการทีส่ าคัญสาหรับครู
Mamchak and Mamchak (1981) ได้กล่าวถึงขั้นตอนในการสร้างบรรยากาศในห้องเรี ยนที่เป็ น
รู ปธรรม เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างครู และนักเรี ยน
การสร้ างบรรยากาศในห้ องเรียน
- ไม่ร้ื อฟื้ นปั ญหาที่เคยเกิดขึ้น
- ให้ความยุติธรรมแก่เด็ก อย่างเท่าเทียมกัน
- ตั้งเป้ าหมายที่นกั เรี ยนสามารถทาได้
- ครู ควรบอกถึงข้อจากัดของตน
- ครู ควรทราบข้อจากัดของเด็กแต่ละคน
- ครู ควรใส่ ใจเด็กทุกคน
ความสาคัญของจิตวิทยาการเรียนการสอน
- ทาให้รู้จกั ลักษณะนิสัยของผูเ้ รี ยน
- ทาให้เข้าใจพัฒนาการบุคลิกภาพบางอย่างของผูเ้ รี ยน
- ทาให้ครู เข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล
- ทาให้ครู ทราบว่ามีองค์ประกอบใดบ้างที่มีผลกระทบต่อสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเช่น แรงจูงใจ ความคาดหวัง
เชาวน์ปัญญา ทัศนคติ ฯลฯ
ความสาคัญของจิตวิทยาการเรียนการสอน
- ทาให้ครู ทราบทฤษฎี หลักการเรี ยนรู้ รวมทั้งหลักการสอนและวิธีการสอน
- ทาให้ครู วางแผนการสอนได้อย่างเหมาะสม
- ทาให้ครู จดั สภาพแวดล้อมของห้องเรี ยนได้สอดคล้องกับพัฒนาการ รวมทั้งสร้างบรรยากาศในชั้นเรี ยนที่
เอื้อต่อการปกครองชั้นเรี ยน (สุ วรี , 2535)
จิตวิทยาการศึกษา
จิตวิทยาการศึกษาเป็ นวิทยาศาสตร์ ที่ศกึ ษาวิจยั เกี่ยวกับการเรี ยนรู้และพัฒนาการของผู้เรี ยน ใน
สภาพการเรี ยนการสอนหรื อในชันเรี ้ ยน เพื่อค้ นคิดทฤษฎีและหลักการที่จะนามาช่วยแก้ ปัญหาทาง
การศึกษาและส่งเสริมการเรี ยนการสอนให้ มีประสิทธิภาพ
จิตวิทยาการศึกษามีบทบาทสาคัญในการจัดการศึกษา การสร้ างหลักสูตรและการเรี ยนการสอน
โดยคานึงถึงความแตกต่างของบุคคล นักการศึกษาและครูจาเป็ นจะต้ องมีความรู้พื ้นฐานทางจิตวิทยา
การศึกษา เพื่อจะได้ เข้ าใจพฤติกรรมของผู้เรี ยนและกระบวนการเรี ยนรู้ ตลอดจนแก้ ปัญหาต่างๆ
เกี่ยวกับการเรี ยนการสอนเหมือนกับวิศวกรที่จาเป็ นจะต้ องมีความรู้พื ้นฐานทางวิทยาศาสตร์ และ
คณิตศาสตร์ โดยทัว่ ไปแล้ ว เนื ้อหาของจิตวิทยาการศึกษาที่เป็ นความรู้พื ้นฐานสาหรับครูและนักการ
ศึกษาประกอบด้ วยหัวข้ อต่อไปนี ้
๑. ความสาคัญของวัตถุประสงค์ ของการศึกษาและบทเรี ยน นักจิตวิทยาการศึกษาได้ เน้ น
ความสาคัญของความแจ่มแจ้ งของการระบุวตั ถุประสงค์ของการศึกษา บทเรี ยน ตลอดจนถึงหน่วยการ
เรี ยน เพราะวัตถุประสงค์จะเป็ นตัวกาหนดการจัดการเรี ยนการสอน
๒. ทฤษฎีพัฒนาการ และทฤษฎีบุคลิกภาพ เป็ นเรื่ องที่นกั การศึกษาและครูจะต้ องมีความรู้
เพราะ จะช่วยให้ เข้ าใจเอกลักษณ์ของผู้เรี ยนในวัยต่างๆ โดยเฉพาะวัยอนุบาล วัยเด็ก และวัยรุ่น ซึง่ เป็ น
วัยที่กาลังศึกษาในโรงเรี ยน
๓. ความแตกต่ างระหว่ างบุคคลและกลุ่ม นอกจากมีความเข้ าใจพัฒนาการของเด็กวัยต่างๆ
แล้ ว นักการศึกษาและครูจะต้ องเรี ยนรู้ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและกลุม่ ทางด้ านระดับเชาวน์
ปั ญญา ความคิดสร้ างสรรค์ เพศ สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม ซึง่ นักจิตวิทยาได้ คิดวิธีการวิจยั ที่จะช่วย
ชี ้ให้ เห็นว่าความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็ นตัวแปรที่สาคัญในการเลือกวิธีสอน และในการสร้ างหลักสูตรที่
เหมาะสม
๔. ทฤษฎีการเรี ยนรู้ นักจิตวิทยาที่ศกึ ษาวิจยั เกี่ยวกับการเรี ยนรู้ นอกจากจะสนใจว่าทฤษฎีการ
เรี ยนรู้จะช่วยนักเรี ยนให้ เรี ยนรู้และจดจาอย่างมีประสิทธิภาพได้ อย่างไรแล้ ว ยังสนใจองค์ประกอบเกี่ยวกับ
ตัวของ ผู้เรี ยน เช่น แรงจูงใจว่ามีความสัมพันธ์กบั การเรี ยนรู้อย่างไร ความรู้เหล่านี ้ก็มีความสาคัญต่อ
การเรี ยนการสอน
๕. ทฤษฎีการสอนและเทคโนโลยีทางการศึกษา นักจิตวิทยาการศึกษาได้ เป็ นผู้นาในการ
บุกเบิกตังทฤษฎี
้ การสอน ซึง่ มีความสาคัญและมีประโยชน์เท่าเทียมกับทฤษฎีการเรี ยนรู้และพัฒนาการใน
การช่วยนักการศึกษาและครูเกี่ยวกับการเรี ยนการสอน สาหรับเทคโนโลยีในการสอนที่จะช่วยครูได้ มากก็คือ
คอมพิวเตอร์ ชว่ ยการสอน
๖. หลักการสอนและวิธีสอน นักจิตวิทยาการศึกษาได้ เสนอหลักการสอนและวิธีการสอนตาม
ทฤษฎีทางจิตวิทยาที่แต่ละท่านยึดถือ เช่น หลักการสอนและวิธีสอนตามทัศนะนักจิตวิทยาพฤติกรรมนิยม
ปั ญญานิยม และมานุษยนิยม
๗. หลักการวัดผลและประเมินผลการศึกษา ความรู้พื ้นฐานเกี่ยวกับเรื่ องนี ้จะช่วยให้ นกั
การศึกษา และครูทราบว่า การเรี ยนการสอนมีประสิทธิภาพหรื อไม่ หรื อผู้เรี ยนได้ สมั ฤทธิผลตาม
วัตถุประสงค์เฉพาะของ แต่ละวิชาหรื อหน่วยเรี ยนหรื อไม่ เพราะถ้ าผู้เรี ยนมีสมั ฤทธิผลสูง ก็จะเป็ น
ผลสะท้ อนว่าโปรแกรมการศึกษามีประสิทธิภาพ
๘. การสร้ างบรรยากาศของห้ องเรียน เพื่อเอื ้อการเรี ยนรู้และช่วยเสริมสร้ างบุคลิกภาพของ
นักเรี ยน
ความสาคัญของจิตวิทยาการศึกษาต่ ออาชีพครู
วิชาจิตวิทยาการศึกษาสามารถช่วยครูได้ ในเรื่ องต่อไปนี ้
๑. ช่วยครูให้ ร้ ูจกั ลักษณะนิสยั (Characteristics) ของนักเรี ยนที่ครูต้องสอน
๒. ช่วยให้ ครูมีความเข้ าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการของนักเรี ยน
๓. ช่วยครูให้ มีความเข้ าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล
๔. ช่วยให้ ครูร้ ูวิธีจดั สภาพแวดล้ อมของห้ องเรี ยนให้ เหมาะสมแก่วยั
๕. ช่วยให้ ครูทราบถึงตัวแปรต่าง ๆ
๖. ช่วยครูในการเตรี ยมการสอนวางแผนการเรี ยน
๗. ช่วยครูให้ ทราบหลักการและทฤษฎีของการเรี ยนรู้
๘. ช่วยครูให้ ทราบถึงหลักการสอนและวิธีกานที่มีประสิทธิภาพ
๙. ช่วยครูให้ ทราบว่านักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนดี ไม่ได้ เป็ นเพราะระดับเชาวน์ปัญญาอย่างเดียว
๑๐. ช่วยครูในการปกครองชันและการสร้
้ างบรรยากาศของห้ องเรี ยน

การจูงใจ
การจูงใจ (Motivation) คืออะไร มีผ้ ใู ห้ คาจากัดความของการจูงใจไว้ ดงั นี ้
๑. การจูงใจ คือขบวนการทางจิตใจที่ผลักดันให้ บคุ คลแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึง่ จน
สาเร็จ และถูกต้ องตามแนวทางที่ต้องการ
๒. การจูงใจ หมายถึงแรงซึง่ ส่งเสริมให้ เด็กทางานจนบรรลุถึงความสาเร็จ และแรงนี ้ย่อมนาทาง
ให้ เด็กทางานไปในแนวที่ถกู ต้ องด้ วย
๓. การจูงใจ หมายถึงพฤติกรรมที่สนองความต้ องการของมนุษย์ และเป็ นพฤติกรรมที่นาไปสู่
จุดหมายปลายทาง
แม้ วา่ นักจิตวิทยาจะใช้ คาอธิบายถึงความหมายของการจูงใจไว้ ตา่ งๆ กัน แต่ความหมาย
ก็คล้ ายคลึงกัน โดยสรุปแล้ ว การจูงใจหมายถึง "พลังแรงที่ทาให้ เกิดพฤติกรรมและควบคุมแนวทางของ
พฤติกรรมด้ วย"

คาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการจูงใจ มีดงั ต่อไปนี ้คือ


๑. ความต้ องการและแรงขับ (Needs and Drives) ความต้ องการ (Needs) เกิดขึ ้น
เมื่อบุคคลมีอาการ "ขาด" เช่น ขาดอาหาร ขาดความปลอดภัย ขาดอากาศหายใจ ขาดผู้นบั ถือ เป็ นต้ น
เมื่อเกิดการขาดก็มีแรงขับ (Drives) เกิดขึ ้น แรงขับคือสภาพที่อินทรี ย์ได้ รับการกระตุ้น ทาให้ เกิดการ
กระทาขึ ้น
แรงขับทุกชนิดมีต้นกาเนิดมาจากกายภาพ หรื อแรงกระตุ้นภายใน เพื่อสนองความต้ องการที่เกิดขึ ้น
แรงขับและความต้ องการจึงมีความสัมพันธ์กนั แทบจะกล่าวได้ วา่ เกิดขึ ้นในเวลาเดียวกันก็ได้ นักจิตวิทยาบาง
ท่านจึงมักใช้ สองคานี ้ในความหมายอันเดียวกัน
๒. แรงขับ และแรงจูงใจ (Drives and Motives) "แรงขับ" (Drive) หมายถึง แรง
กระตุ้นให้ บคุ คลมี พฤติกรรมเป็ นแรงภายในตัวบุคคล ส่วน "แรงจูงใจ" (Motive) คือ สภาพความ
พร้ อมของอินทรี ย์ในการปฏิบตั ิ กิจกรรมใดๆ หรื อเป็ นสภาพที่อินทรี ย์ถกู กระตุ้น เพื่อไปสูจ่ ดุ หมาย
ปลายทางที่ตงไว้ั ้ เช่นเมื่อเหนื่อยก็จะเกิดแรงขับให้ พกั ผ่อน หรื ออยากนอน เป็ นต้ น
แรงขับ หรื อแรงจูงใจ แบ่งออกเป็ น ๓ ประการดังนี ้
๑. แรงจูงใจทางร่างกาย (Physiological Motives) เกิดจากความต้ องการทาง
ร่างกาย มีความหิว ความกระหาย การขับถ่าย การพักผ่อน ตลอดจนความต้ องการทางเพศ เด็กแรกเกิด
มักจะมีพฤติกรรมที่เนื่องมาจากแรงจูงใจทางร่างกายเป็ นส่วนใหญ่
๒. แรงจูงใจทางสังคม (Social Motives) เป็ นแรงจูงใจที่เกิดจากการเรี ยนรู้
(Learning) เช่น ความต้ องการชื่อเสียง เกียรติยศ ทรัพย์สิน อานาจ ความพึงพอใจ การ
พักผ่อนหย่อนใจ การแสวงหาความ สนุกสนาน
๓. แรงจูงใจส่วนบุคคล (Personal Motives) เป็ นแรงจูงใจที่พฒ ั นาขึ ้นในตัวบุคคล ซึง่
แต่ละบุคคลจะแตกต่างกันออกไป แรงจูงใจส่วนบุคคลนี ้มีรากฐานมาจากความต้ องการทางร่างกายและ
ความต้ องการทางสังคมประกอบกัน เช่น จะออกมาในรูปของการสะสมต่างๆ เช่น การสะสมแสตมป์
การสะสมที่ดนิ การออมทรัพย์ เป็ นต้ น
ประเภทของการจูงใจ
นักจิตวิทยาแบ่งการจูงใจเป็ น ๒ ประเภทดังนี ้
๑. การจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation) ได้ แก่ ความต้ องการ ความอยาก
รู้อยากเห็น ความสนใจ ตลอดจนการที่มีทศั นคติที่ดีตอ่ สิ่งใดสิ่งหนึง่ เป็ นแรงจูงใจที่เกิดจากตัวบุคคล
โดยตรง
๒. การจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation) ได้ แก่ แรงที่เกิดจากเครื่ องเร้ า
ภายนอกมากระตุ้น ทาให้ บคุ คลเกิดพฤติกรรมต่างๆ ได้ แรงจูงใจดังกล่าวมีดงั นี ้คือ
๒.๑ บุคลิกภาพของครู รูปร่างตลอดจนอารมณ์ และความรู้ของครู ช่วยให้ นกั เรี ยนเกิด
ความประทับใจ และเกิดความสาเร็จในการเรี ยนได้ มาก
๒.๒ ความสาเร็จในการทางาน เด็กที่ได้ รับความรู้และทักษะเพิ่มขึ ้นจากการเรี ยน ก็เป็ น
แรงจูงใจให้ เด็กตังใจเรี
้ ยนดียิ่งขึ ้น
๒.๓ เครื่ องล่อต่าง ๆ เช่น
ก. การให้ รางวัล (Reward) รางวัลไม่จาเป็ นต้ องเป็ นสิ่งของเสมอไป อาจจะเป็ น
การให้ คาชมเชย ให้ สิทธิพิเศษก็ถือเป็ นการให้ รางวัลทังสิ ้ ้น การให้ รางวัลมีทงคุ
ั ้ ณและโทษ ประโยชน์ที่
ได้ จากการ ให้ รางวัลนันอาจจะช่ ้ วยให้ เด็กขยัน และประพฤติดีขึ ้น เด็กมีความพยามยาม และเอาใจใส่
การเรี ยนดีขึ ้น เป็ นต้ น ส่วนโทษของการให้ รางวัลนัน้ อาจจะทาให้ เด็กเห็นคุณค่าของรางวัลมากกว่าคุณค่า
ของการเรี ยน ทาให้ เด็กทาดีเฉพาะตอนได้ รางวัล และนอกจากนี ้ยังทาให้ ครูสิ ้นเปลืองมากด้ วย
ข. การลงโทษ (Punishment) เช่นการเฆี่ยนตี การตาหนิ การตัดสิทธิ
ตลอดจนการ กักบริเวณ เป็ นต้ น การลงโทษก็นบั เป็ นวิธีที่ชว่ ยให้ เด็กขยันและตังใจเรี
้ ยนดีขึ ้น ไม่คดิ
ทาความผิดต่อไป แต่การลงโทษก็ให้ โทษด้ วยเช่นเดียวกัน เช่น ทาให้ เด็กเกิดอารมณ์ตงึ เครี ยด ทา
ให้ เป็ นผลเสียต่อการเรี ยน บางคราวอาจทาให้ เด็กเกิดพยาบาทครูได้ ถ้ าเด็กเห็นว่าการลงโทษของครูไม่
ยุตธิ รรม
ค. การแข่งขัน (Competition) การแข่งขันถ้ าเป็ นไปในทานองเป็ นมิตร จะเป็ น
การจูงใจในการเรี ยนที่ดีอย่างหนึง่ การแข่งขันที่นกั จิตวิทยาสนับสนุน มี ๓ วิธี ดังนี ้
๑. การแข่งขันระหว่างนักเรี ยนทังหมด้
๒. การแข่งขันระหว่างหมูต่ อ่ หมู่
๓. การแข่งขันกับตนเอง
การแข่งขันข้ อ ๑ และข้ อ ๒ ย่อมมีทงคุ ั ้ ณและโทษ คุณประโยชน์ที่จะได้ นนั ้ อาจจะทาให้ เด็กเกิดความ
ขยันหมัน่ เพียรที่จะเอาชนะ และเกิดความภาคภูมิใจเมื่อชนะ ตลอดจนเกิดความสามัคคีกนั ระหว่างกลุม่
ส่วนโทษนันอาจจะท
้ าให้ เกิดความอิจฉาริษยากันในระหว่างนักเรี ยน ทาให้ เกี่ยงงอนกัน คอยจับผิดกัน
และอาจจะทาให้ แตกความสามัคคีกนั ได้
การแข่งขันที่นกั จิตวิทยาสนับสนุนอย่างยิ่งคือ การแข่งขันกับตนเอง (Self -
Competition) เพราะ ช่วยให้ บคุ คลประสบความเจริญสูงสุด เท่าที่ความสามารถของบุคคลจะ
อานวยให้ ช่วยให้ เด็กประสบความก้ าวหน้ าตามอัตภาพ
ผลที่ได้ จากการจูงใจ
๑. ทาให้ เกิดพลังงาน หรื อเกิดมีพฤติกรรมต่างๆ ขึ ้น เช่น การชมเชย ย่อมทาให้ เกิดความ
ชื่นบาน มีกาลังใจในการทางานยิ่งขึ ้น
๒. ทาให้ เกิดการเลือก จัดเป็ นการกาหนดพฤติกรรมต่างๆ ของบุคคล เช่น การอ่าน
หนังสือพิมพ์ ผู้ที่สนใจการกีฬา ก็จะอ่านข่าวกีฬา ผู้สนใจการเมือง ก็จะอ่านข่าวการเมืองก่อนข่าว
อื่น เป็ นต้ น การจัด บทเรี ยน จึงควรจัดให้ ตรงกับความสนใจของเด็กเป็ นประการสาคัญ
๓. เป็ นสิ่งที่ชว่ ยกระตุ้นให้ เด็กเกิดความพร้ อมในการเรี ยน นับเป็ นการเร้ าให้ เด็กเกิดความพร้ อม
ในการเรี ยนได้ เป็ นอย่างดี
๔. เป็ นการนาเด็กไปสูจ่ ดุ หมายปลาย เช่น เด็กวัยรุ่นต้ องการความเป็ นอิสระ เลี ้ยงชีพด้ วยตนเอง
เด็กก็จะพยายามเรี ยนจนสาเร็จ เพื่อจะให้ หาเงินเลี ้ยงชีพด้ วยตนเองได้
แรงจูงใจกับการเรี ยนการสอน ในการเรี ยนการสอนนัน้ สิ่งสาคัญที่สดุ ประการหนึ่งก็คือ
ส่งเสริมให้ เด็กเกิดมีแรงจูงใจขึ ้น ถ้ าสามารถทาได้ ควรส่งเสริมให้ เด็กเกิดแรงจูงใจภายใน แต่แรงจูงใจ
ภายในนันปลู้ กฝั งได้ ยาก ครูทวั่ ไปจึงมักใช้ แรงจูงใจภายนอกเข้ าช่วย แรงจูงใจภายนอกที่ครูใช้ อยูเ่ ป็ น
ประจา มีดงั นี ้
๑. รางวัล การให้ รางวัลมีหลายอย่าง เช่น ให้ รางวัลเป็ นของ การให้ เครื่ องหมายอันเป็ น
สัญลักษณ์แห่งความดี เช่น ให้ ดาว หรื อให้ เกียรติบางอย่าง หรื อให้ สิทธิพิเศษบางอย่าง การให้ รางวัลนี ้
ครูแทบทุกคนปฏิบตั กิ นั อยู่ และเมื่อให้ รางวัลไปแล้ ว เด็กรู้สกึ ตื่นเต้ นและเรี ยนดีขึ ้น แต่นกั จิตวิทยาและ
นักการศึกษาบางท่านไม่เห็นด้ วยกับการให้ รางวัล โดยกล่าวว่า การให้ รางวัลนันมี ้ ทางทาให้ เด็กเรี ยนเพื่อ
เอารางวัล มากกว่าเรี ยนเพื่อให้ เกิดความรู้จริง ๆ ถ้ าครูให้ รางวัลบ่อยเกินไป นอกจากนี ้เมื่อเด็กได้ รับรางวัล
ไปแล้ ว จะไม่ทาให้ เด็กกระตือรื อร้ นอย่างเดิมอีก
ฉะนันในการให้
้ รางวัล ครูไม่ควรให้ บอ่ ยเกินไป หรื อเป็ นของที่มีราคาแพงเกินไป และควรให้ เด็ก
ได้ รับรางวัลทัว่ ถึงกันไม่ใช่จะให้ อยูเ่ พียง ๒ - ๓ คนแรกเท่านัน้
๒. ความสาเร็จในการเรี ยน การที่เด็กได้ รับความรู้และทักษะเพิ่มขึ ้นจากการเรี ยน ก็เป็ น
แรงจูงใจให้ เด็กเรี ยนดีขึ ้นกว่าเดิม
อย่างไรก็ดีครูต้องคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลด้ วย นัน่ คือ ครูต้องจัดการสอนให้
สอดคล้ องกับระดับความสามารถของเด็กทุกคน เพื่อให้ เด็กแต่ละคนได้ รับความสาเร็ จตามระดับของตน
การสอนที่เราทากันเป็ นปกตินนั ้ ได้ แก่การสอนตามแบบกลางๆ ซึง่ ไม่พยายามปรับบทเรี ยนให้ เข้ ากับเด็ก
ทุกระดับ ซึง่ อาจจะทาให้ เด็กที่เรี ยนเก่ง เบื่อหน่าย เพราะเรื่ องที่สอนนันง่ ้ ายเกินไป คนปานกลางอาจสนุก
ส่วนเด็กอ่อนอาจจะเรี ยนไม่ทนั เพราะครูสอนเร็วเกินไป
ความสาเร็จที่เด็กได้ รับแม้ จะเป็ นความสาเร็จเล็กๆ น้ อยๆ ก็ตาม แต่ก็ยอ่ มทาให้ เด็กเกิดความ
เชื่อมัน่ ในตนเอง มีความภูมิใจในตนเองและมีกาลังใจที่จะเรี ยนมากขึ ้น
๓. การยกย่ องชมเชย คาชมที่เหมาะกับโอกาสและเหมาะสมกับการกระทาของนักเรี ยนย่อม
เป็ นแรง จูงใจให้ แก่เด็กเป็ นอย่างดี แต่ถ้าครูชมอย่างไม่จริ งใจ และเด็กรู้กนั ทัว่ ไปว่า คาชมเชยของครูไม่มี
ความหมายพิเศษเด็กจะไม่เอาใจใส่ตอ่ คาชมเชยนัน้ ครูไม่ควรใช้ คาชมพร่ าเพรื่ อ
สาหรับเด็กที่เรี ยนอ่อนนัน้ แม้ เรี ยนดีขึ ้นเพียงเล็กน้ อย เราก็ควรชมเชย ส่วนเด็กเรี ยนเก่ง
จะชมก็ตอ่ เมื่อทางานยากๆ ได้ สาเร็จ คาชมของครูจงึ จะมีคา่ สาหรับเด็กทุกคน
ในแง่ของจิตวิทยามีผ้ พู บแล้ วว่า การชมเชยเด็กที่เก็บตัวมักได้ ผลดีในการจูงใจกว่าการชมเด็ก
เปิ ดเผย และการชมเด็กเก่งมากๆ มักได้ ผลน้ อยกว่าการชมเด็กอ่อน
๔. การตาหนิ ถ้ าครูใช้ การตาหนิแต่เพียงเล็กน้ อยไม่พร่ าเพรื่ อเกินไปแล้ ว การตาหนิก็มีผลใน
การ สร้ างแรงจูงในในการเรี ยนได้ มากเหมือนกัน ในการตาหนินนครู ั ้ ต้องทาให้ เหมาะสมกับความบกพร่อง
และตาหนิให้ เหมาะกับโอกาส ครูไม่ควรตาหนิเด็กโดยไม่มีหลักฐาน และต้ องให้ เด็กรู้วา่ ตนควรแก้ ไข
อย่างไร
การตาหนิก็เหมือนกับการชมเชย ต้ องเลือกใช้ ให้ เหมาะสมกับบุคคล ถ้ าครูตาหนิเด็กเรี ยนอ่อน
มากๆ คาตาหนินนจะไม่ ั้ มีผลในการสร้ างแรงจูงใจ ถ้ าตาหนิเด็กเรี ยนเก่งให้ ตรงกับข้ อบกพร่องของเด็ก คา
ตาหนิของครูจะมีผลดีมาก แต่เท่าที่เราปฏิบตั กิ นั อยูน่ นเรามั
ั้ กทาตรงข้ ามกับคากล่าวนี ้ คือเราชอบตาหนิ
เด็กเรี ยนอ่อนและยกย่องเด็กเรี ยนเก่ง
เด็กเก็บตัวไม่ชอบให้ ครูตี เด็กพวกนี ้ยิ่งตียิ่งเสียหายหนักขึ ้น แทนที่จะมีผลในการสร้ างแรงจูงใจ
คาตาหนิของครู อาจทาให้ เด็กประเภทนี ้หมดกาลังใจมากขึ ้น ส่วนเด็กเปิ ดเผยไม่เป็ นไร
๕. การแข่ งขัน การแข่งขันในการเรี ยน ถ้ าเป็ นไปในทานองเป็ นมิตรก็เป็ นการจูงใจในการเรี ยน
ที่ดี อย่างหนึง่ ครูควรเปิ ดโอกาสให้ เด็กแข่งขันหลาย ๆ ทาง การแข่งขัน นักจิตวิทยาแบ่งออกเป็ น ๓ วิธี
คือ
๑. แข่งขันระหว่างนักเรี ยนทังหมด ้
๒. แข่งขันระหว่าง หมูต่ อ่ หมู่
๓. แข่งขันกับตนเอง
๖. ความช่ วยเหลือ ความร่วมมือก็นบั เป็ นแรงจูงใจในการเรี ยนที่ดีอย่างหนึง่ ตามปกติเด็ก
ย่อมมีความต้ องการฐานะทางสังคม และความต้ องการความรักอยูแ่ ล้ ว ความร่วมมือเป็ นการสนับสนุนให้
เด็กสนองความต้ องการทังสองอย่้ างนี ้ได้ เป็ นอย่างดี
๗. การรู้ จักความก้ าวหน้ าของตน ซึง่ มีลกั ษณะคล้ ายคลึงกับความสาเร็จ แต่การที่เด็กจะ
ทราบถึงความก้ าวหน้ าของคนนันต้ ้ องอาศัยการบอกกล่าวของครู ถ้ าเด็กทราบความก้ าวหน้ าของตนอยู่
เสมอ เด็กจะมีกาลังใจที่จะเรี ยนมากขึ ้น
๘. การรู้ จักวัตถุประสงค์ ของการเรี ยน การทราบวัตถุประสงค์ของการเรี ยนเรื่ องใดเรื่ องหนึง่
จะทาให้ เด็กเข้ าใจแนวการเรี ยนได้ ดีขึ ้น และจะทาให้ เด็กมีแรงจูงใจมากขึ ้น วัตถุประสงค์ที่เด็กควรทราบมี
ทังจุ
้ ดประสงค์ในระยะใกล้ และจุดประสงค์ในระยะไกล จุดประสงค์ในระยะใกล้ ได้ แก่ประโยชน์ปัจจุบนั
ของการเรี ยนเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง ส่วนวัตถุประสงค์ในระยะไกลได้ แก่การเรี ยนในอนาคตของเด็กเอง

การปรับตัว
ความหมายของการปรับตัว
วิธีการที่บคุ คลหาทางลดความวิตกกังวลให้ น้อยลงหรื อหมดไปนี ้ก็คือการปรับตัว
(Adjustment)
สาเหตุของการปรับตัว
คนเราจะปรับตัวเมื่อเกิดความไม่สบายใจ ความวิตกกังวล (Anxiety) ความคับข้ องใจ
(Frustration) และความเครี ยด (Tension) ซึง่ อาจจะเกิดจากสิ่งต่อไปนี ้
๑. ไม่ สามารถตอบสนองความต้ องการพื้นฐาน (need) ของตนได้
๑.๑ ความต้ องการทางด้ านร่างกาย
๑.๒ ต้ องการความปลอดภัย
๑.๓ ต้ องการความรักและความเป็ นเจ้ าของ
๑.๔ ต้ องการได้ รับการยกย่องนับถือ
๑.๕ ต้ องการผู้ทาสัญญาแห่งตน
๒. เกิดจากความขัดแย้ ง ความขัดแย้ ง หมายถึง การที่บคุ คลไม่สามารถจะตัดสินใจเลือก
กระทา ทัง้ ๒ อย่างได้ ในขณะเดียวกันแต่จะต้ องเลือกกระทาเพียงอย่างเดียว กล่าวคือไม่สามารถจะ
สนองความต้ องการของคนได้ เด็ดขาดลงไป ความขัดแย้ งมี ๓ ลักษณะ
๒.๑ เป็ นความขัดแย้ งที่เกิดจากการที่จะต้ องเลือกเพียงอย่างเดียว ในสิ่งที่ตวั ชอบเท่าๆ กัน
ตังแต่
้ ๒ - ๓ อย่างขึ ้นไป จะไม่เลือกก็ไม่ได้ เลือกไปแล้ วก็ไม่สบายใจเพราะสิ่งต่างๆ เหล่านันเราไม่
้ ชอบ
เลยแต่เราก็ต้องเลือกอย่างใดอย่างหนึง่
๒.๒ เกิดจากการที่ตวั เองต้ องเลือกในสิ่งที่ไม่ชอบเลยตังแต่
้ ๒ - ๓ อย่างขึ ้นไป จะไม่เลือก
ก็ไม่ได้ เลือกไปแล้ วก็ไม่สบายใจ เพราะสิ่งต่างๆ เหล่านันเราไม่
้ ชอบเลย แต่เราก็ต้องเลือกอย่างใดอย่าง
หนึง่
๒.๓ เกิดขึ ้นในกรณีที่สิ่งต่างๆ หรื อบุคคลหรื อสัตว์ ที่เราต้ องเลือกนันมี
้ ทงถู
ั ้ กใจและไม่ถกู ใจ
เราในระดับที่เท่าๆ กันทังหมดตั
้ งแต่
้ ๒ อย่างขึ ้นไป แต่เราก็ต้องเลือกเพียงอย่างเดียว
กลวิธานในการปรับตัวมีลักษณะต่ าง ๆ ดังต่ อไปนี ้
๑. อ้ างเหตุผลเข้ าข้ างตนเอง (Rationalization) เป็ นการอ้ างเหตุผลที่คดิ ว่าคนอื่นย่อม
รับ เพื่อรักษาศักดิศ์ รี ของตนเอง หรื อเพื่อให้ ตวั เขาสบายใจขึ ้น อาจแสดงออกในรูปขององุ่นเปรี ย้ วหรื อ
มะนาวหวาน
องุ่นเปรี ย้ ว เป็ นวิธีการที่ทาให้ ตนเองหรื อคนอื่นเข้ าใจว่าสิ่งที่ตนอยากได้ แล้ วไม่ได้ นนั ้ ไม่ดี เช่น
อยากมีรถเก๋งขี่ แต่ไม่มีก็ปลอบใจตนเองว่าไม่มีดีแล้ ว มีแล้ วรอจ่ายเพิ่ม หรื อเสียค่าดูแลรักษามากขึ ้น
มะนาวหวาน ตรงกันข้ ามกับองุ่นเปรี ย้ ว คือการที่บคุ คลพยายาามทาให้ ผ้ อู ื่นเข้ าใจว่าสิ่งที่เราได้
นันดี้ เลิศอยู่แล้ ว ทังๆ้ ที่ความจริงตัวอาจจะไม่ต้องการมาก่อน เช่น สอบเข้ าครูได้ ก็บอกใครๆ ว่าครูนี ้สอบ
เข้ ายากนะ เป็ นแล้ วรู้จกั คนมาก สังคมยกย่องด้ วย เป็ นต้ น
๒. การปรับตัวแบบหาสิ่งอื่นมาทดแทน (Substitution) เป็ นการหาสิ่งอื่นมาชดเชยสิ่งที่
ตัวเองขาด ซึง่ มี ๒ ลักษณะได้ แก่
๒.๑ การชดเชย (Compensation) เมื่อขาดสิ่งใดสิ่งหนึง่ ก็ไปหาสิ่งอื่นมาชดเชย
เป็ นการเปลี่ยนความต้ องการหรื อเป้าหมายใหม่ เช่น เด็กที่ไม่สวย อาจขยันเรี ยนเป็ นเด็กดีของโรงเรี ยน
เด็กที่เรี ยนอ่อนอาจจะหันไปฝึ กซ้ อมด้ านกีฬา หรื อด้ านศิลป์ หรื อคนร่างเตี ้ยอยากสูง มีวิธีการชดเชยโดย
วางท่าใหญ่หรื อเสียงดังฟั งชัด หรื อพูดจาโอ้ อวด
๒.๒ การทดแทน (Displacement) วิธีนี ้ไม่เปลี่ยนเป้าหมายแต่พยายามหาสิ่ง
ทดแทนอย่างอื่นที่มีลกั ษณะใกล้ เคียงกับความต้ องการเดิมและสิ่งใหม่นี ้ตัวเองพอจะหาทางตอบสนองได้
เช่น
คนก้ าวร้ าว อยากทาร้ ายตบตีชกต่อยคนอื่น แต่สงั คมไม่ยอมรับก็พยายามหาสิ่งทดแทนที่สงั คม
ยอมรับ เช่น เป็ นนักมวย จัดชกมวย เป็ นทหาร ตารวจ เป็ นต้ น หรื อคนอกหัก ก็หาทางระบายด้ วยการ
เขียนนิยายรักรันทดใจ เป็ นต้ น
๓. การปรับตัวแบบโทษผู้อื่นหรื อการโยนบาป (Projection) เป็ นการอ้ างความผิดของคน
อื่นขึ ้นมา ลบความผิดของตน เช่น ฉันไม่ได้ ๒ ขัน้ เพราะถูกเจ้ านายกลัน่ แกล้ ง หรื อเราลอกข้ อเดียว แต่
คนอื่นลอกการบ้ านทุกข้ อเลย เป็ นต้ น
๔. การนับตนเป็ นพวกเดียวกับปั ญหา (Identification) เป็ นทานองว่าถ้ าเอาชนะใคร
ไม่ได้ ก็ยอมเป็ นพวกเขาแต่โดยดี เช่น
๔.๑ เห็นเขาเก่งกว่าเรา มีความสามารถมากกว่าเราหรื อดีกว่าเรา เราอยากเป็ นอย่างนัน้
บ้ าง แต่เป็ นไปไม่ได้ จึงใช้ วิธีทาตนเป็ นพวกเดียวกับเขา เช่น การเอาอย่างบุคคลที่เด่นๆ ในสังคม ใน
เรื่ องกิริยาท่าทาง การแต่งตัวหรื อรสนิยม เป็ นต้ น
๔.๒ การนับตนเป็ นพวกเดียวกับใคร เพื่อให้ ได้ มาซึ่งความรัก เช่น เด็กอยากให้ พอ่ แม่รักก็
ทาตามอย่างพ่อแม่ ทาตามที่พอ่ แม่สอน เป็ นต้ น
๔.๓ การนับตนเป็ นพวกเดียวกับผู้ที่เราเห็นว่าถูกกดขี่ขม่ เหง เช่น ประกาศตนเป็ นพวก
เดียวกับ ชนหมูน่ ้ อยที่ไม่ได้ รับความเป็ นธรรม หรื อเข้ าข้ างผู้แพ้ เพราะตนมีความรู้สกึ ท้ าทายอานาจอยู่
แล้ ว
๔.๔ การนับตนเองเป็ นพวกเดียวกับใครที่เหมือนเรา ซึง่ มีอยูท่ วั่ ไป เช่น ชายหญิงที่มีฐานะ
เสมอกัน มีความสนใจและรู้รสนิยมคล้ ายกัน ได้ มาพบกันเข้ าก็รักกัน แต่งงานกัน เป็ นต้ น
(ข้ อ ๔.๔ นี ้อาจจะไม่เกี่ยวข้ องกับความวิตกกังวล)
๕. ความก้ าวร้ าว (Aggression) เป็ นการลดความคับข้ องใจโดยให้ ผ้ อู ื่นได้ รับความ
กระทบกระเทือน ซึง่ ส่วนใหญ่จะเนื่องมาจากความโกรธ เช่น
๕.๑ การก้ าวร้ าวโดยตรง (Direct Aggression) เป็ นการแสดงความก้ าวร้ าวต่อ
สิ่งของหรื อบุคคลที่ทาให้ โกรธหรื อคับข้ องใจ เช่น การเตะต่อยหรื อใช้ วาจาพูดให้ สะเทือนใจ หรื อการฟั น
แทง หรื อยิงกันจนบาดเจ็บหรื อตาย
๕.๒ การก้ าวร้ าวทางอ้ อม (Displaced Aggression) เช่น โกรธครูแล้ วตวาดเพื่อน
ไม่พอใจแฟนก็ทบุ ข้ าวของแตกหักเสียหาย โกรธเพื่อนบ้ านแล้ วลักของ หรื อทะเลาะกันแล้ วจุดไฟเผาบ้ านเป็ น
ต้ น
๖. การเปลี่ยนหน้ ามือเป็ นหลังมือ (Reaction Formation) เป็ นการปรับตัวแบบหน้ าไหว้ หลัง
หลอกโดยที่เจ้ าตัวไม่ร้ ูสกึ เช่น แม่ที่ปกป้องลูกขนาดหนัก จนลูกช่วยตัวเองไม่เป็ นตลอดชีวิต หารู้ไม่วา่ ส่วนลึก
นันชิ
้ งชังลูกอย่างเหลือเกิน การตามใจลูกเป็ นการแสดงหน้ าฉากเท่านัน้
๗. การเก็บกด (Repression) เป็ นการปรับตัวโดยการทาเป็ นลืม ทาไม่สนใจ ไม่คดิ ไม่กงั วล
พยายามปั ดออกไปจากจิตรู้สานึก โดยเฉพาะเหตุการณ์ที่ทาให้ เราเดือดร้ อน มีความทุกข์ ความละอายหรื อ
ความเจ็บปวดหรื อเจ็บแน่นแสนสาหัส นานๆ เข้ าอาจจะลืมได้ วิธีการแบบนี ้บุคคลไม่ได้ ระบายความวิตก
กังวลเลย ความวิตกกังวลหรื อความไม่สบายใจจึงมีอยูต่ ลอดเวลา นานๆ เข้ าจะทาให้ เป็ นคนเจ้ าทุกข์ เจ้ าคิด
เจ้ าแค้ น ไม่มีเวลาสาหรับความรื่ นรมย์ใด ๆ ในชีวิตเลย
๘. การปรับตัวแบบถอยกลับ (Regression) เป็ นวิธีการที่บคุ คลถอยกลับไปใช้ วิธีการแบบ
เด็กๆ อีก เพื่อเรี ยกร้ องความสนใจ เช่น การดูดนิ ้ว (ในเด็กอายุเกิน ๒ ขวบ) หรื อการปั สสาวะรดที่นอน
(ในเด็กอายุเกิน ๔ - ๕ ขวบ) หรื อผู้ใหญ่ที่ทาตนเป็ นวัยรุ่น เป็ นต้ น
๙. การติดชะงัก (Fixation) ปกติคนเราย่อมมีการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพตามขันตอนวั ้ ย
แตกต่างกันออกไป และคนเราย่อมจะก้ าวจากขันหนึ ้ ง่ ไปสูอ่ ีกขันหนึ้ ง่ เรื่ อยๆ ไปจนกว่าจะบรรลุความเป็ น
ผู้ใหญ่เต็มตัว แต่บางคนอายุมากแล้ ว แต่ยงั ติดชะงักอยูใ่ นวัยเด็กอยู่นนั่ เอง เป็ นเพราะว่าเขาเกิดความ
กลัวว่าขันต่
้ อไปจะเต็มไปด้ วยความลาบากยากแค้ น พวกนี ้จึงเป็ นพวกเลี ้ยงไม่ร้ ูจกั โต หรื อพวกที่เจ้ าระเบียบ
แบบกระดิกตัวไม่ได้ หรื อพวกที่ยดึ มัน่ อยู่กบั สิ่งเดียวตลอดชาติ ก็เป็ นพวกติดชะงัก เช่นเดียวกัน
๑๐. การสร้ างจุดเด่นให้ แก่ตนเอง (Geocentricism) เกิดแก่บคุ คลที่เรี ยกร้ องความสนใจ
จากผู้อื่น โดยการคุยโอ้ อวดความมัง่ มี คุยอวดความเก่งกล้ าสามารถ หรื อแต่งตัวผิดแปลกไปจากคน
อื่นหรื อพูดจาไม่เหมือนคนอื่น เป็ นต้ น
๑๑. การปรับตัวแบบต่อต้ านหรื อปฏิเสธตลอดเวลา (Negativism) เป็ นการเรี ยกร้ องความ
สนใจ และเป็ นการแก้ แค้ นวิธีหนึง่ เช่น การชอบทาอะไรในสิ่งที่คนอื่นไม่อยากให้ ทา หรื อเขาบอกไม่ให้ ทา
เราจะทาหรื อเราจะทาแต่พอเขาบอกให้ ทา กลับไม่ทาเลย
๑๒. การปรับตัวแบบเพ้ อฝั นหรื อฝั นกลางวัน (Fantasy or Day dreaming) เป็ นการ
ลดความคับข้ องใจโดยหนีไปสร้ างความสุขโดยการฝั นเฟื่ อง หรื อเหม่อลอยชัว่ ขณะ ซึง่ จะทาให้ เกิด
ความสุขชัว่ ครัง้ ชัว่ คราว
๑๓. การปรับตัวแบบหลบหนี (Withdrawal) เป็ นการหลบเลี่ยงการเผชิญหน้ ากับปั ญหา
หรื อคนอื่นๆ ชัว่ ขณะ อาจจะเก็บตัวหรื ออาจจะเจ็บป่ วยทางร่างกายโดยหาสาเหตุทางกายไม่พบก็ได้ หรื อ
อาจจะหันเขาหาสุรา กัญชาหรื อยาเสพติดประเภทต่างๆ ได้

สุขภาพจิต
สุขภาพจิต หมายถึงคุณลักษณะทางจิตใจของบุคคลที่จะปรับตัวให้ มีความสุขอยูก่ บั สังคมได้ ดี
พอสมควรและสามารถจะสนองความต้ องการของตนเองในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลาและ
สิ่งแวดล้ อมอื่นโดยไม่มีข้อขัดแย้ งภายในจิตใจมากนัก
คนที่สขุ ภาพจิตดี จะสามารถตอบสนองความต้ องการของตนเองได้ ในระดับที่เหมาะสม สามารถ
ลดความวิตกกังวลอันเนื่องมาจากการแก้ ปัญหาหรื อเนื่องมาจากความขัดแย้ งด้ วยวิธีการที่สมเหตุสมผล
และไม่ใช้ กลวิธานป้องกันตนเองอย่างใดอย่างหนึง่ นานๆ หรื อรุนแรงจนเกินไป
ลักษณะของผู้ท่ มี ีสุขภาพจิตดี
ผู้ที่มีสขุ ภาพจิตดีนนจะต้
ั ้ องมีลกั ษณะดังนี ้
๑. เป็ นผู้ที่ร้ ูจกั และเข้ าใจตนเองอย่างดี ซึง่ จะแสดงออกในรูปของ
- ยอมรับความผิดหวังได้ อย่างกล้ าหาญ
- ใจกว้ างพอที่จะยอมรับและเข้ าใจความรู้สึกนึกคิดของผู้อื่น
- ประมาณความสามารถของตนเองได้ ใกล้ เคียงกับความเป็ นจริง
- ยอมรับสภาพความขาดแคลนหรื อขีดจากัดบางอย่างของตนได้ และยอมรับนับถือ
ตนเอง
- สามารถจัดการกับสภาพการณ์หรื อเหตุการต่าง ๆ ที่เกิดขึ ้นกับตนได้
- พอใจและชื่นชมยินดีตอ่ ความสุขหรื อความสาเร็จของตนที่เกิดในชีวิตประจาวัน ไม่วา่
จะเล็กน้ อยก็ตาม
๒. เป็ นผู้ที่ร้ ูจกั เข้ าใจผู้อื่นได้ ดี ซึง่ แสดงออกในรูปของ
- ให้ ความสนใจและรักคนอื่นเป็ นและยอมรับความสนใจและความรักใคร่ที่คนอื่นมีตอ่ ตน
- เข้ าใจและยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล
- เป็ นได้ ทงผู ั ้ ้ นาและผู้ตามที่ดี
- เป็ นส่วนหนึง่ ของหมูค่ ณะ
- มีความรับผิดชอบต่อหมูค่ ณะหรื อบุคคลอื่นที่เกี่ยวโยง
๓. เป็ นผู้ที่สามารถเผชิญกับความจริงในชีวิตได้ เป็ นอย่างดี เช่น
- แก้ ปัญหาและเผชิญกับอุปสรรคได้ ด้วยตัวเอง โดยไม่หวาดกลัวมากนัก
- มีการวางแผนล่วงหน้ าในการกระทางานหรื อการปฏิบตั งิ านต่าง ๆ
- ตังจุ ้ ดมุง่ หมายของชีวิตไว้ สอดคล้ องกับความจริง
- ตัดสินใจในปั ญหาต่างๆ ได้ อย่างฉลาด ฉับพลัน ปกติปราศจากการลังเลหรื อเสียใจ
ภายหลัง
- สามารถใช้ พลังงานที่มีอยู่ได้ อย่างเต็มที่และเกิดประโยชน์มากที่สดุ เท่าที่จะทาได้
๔. ไม่ใช้ กลวิธานป้องกันตนเอง แบบใดแบบหนึง่ มากเกิน แต่จะยอมรับความจริงที่เกิดขึ ้นและ
พยายามหาวิธีลดความวิตกกังวลลงด้ วยวิธีการที่สมเหตุสมผล
๕. เป็ นผู้มีอารมณ์ขนั บ้ าง พยายามมองโลกในแง่ดีด้วยการพิจารณาข้ อดีของเหตุการต่างๆ หรื อการ
กระทาต่างๆ ของเรา เพราะเหตุการณ์หรื อการกระทาบางอย่างนันมี ้ ทงข้
ั ้ อดีและข้ อเสีย และการใช้ อารมณ์ขนั
ช่วยขัดจังหวะหรื อช่วยแก้ ไขเหตุการณ์ที่ตงึ เครี ยด จะทาให้ มองโลกน่ารื่ นรมย์ขึ ้น
บุคคลที่มีสุขภาพจิตใจไม่ ดี
บุคคลที่มีสขุ ภาพจิตไม่ดี จะเป็ นคนที่มีลกั ษณะตรงกันข้ ามกับที่กล่าวมาแล้ ว และเมื่อเกิดปั ญหาหรื อ
มีความวิตกกังวลมากๆ จะหาทางลดความวิตกกังวลด้ วยวิธีการที่ไม่สมเหตุสมผล และจะใช้ กลวิธานป้องกัน
ตนเองอยูต่ ลอดเวลา และจะทาให้ พฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากปกติธรรมดา พฤติกรรมที่เบี่ยงเบนไปจากปกติ
ธรรมดานี ้อาจเรี ยกได้ วา่ เป็ นพฤติกรรมที่ผิดปกติ โดยเริ่มจากดีกรี น้อยไปจนถึงดีกรี มากตามลาดับดังนี ้
๑. พฤติกรรมแปรปรวน (Behavior disorder)
๒. บุคลิกภาพแปรปรวน (Personality disorder)
๓. Psychosomatic disorder
๔. โรคประสาท (Neurosis)
๕. โรคจิต (Psychosis)

ปั ญหาที่ก่อให้ เกิดสุขภาพจิตเสีย มีดังนี ้


๑. ปั ญหาที่เกิดจากตัวเด็ก ได้ แก่
ก. ลักษณะทางอารมณ์
ข. ลักษณะประจาตัว
ค. ความเหนื่อยล้ าและปั ญหาอื่น
๒. ปั ญหาที่เกิดจากสิ่งแวดล้ อม ได้ แก่
ก. บ้ าน
ข. โรงเรี ยน
ค. สื่อมวลชน
๑. ปั ญหาที่เกิดจากตัวเด็ก ได้ แก่
ก. ลักษณะทางอารมณ์ อารมณ์เป็ นทังสั ้ ญชาติญาณ และประสบการณ์ของมนุษย์ คนเรามีอารมณ์
อยูเ่ สมออย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อารมณ์เป็ นสิ่งสาคัญอย่างหนึง่ ที่มีผลต่อสุขภาพจิตเป็ นอันมาก คนที่มี
สุขภาพจิตดีมกั จะควบคุมอารมณ์ได้ ดี คนที่สขุ ภาพจิตไม่ดีมกั จะมีอารมณ์ไม่แน่นอนควบคุมตนเองไม่ได้
รวมความว่าอารมณ์มีความสาคัญต่อสุขภาพจิตมาก อารมณ์บางอย่างมักจะส่งผลกระทบกระเทือนต่อ
สุขภาพจิต เช่น
๑. ความกลัว ความกลัวนี ้มีตา่ งๆ กัน เช่น กลัวความมืด กลัวความแออัด กลัวที่
สูง ความจริงความกลัวนับว่ามีประโยชน์ในด้ านที่ชว่ ยทาให้ บคุ คลหนีหา่ งจากภัยอันตราย แต่ความกลัวที่
มีมากจนเกินไปในสิ่งที่ไม่ควรกลัว หรื อกลัวโดยไม่มีเหตุผลล้ วนทาให้ เสียสุขภาพจิต
๒. ความวิตกกังวล มีลกั ษณะคล้ าย ๆ กับความกลัว มักเป็ นอารมณ์ที่เกิดอยู่
นานๆ และส่วนใหญ่เป็ นการวิตกกังวลที่ไม่มีเหตุผลเพียงพอ ถ้ าวิตกกังวลมากๆ และนานๆ ก็ทาให้
สุขภาพจิตเสียได้
๓. ความโกรธ บางคนโกรธอย่างรุนแรงเกินขอบเขต และมักแสดงออกอย่าง
รุนแรง เช่น ในยามที่บนั ดาลโทสะ ถ้ าปล่อยให้ เกิดขึ ้นบ่อยๆ ก็นบั ว่าเป็ นอันตรายและทาให้ สขุ ภาพจิต
เสื่อมลงได้ มาก แต่การสกัดกันความโกรธเอาไว้
้ ทงหมดโดยไม่
ั้ แสดงออกมาเลย ถ้ าทาเสมอๆ ก็เป็ นผลร้ าย
แก่สขุ ภาพจิตได้ เช่นกันอารมณ์อย่างอื่นๆ เช่นความเกลียด ความริษยา ความพยาบาท ความเศร้ า ฯลฯ
เหล่านี ้กระทบกระเทือนต่อสุขภาพจิตเช่นกัน
ข. ลักษณะประจาตัวที่อาจทาให้ สุขภาพจิตบกพร่ อง ได้ แก่
๑. สติปัญญาต่าหรื อสูงเกินไป จากการวิจยั ปรากฎว่าคนสติปัญญาต่ามัก
ปรับตัวได้ น้อยกว่าคนที่มีสติปัญญาสูง แต่ในทางตรงกันข้ าม คนที่สติปัญญาสูงมากเกินไปก็มีปัญหาใน
การปรับตัวเช่นกัน เพราะเด็กฉลาดอาจอยูใ่ นสังคมของคนธรรมดาได้ ยาก อาจเบื่อหน่ายภาวะแวดล้ อม
เช่นนัน้ บางทีก็พบความ บกพร่องจนทนไม่ไหว ความรู้สกึ เช่นนี ้ทาให้ เขาปรับตัวได้ ยาก
๒. ความบกพร่ องทางร่ างกาย เด็กที่อ้วนเกินไป ผอมเกินไป สูงเกินไปหรื อเตี ้ย
เกินไป อาจได้ รับความลาบากใจในการปรับตัว มักถูกเพื่อนฝูงรังแกหรื อล้ อเลียนเอา ครูจงึ ต้ องเอาใจใส่
คอยประคับประคองเด็กพวกนี ้ไว้ เสมอ
๓. ความพิการ เด็กพวกนี ้ก็เช่นกันมักจะถูกเพื่อนฝูงล้ อเลียนต่างๆ นานาจนเจ้ าตัว
อาจ รู้สกึ ว่าจนเองมีปมด้ อย ครูที่เคยสอนมานานๆ มักจะทราบดีวา่ เด็กพวกนี ้มักจะไม่คอ่ นมีเพื่อนสนิท
บางคนหลีกห่างจากเพื่อนฝูง และบางคนก็มีอารมณ์ฉนุ เฉียวง่าย อันเป็ นลักษณะที่แสดงว่าปรับตัวไม่ได้
ครูควรจะคอยช่วยเหลือชี ้แจงเหตุผลที่ดีที่ควรให้ เด็กพวกนี ้พยายามแสดงความสามารถและหาทางที่จะเข้ า
กับเพื่อนๆ ให้ ได้
๔. ความรู้ สึกเกี่ยวกับฐานะของเด็ก กล่าวโดยทัว่ ไปเด็กที่มาจากครอบครัวฐานะ
ดีมกั จะมีความรู้สกึ มัน่ คงในจิตใจ วางตัวได้ ดีไม่เคอะเขินในการสมาคม ส่วนเด็กจากครอบครัวยากจน
อาจขาดแคลน บางอย่าง หรื อหลายอย่างทาให้ ขาดความมัน่ คงทางอารมณ์ มีความน้ อยเนื ้อต่าใจและ
ปรับตัวให้ เข้ ากับสังคม ในโรงเรี ยนได้ ยาก ครูควรพยายามช่วยด้ วยการชี ้แจงแสดงให้ เห็นว่าฐานะในทาง
เศรษฐกิจนันไม่
้ ส้ สู าคัญอะไรนัก แต่คณ ุ ภาพของตัวบุคคลนันต่้ างหากที่มีความสาคัญและเป็ นที่ยกย่อง
ของสังคม
ค. ความเหนื่อยล้ าและปั ญหาอื่น ๆ
๑. ความเหนื่อยล้ า (Fatigue) ความเหนื่อยล้ าอย่างธรรมดา คือ ความ
เหนื่อยล้ าทาง ร่างกาย อาจแก้ ได้ ด้วยการพักผ่อนให้ เพียงพอ แต่ความเหนื่อยล้ าทางจิตที่เกิดจากความ
กดดันทางอารมณ์ ความเบื่อหน่าย ความไม่สนใจ หรื อบางทีก็เกิดขึ ้นมาอย่างไม่มีเหตุผลเหล่านี ้ อาจทา
ให้ คนเราเสียสุขภาพจิตได้
๒. การขาดความรู้ ในการแก้ ปัญหา เมื่อมีปัญหาเกิดขึ ้นแต่เด็กไม่สามารถจะแก้
ได้ เพราะขาดความรู้ความสามารถ ปั ญหานันก็ ้ จะตกค้ างทาให้ เด็กเกิดความตึงเครี ยดทางอารมณ์เพราะ
จนปั ญญา เด็กอาจท้ อถอยเกิดความทรมานใจ ทาให้ สขุ ภาพจิตเสียได้ ครูต้องคอยสังเกตและช่วยเหลือ
อย่าให้ เกิดมีกรณี เช่นนี ้ขึ ้น
๓. ความสามารถในการแก้ ปัญหาของแต่ ละบุคคล เด็กแต่ละคนมี
ความสามารถในการ แก้ ปัญหาต่างกัน และมีความอดทนต่อปั ญหาต่างๆ กัน บางคนทนได้ มาก บางคน
ทนได้ น้อยและในปั ญหาชนิดเดียวกัน บางคนก็เห็นเป็ นเรื่ องธรรมดา แต่บางคนเห็นเป็ นเรื่ องร้ ายแรงจน
ยากที่จะแก้ ไข เด็กประเภทหลังนี ้จึงมีโอกาสสุขภาพจิตเสียได้ ง่าย ครูจงึ ต้ องคอยสังเกตให้ ความช่วยเหลือ
และช่วยปลุกปลอบใจด้ วย
๒. ปั ญหาจากสิ่งแวดล้ อม ได้ แก่
๒.๑ สิ่งแวดล้ อมทางบ้ าน บ้ านและความเป็ นอยู่ ภายในบ้ านที่ดียอ่ มช่วยส่งเสริ มสุขภาพจิต
ของเด็กได้ มาก เด็กที่ได้ รับความรัก ได้ รับการเลี ้ยงดูอย่างดี ย่อมมีความอดทนต่อปั ญหาต่างๆ ได้ ดี บ้ านที่
มีลกั ษณะดังต่อไปนี ้ อาจทาให้ เกิดปั ญหาทางสุขภาพจิตได้ มาก
ก. บ้ านแตก (Broken Home) ได้ แก่บ้านที่ขาดพ่อ - แม่ หรื อขาดผู้ปกครองฝ่ าย
ใดฝ่ ายหนึง่ โดยเฉพาะเด็กทารกที่ขาดแม่ อาจเกิดเป็ นโรคขาดแม่ และมีอาการถึงตายได้ อย่างน่าสมเพช
หรื อบ้ านที่พอ่ แม่ชอบมีเรื่ องทะเลาะเบาะแว้ งกันอย่างรุนแรง บ้ านเช่นนี ้ก่อให้ เกิดความตึงเครี ยดทางอารมณ์
แก่เด็กได้ มาก
ข. บ้ านที่ปล่อยปละละเลยลูก บ้ านบางแห่งมักไม่สนใจลูกเท่าที่ควร โดยเฉพาะในการ
ดูแล อบรมสัง่ สอน
ค. บ้ านที่ผ้ ปู กครองเข้ มงวดเกินไป เด็กที่อยูใ่ นบ้ านชนิดนี ้จะรู้สกึ อึดอัดมีความกดดัน
ทางอารมณ์ รู้สกึ ว่าตนถูกกดขี่ จนทาให้ เกิดปั ญหา
ง. บ้ านที่ค้ มุ ครองเด็กมากเกินไป พ่อแม่บางคนรักและหวังดีตอ่ ลูกจนเกินควร จึง
พยายาม หาทุกสิ่งทุกอย่างให้ ลกู บางทีก็กลัวว่าลูกจะเป็ นอันตราย หรื อได้ รับความลาบากจึงคอยคุ้มคา
องป้องกันภัยให้ ลกู ทุกขณะ ทาให้ เด็กขาดความสามารถและยุง่ ยากในการปรับตัว เพราะไม่ได้ ฝึกฝนการ
แก้ ปัญหาด้ วยตนเอง ทาให้ เกิดความลาบากที่จะเข้ ากับสังคมในอนาคต
จ. ภาวะแวดล้ อมที่ไม่ผาสุขในบ้ าน ในครอบครัวที่ฐานะยากจนมากๆ เด็กเติบโตมา
ด้ วยความยากลาบาก ไม่ได้ รับการสนองความต้ องการขันพื ้ ้นฐานเต็มที่สกั ครัง้ เดียว พ่อแม่ทะเลาะกัน
เพราะการ ทามาหากินไม่พอเลี ้ยงครอบครัว พ่อแม่ติดสุราเล่นการพนัน
๒.๒ สิ่งแวดล้ อมทางโรงเรี ยน โรงเรี ยนอาจมีสว่ นทาให้ เด็กเสียงสุขภาพจิตได้ เนื่องจากสิ่ง
ต่างๆ ดังต่อไปนี ้
ก. ข้ อบังคับและระเบียบที่เข้ มงวดและหยุมหยิมจนเกินไป สิ่งเหล่านี ้อาจทาให้ เด็กเกิด
ความรู้สกึ กดดันทางอารมณ์ เพราะมีความลาบากใจ ที่จะต้ องปฏิบตั ใิ นสิ่งที่ฝืนธรรมชาติของเด็ก
จนเกินไป ผู้บริหารงานในโรงเรี ยน จึงควรพิจารณาแก้ ไขปรับปรุงระเบียบข้ อบังคับแต่พอเหมาะพอควร
อย่าให้ หยุมหยิมจนเกินไป จนเด็กเกิดความรู้สกึ ยากลาบากใจที่จะปฏิบตั ติ าม
ข. การปกครองโดยอาศัยอานาจเด็ดขาดของครู ไม่วา่ จะเป็ นครูใหญ่หรื อครูน้อย วิธี
ปกครองโดยให้ เด็กต้ องฟั งคาบัญชาของครูแต่ฝ่ายเดียวนันท ้ าให้ เด็กรู้สกึ ขาดความอิสระ และเด็กบางคนก็
จะปรับตัวได้ ยากเหมือนกัน
ค. ความหละหลวมของโรงเรี ยน หมายถึงโรงเรี ยนที่ปกครองอย่างไม่มีระเบียบแบบ
แผนที่ดี สภาพเช่นนี ้จะไม่ชว่ ยให้ เด็กเกิดสุขภาพจิตที่ดี ตรงกันข้ ามเด็กส่วนใหญ่จะปรับตัวให้ เข้ ากับ
สภาพแวดล้ อมเช่นนี ้ได้ ยาก
ง. การแข่งขัน เด็กที่เข้ าเรี ยนในโรงเรี ยนจะต้ องแข่งขันกับเพื่อนนักเรี ยนด้ วยกันหลาย
อย่าง นับตังแต่ ้ แข่งขันในการเรี ยนจนกระทัง่ ถึงการแข่งขันกีฬาและความประพฤติ ถ้ าเด็กต้ องแข่งขันกัน
มากๆ เด็กบางคนอาจเกิดความตึงเครี ยดจากอารมณ์มาก จนปรับตัวได้ ยาก
จ. การสอบไล่และการทดสอบ เด็กส่วนใหญ่มกั ได้ รับความกดดันทางอารมณ์จากการ
สอบไล่และการทดสอบอยูไ่ ม่น้อย ความกดดันทางอารมณ์ดงั กล่าวนี ้อาจทาให้ เด็กเสียสุขภาพจิตได้ มาก
แต่โดยเหตุที่ การสอบไล่ยงั มีประโยชน์ในทางการศึกษาอยูม่ าก เราจึงจาเป็ นต้ องมีการสอบไล่อยู่ตอ่ ไป
จนกว่าจะมีความคิดหา วิธีการอย่างอื่นมาใช้ แทนได้
สิ่งแวดล้ อมในโรงเรี ยนดังกล่าวมานี ้ บางโรงเรี ยนก็มีข้อบกพร่องมาก บางโรงเรี ยนก็มีข้อบกพร่อง
น้ อย ความจริงสิ่งแวดล้ อมดังกล่าวนี ้ก็หาใช่จะเป็ นเครื่ องบัน่ ทอนสุขภาพจิตของเด็กทังหมดไม่ ้ เพราะ
เด็กส่วนใหญ่ ก็ปรับตัวให้ เข้ ากับสิ่งแวดล้ อมได้ อย่างราบรื่ น ถึงอย่างไรก็ดีครูก็ควรคานึงถึง
อิทธิพลของสิ่งแวดล้ อมดังกล่าว และพยายามหาทางช่วยเหลือเด็กที่ยงั เป็ นปั ญหาให้ สามารถปรับตัวได้
ราบรื่ นตามสมควร
๒.๓ สื่อมวลชน สื่อมวลชนได้ แก่หนังสือพิมพ์รายวัน รายสัปดาห์ วารสาร หนังสืออ่านเล่น
ดนตรี ภาพยนต์ ละคร วิทยุ โทรทัศน์ สิ่งพิมพ์ตา่ งๆ ฯลฯ สื่อมวลชนที่มีอยูใ่ นสังคมนี ้ เป็ นตัวอย่างที่ดี
และไม่ดีแก่เด็ก ถ้ าสร้ างตัวอย่างที่ไม่ดีให้ แก่เด็ก หรื อมีลกั ษณะที่ทาให้ เกิดความตึงเครี ยด หรื อกดดันทาง
อารมณ์ขึ ้นในตัวเด็ก ก็อาจทาให้ เด็กสุขภาพจิตเสียได้ ทางที่ดี จึงต้ องมีการควบคุม เลือกเฟ้นให้ เด็กได้ ฟัง
ได้ ดไู ด้ อา่ น แต่สิ่งที่เหมาะแก่อารมณ์และวัยของเด็กเท่านัน้
ข้ อควรคิดสาหรั บครู เกี่ยวกับสุขภาพจิต
การที่ครูจะทาหน้ าที่สง่ เสริมสุขภาพจิตของเด็กได้ ดีนนั ้ ตัวครูเองจะต้ องมีสขุ ภาพจิตดีด้วย
มิฉะนันก็
้ คงจะส่งเสริมเด็กได้ ยาก ครูจงึ ควรสารวจตัวเองอยูเ่ สมอว่าสุขภาพจิตของตนยังดีอยูห่ รื อไม่ ครูที่
มีความบกพร่องทางสุขภาพจิตจะมีลกั ษณะดังนี ้
๑. รู้สกึ ไม่พอใจเกี่ยวกับตัวเองอยูเ่ สมอ ทาอะไรเป็ นทุกข์เป็ นร้ อน มีอารมณ์ฉนุ เฉียวง่าย
๒. ไม่พอใจในหน้ าที่ของตน เช่น เห็นว่างานของครู จุกจิกเบื่อการพร่ าสอนเด็ก เห็นเด็กมี
พฤติกรรม น่าเวียนหัว เบื่อการตรวจการบ้ าน เห็นการบ้ านของเด็กแล้ วมีความระอา
๓. ไม่พอใจในสังคม มักจะคิดว่าครูคนอื่นไม่เป็ นมิตรกับตน ผู้ปกครองเด็กไม่เคารพนับถือตน
ตนเข้ ากับใครไม่ได้ มีความคับข้ องใจอยูต่ ลอดเวลา ทาให้ ตวั เองไม่มีความสุข
ทัศนคติและความสนใจ
ความหมายของทัศนคติ ใจ
ทัศนคติ (Attitude) หมายถึงความรู้สกึ และท่าทีของคนเราที่มีตอ่ สิ่งใดสิ่งหนึง่ ซึง่
อาจจะเป็ นความรู้สึกในทางชอบ ไม่ชอบและมีผลทาให้ บคุ คลพร้ อมที่จะตอบสนองต่อสิ่งนันตามความรู
้ ้ สกึ
ดังกล่าว
องค์ ประกอบทัศนคติ
จากความหมายของทัศนคติที่กล่าวมาจะเห็นได้ วา่ ทัศนคติประกอบไปด้ วย
๑. องค์ ประกอบทางด้ านความคิด (Cognitive Component) ซึง่ เป็ นผลมาจากการ
รับรู้ของบุคคล ต่อสิ่งของ บุคคลหรื อเหตุการณ์ตา่ งๆ ถ้ าเกิดความรู้ความเข้ าใจอย่างดีอย่างแท้ จริงและ
เกิดทัศนคติในทางที่ดี ในทางตรงกันข้ าม ถ้ าเกิดการรับรู้ในทางที่ไม่เข้ าใจ ไม่ร้ ูเรื่ อง ยากไป ก็จะมีทศั นคติ
ไม่ดีตอ่ สิ่งนัน้
๒. องค์ ประกอบทางด้ านความรู้ สึก (Affective Component) เป็ นสภาพทาง
อารมณ์ที่เกิดขึ ้นในขณะที่บคุ คลถูกเร้ าจากสิ่งใดสิ่งหนึง่ ถ้ าเราชอบ สบายใจ สนุก ก็จะเกิดทัศนคติที่ดีแต่
ถ้ าไม่ชอบ ไม่สนุก ถูกดูหมิ่น ถูกเยาะเย้ ย ก็จะมีทศั นคติในทางที่ไม่ดี
๓. องค์ ประกอบทางด้ านแนวโน้ มของการกระทา (Action Tendency
Component) เป็ นทิศทางของการตอบสนองหรื อการกระทาในทางใดทางหนึ่งซึ่ง เป็ นผลมาจาก
องค์ประกอบด้ านความคิดและความรู้สกึ ของบุคคลต่อสิ่งเร้ า ถ้ ารู้ว่าดี เรี ยนแล้ วเข้ าใจ เรี ยนแล้ วสนุก มี
แนวโน้ มจะเข้ าเรี ยนตลอดเวลา สนับสนุน ส่งเสริม เป็ นพวกด้ วยหรื อร่วมกิจกรรมด้ วย ในทางตรงกันข้ าม
ถ้ าเรี ยนแล้ วไม่เข้ าใจ ยาก ไม่สนุก ถูกดุวา่ ถูกดูหมิ่น เพื่อนหัวเราะเยาะก็มีแนวโน้ มจะไม่อยากเข้ าเรี ยน
คอยหลบหน้ า คอยต่อต้ านขัดขืนและไม่ร่วมกิจกรรมด้ วย
ธรรมชาติของทัศนคติ
๑. ทัศนคติเกิดจากการเรี ยนรู้และประสบการณ์ของบุคคล
๒. ทัศนคติเกิดจากความรู้สกึ ที่สะสมมานาน
๓. ทัศนคติเป็ นตัวกาหนดพฤติกรรมของบุคคลโดยทัว่ ไปได้
๔. ทัศนคติสามารถถ่ายทอดออกไปสู่คนอื่น ๆ ได้
๕. ทัศนคติเปลี่ยนแปลงได้
ลักษณะของทัศนคติ
๑. ทัศนคติเชิงบวก - ลบ ยิ่งสะสมประสบการณ์ในทางใดทางหนึง่ อย่างเต็มที่หรื ออาจเกิดจาก
อคติมากๆ จะทาให้ มีความเข้ มข้ นสูงมากเป็ นทัศนคติเชิงบวกสุดหรื อลบสุด ซึง่ จะเปลี่ยนแปลงได้ ยาก
๒. เกิดจากความรู้ความเข้ าใจ (Cognitive) ต่อสิ่งเร้ าในทางที่ดีหรื อไม่ดี หรื อเฉย ๆ
คนเก่ง (รู้ในทางดี) จะเกิดทัศนคติทางบวก
เป็ นคนเฉย ๆ (รู้กลาง) จะไม่เกิดทัศนคติ
ชอบขโมย (รู้ในทางไม่ดี) จะเกิดทัศนคติในทางลบ
๓. การแยกแยะเป็ นส่วน (Differentiation) การรับรู้ตอ่ สิ่งเร้ าอย่างละเอียดถี่ถ้วน โดย
พิจารณา องค์ประกอบย่อยแต่ละส่วน จะทาให้ เกิดความเข้ าใจอย่างละเอียดถี่ถ้วน จะก่อให้ เกิดทัศนคติ
ในทางใดทางหนึง่ ได้ ดีกว่า การรับรู้ที่คลุมเครื อ หรื อรับรู้รวมๆ
๔. โดดเดี่ยว (Isolation) ทัศนคติตอ่ สิ่งเร้ าบางอย่าง อาจจะแตกต่างไปจากทัศนคติที่มีตอ่
สิ่งเร้ านันโดยส่
้ วนรวม เช่น เราไม่ชอบวิชาคณิตศาสตร์ แต่เราอาจจะเฉยๆ หรื อชอบครูที่สอนคณิตศาสตร์
ก็ได้ ถ้ าครูคนนันสวย้ พูดจากอ่อนหวานหรื อมีลกั ษณะบางอย่างที่เราชอบ
๕. เข้ มข้ น (Strength) ทัศนคติเป็ นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ แต่ถ้าทัศนคติตอ่ สิ่งเร้ าหรื อ
เหตุการณ์ บางอย่างที่สะสมมานาน และลงรากลึกถาวร จะเปลี่ยนแปลงได้ ยาก ถ้ าให้ คนที่เคยชินกับ
ระบบอาวุโสเคยออกแต่คาสัง่ หรื อเข้ มงวดกับระเบียบกฎเกณฑ์ตา่ งๆ อย่างมากๆ มารับฟั งความคิดของ
คนอายุต่ากว่า หรื อให้ เด็ก ทาอะไรได้ ตามใจชอบโดยไม่ตงกฎอะไรเลยั้ จนกว่าเด็กจะรู้เองว่าควรจะปฏิบตั ิ
ตนอย่างไรเมื่อยูใ่ นสถาบันแห่งใดแห่งหนึง่ นัน้ เป็ นเรื่ องยากมาก

การสร้ างและพัฒนาทัศนคติท่ ดี ีต่อการเรี ยน


๑. การสร้ างทัศนคติที่ดีตอ่ โรงเรี ยนและวิชาต่าง ๆ อาจทาได้ โดย
๑.๑ จัดประสบการณ์ที่นาความพอใจ นาความสนุกสนานมาให้ แก่ผ้ เู รี ยน โดยการสอนวิชา
ต่างๆ ให้ เด็กเกิดความรู้ ความเข้ าใจอย่างแท้ จริง
๑.๒ ครูต้องเป็ นแบบอย่างที่ดี ในเรื่ องต่าง ๆ เช่นความประพฤติ ความมีวินยั ในตนเองและ
วินยั ทางสังคม ให้ ความอบอุ่นและพยายามทาความเข้ าใจและรับรู้ปัญหาส่วนตัวของเด็ก เด็กจะ
เลียนแบบทัศนคติ ต่อบางสิ่งบางอย่างไปจากครูได้
๑.๓ จัดสภาพแวดล้ อมต่างๆ ในโรงเรี ยน ให้ นา่ สนใจ เช่น สภาพของห้ อง บรรยากาศใน
ห้ องเรี ยน มีการจัดห้ องสมุดศูนย์การเรี ยน ห้ องอ่านหนังสือ มุมวิทยาศาสตร์ และห้ องชวนคิดเป็ นต้ น
๒. การเปลี่ยนแปลงแก้ ไขทัศนคติที่ไม่ดีตอ่ การเรี ยน ต่อวิชาเรี ยนตลอดจนกฎข้ อบังคับต่างๆ
อาจทาได้ โดยค้ นให้ พบสาเหตุที่ทาให้ เด็กมีทศั นคติที่ไม่ดีตอ่ บางสิ่งบางอย่าง แล้ วจึงหาทางแก้ ไขซึง่ อาจทา
ได้ โดย
๒.๑ ให้ การแนะแนว หรื อให้ คาแนะนาที่ถกู ต้ อง ถ้ ามีทศั นคติที่ไม่ดีตอ่ วิชาเรี ยน อาจจะพูด
ถึงประโยชน์ที่ได้ จากการเรี ยน พูดถึงวิธีสอน ว่าแต่ละฝ่ ายทังครู
้ และนักเรี ยนต้ องร่วมมือกัน
๒.๒ อาจใช้ พลังกลุม่ ช่วยในการเปลี่ยนแปลงนิสยั ไม่ดีบางอย่าง เช่น การยกพวกตีกนั การ
นัดหยุดเรี ยน หรื อนัดกันไม่ส่งงาน โดยการใช้ พลังกลุม่ ส่วนมากกระทาในสิ่งที่ถกู ต้ อง เช่น การพัฒนา
ช่วยกันตังชมรมบ
้ าเพ็ญประโยชน์ ชมรมดนตรี และการละคร หรื อกลุม่ ออกค่ายอาสาพัฒนาแล้ วนาผลงาน
ของแต่ละกลุม่ มาเสนอ ในที่ประชุมให้ เด็กที่เราต้ องการจะเปลี่ยนนิสยั บางอย่างดูเป็ นแบบอย่างจะช่วย
แก้ ไขได้
๒.๓ มีการให้ แรงเสริมประเภทต่าง ๆ โดยเลือกหาแรงเสริมที่ตรงกับความต้ องการของเด็ก
จากการแข่งขันกลุม่ สีตา่ ง ๆ การเลือกเด็กบางคนเข้ าทางานบางอย่างของวิทยาลัย หรื อของหน่วยงาน
อื่นๆ
๒.๔ การใช้ บทบาทสมมติ (Role playing) ช่วยแก้ ไขพฤติกรรมบางอย่าง อาจจะ
เลือกคนที่มีปัญหามาเล่นบทบาทสมมติด้วยตนเอง ถ้ าเขาประสบผลสาเร็จในการแสดงก็จะมีผลต่อ
ความคิด ความรู้สกึ และการกระทามองเขาด้ วยในภายหลัง
๒.๕ ใช้ วิธีการเชื่อมโยง สิ่งเร้ าตังแต่
้ ๒ อย่างขึ ้นไป ตามทฤษฎีการวางเงื่อนไขของ พา
ฟลอฟ (Pavlovis Classical Conditioning) เช่น การพูดถึงโทษของยาเสพติดอาจทาได้
โดย

ภาพ
๑. น่ารังเกียจ
ยาเสพติด

สภาพคนติดยาจริง


น่ากลัวอันตราย
.
. ยาเสพติด
ความสนใจกับการเรี ยนรู้
ความสนใจ (Interest) เป็ นส่วนหนึง่ ของทัศนคติ กล่าวคือเป็ นความรู้สึกในทางที่ดีตอ่ สิ่งใดสิ่ง
หนึง่ โดยเฉพาะ ซึง่ จะทาให้ แนวโน้ มของพฤติกรรมเป็ นในทางที่ดี เช่น ถ้ าเด็กสนใจคณิตศาสตร์ จะเข้ า
เรี ยนทุกชัว่ โมงและใช้ เวลาส่วนใหญ่ไปเพื่อวิชานี ้ มากกว่าอย่างอื่นความสนใจของบุคคลจะแตกต่างกันไป
ทังนี
้ ้ขึ ้นอยู่กบั ความต้ องการ ความถนัด รวมทังสภาพแวดล้
้ อมภายนอกเป็ นสาคัญ
การสร้ างความสนใจให้ กับผู้เรี ยน
๑. ต้ องศึกษาถึงความต้ องการของผู้เรี ยนโดยส่วนใหญ่วา่ เป็ นอย่างไร จะได้ จดั บทเรี ยน สภาพ
ห้ องเรี ยน สื่อการเรี ยนต่างๆ ให้ ตรงกับความต้ องการของเขา
๒. ก่อนจะสอนเรื่ องใดควรสารวจความสามารถพื ้นฐานตลอดจนความถนัดของผู้เรี ยนก่อน เพื่อ
จัดสิ่งเร้ าให้ ตรงกับที่เขาต้ องการ
๓. จัดสภาพห้ องเรี ยนให้ นา่ สนใจ ตังค ้ าถามยัว่ ยุและท้ าทายความสามารถของนักเรี ยน ใน
ขณะเดียวกันก็กระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนตื่นตัวกับสภาพการณ์บางอย่างที่เป็ นปั ญหา ที่แปลกไปจากเดิม เป็ นต้ น
๔. ให้ ผ้ เู รี ยนประสบผลสาเร็จในงานที่ทาบ้ าง เพื่อเป็ นกาลังใจให้ เขาทางานระดับสูงต่อไป โดยเลือก
งานที่เหมาะกับความสามารถและความถนัดของผู้เรี ยน จะช่วยให้ เขาสนใจงานที่มอบหมายให้ ทา
๕. ชี ้ทางหรื อรายงานผลความก้ าวหน้ าของผู้เรี ยนให้ ทราบเป็ นระยะๆ ให้ เขาได้ ทราบว่าเขาก้ าว
มาถึงไหนแล้ ว อีกไม่กี่ขนก็ ั ้ จะถึงจุดหมายปลายทางที่ต้องการแล้ ว จะทาให้ เขาตังใจท
้ าเพื่อผลสาเร็จของ
ตัวเขาเอง
๖. ฝึ กให้ ผ้ เู รี ยนเรี ยนรู้ด้วยตัวเขาบ้ าง จากการศึกษานอกสถานที่ จากการสังเกต หรื อจากการ
สัมภาษณ์ สอบถามจากแหล่งวิชาการต่าง ๆ ตลอดจนการทดลองค้ นคว้ าหาคาตอบด้ วยตนเอง ด้ วย
วิธีการเรี ยนแบบสืบสวนสอบสวน หรื อให้ นกั เรี ยนฝึ กเป็ นผู้นาและผู้ตามได้ ในโรงเรี ยน หรื อนอกห้ องเรี ยน
โดยให้ นกั เรี ยนเป็ นผู้ดาเนินงานเกี่ยวกับการเรี ยนการสอนและการฝึ กวินยั ด้ วยตัวของนักเรี ยนเอง
ทฤษฎีการเรี ยนรู้ ท่ ีเป็ นพืน้ ฐานของเทคโนโลยีการศึกษานั น้ เป็ นทฤษฎีท่ ีได้ จาก 2 กลุ่ม
คือ

1. กลุ่มพฤติกรรม (Behaviorism)
2. กลุ่มความรู้ (Cognitive)

ทฤษฎีจากกลุ่มพฤติกรรมนิยม

นักจิตวิทยาการศึกษากลุ่มนี ้ เช่น chafe Watson Pavlov, Thorndike, Skinner ซึ่งทฤษฎีของ


นักจิตวิทยากลุ่มนี ้มีหลายทฤษฎี เช่น ทฤษฎีการวางเงื่ อนไข (Conditioning Theory) ทฤษฎี
ความสัมพันธ์ ต่อเนื่อง (Connectionism Theory) ทฤษฎีการเสริ มแรง (Stimulus-Response
Theory)

เจ้ าของทฤษฎีนีค้ ือ พอฟลอบ (Pavlov) ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) กล่าว


ไว้ ว่า ปฏิกริ ยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งของร่ างกายของคนไม่ได้ มาจากสิ่งเร้ าอย่างใด
อย่างหนึ่งแต่เพียงอย่างเดียว สิ่งเร้ านัน้ ก็ อาจจะทาให้ เกิดการตอบสนองเช่นนันได้
้ ถ้ าหากมี
การวางเงื่อนไขที่ถูกต้ องเหมาะสม

ทฤษฎี ความสัมพันธ์ ต่อเนื่อง (Connectionism Theory) เจ้ าของทฤษฎีนี ้ คือ ทอนไดค์


(Thorndike) ซึ่งกล่าวไว้ ว่า สิ่งเร้ าหนึ่ง ๆ ย่อมทาให้ เกิดการตอบสนองหลาย ๆ อย่าง จนพบสิ่ง
ที่ตอบสนองที่ ดีที่สุด เขาได้ ค้นพบกฎการเรี ยนรู้ ที่สาคัญคือ

1. กฎแห่งการผล (Low of Effect)


2. กฎแห่งการฝึ กหัด (Lowe of Exercise)
3. กฎแห่งความพร้ อม (Low of Readiness)

ทฤษฎีการวางเงื่อนไข/ทฤษฎีการเสริ มแรง (S-R Theory หรื อ Operant Conditioning)


เจ้ าของทฤษฎีนีค้ ือ สกิน เนอร์ (Skinner) กล่าวว่า ปฏิกริ ยาตอบสนองหนึ่งอาจไม่ใช่
เนื่องมาจากสิ่งเร้ าสิ่งเดียว สิ่งเร้ านันๆ
้ ก็คงจะทาให้ เกิดการตอบสนองเช่นเดียวกันได้ ถ้ าได้ มี
การวางเงื่อนไขที่ถูกต้ อง
การนาทฤษฎีการเรี ยนรู้ ของกลุ่มพฤติกรรมมาใช้ กับเทคโนโลยีการศึกษานี ้จะใช้ ในการ
ออกแบบการเรี ยนการสอนให้ เข้ ากับลักษณะดังต่อไปนี ้คือ

1. การเรี ยนรู้ เป็ นขันเป็


้ นตอน (Step by Step)
2. การมีส่วนร่ วมในการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยน (Interaction)
3. การได้ ทราบผลในการเรี ยนรู้ ทนั ที (Feedback)
4. การได้ รับการเสริ มแรง (Reinforcement)
แนวคิดของสกินเนอร์ นนั ้ นามาใช้ ในการสอนแบบสาเร็ จรู ป หรื อการสอนแบบโปรแกรม
(Program Inattention) สกินเนอร์ เป็ นผู้คิดบทเรี ยนโปรแกรมเป็ นคนแรก

กลุ่มความรู้ (Cognitive)

นักจิตวิทยากลุ่มนี ้เน้ นความสาคัญของส่วนรวม ดังนันแนวคิ


้ ดของการสอนซึ่งมุ่งให้ ผ้ เู รี ยน
มองเห็นส่วนรวมก่อน โดยเน้ นเรี ยนจากประสบการณ์ (Perceptual experience) ทฤษฎีทาง
จิตวิทยาของกลุ่มนี ้ซึ่งมีชื่อว่า Cognitive Field Theory นักจิตวิทยาในกลุ่มนี ้ เช่น โคเลอร์
(kohler) เลวิน (Lawin) วิทคิน (Witkin) แนวคิดของทฤษฎีนี ้จะเน้ นความพอใจของผู้เรี ยน
ผู้สอนควรให้ ผ้ เู รี ยนทางานตามความสามารถของเขาและคอยกระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนประสบ
ความสาเร็ จ การเรี ยนการสอนจะเน้ นให้ ผ้ เู รี ยนลงมือกระทาด้ วยตัวเขาเอง ผู้สอนเป็ นผู้ชี ้แนะ

การนาแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มความรู้ (Cognition) มาใช้ คือ การจัดการเรี ยนรู้ ต้ องให้


ผู้เรี ยนได้ รับรู้ จากประสาทสัมผัส เพื่อกระตุ้นให้ เ กิดการเรี ยนรู้ จึงเป็ นแนวคิดในการเกิดการ
เรี ยนการสอนผ่านสื่อที่เรี ยกว่า โสตทัศนศึกษา (Audio Visual)

ความหมายของการเรี ยนรู้
การเรี ยนรู้ (Learning) หมายถึง "การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปจากเดิม อันเป็ นผลมาจากการ
ได้ รับประสบการณ์" พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงในที่นี ้ มิ ได้ หมายถึงเฉพาะพฤติกรรมทางกายเท่านั ้น แต่
ยังรวมถึงพฤติกรรมทังมวลที
้ ่มนุษย์แสดงออกมาได้ ซึ่งจะแยกได้ เป็ น 3 ด้ านคือ
1. พฤติกรรมทางสมอง (Cognitive) หรื อพุทธิพิสยั เป็ นการเรี ยนรู้ เกี่ยวกับข้ อเท็จจริ ง (Fact)
ความคิดรวบยอด (Concept) และหลักการ (Principle)
2. พฤติกรรมด้ านทักษะ (Psychromotor) หรื อทักษะพิสยั เป็ นพฤติกรรมทางกล้ ามเนื ้อ
แสดงออกทางด้ านร่ างกาย เช่น การว่ายน ้า การขับรถ อ่านออกเสียง แสดงท่าทาง
3.พฤติกรรมทางความรู้ สึก (Affective) หรื อจิตพิสัย เป็ นพฤติกรรมที่เกิดขึ ้นภายในเช่น การ
เห็นคุณค่า เจตคติ ความรู้ สึ กสงสาร เห็นใจเพื่อนมนุษย์ เป็ นต้ น
นักการศึกษา ได้ ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการเรี ยนรู้ ของ มนุษย์ มีผลการศึกษาที่สอดคล้ องกัน
สรุ ปเป็ นทฤษฎีการเรี ยนรู้ ที่สาคัญ 2 ทฤษฎีคือ
1 ทฤษฎีสิ่งเร้ าและการตอบสนอง (S-R Theory)
2 ทฤษฎีสนามความรู้ (Cognitive Field Theory)
ทฤษฎีสิ่งเร้ าและการตอบสนอง
ทฤษฎีนี ้มีชื่อเรี ยกหลายชื่อ ทังภาษาไทยและภาษาต่
้ างประเทศ โดยเฉพาะในภาษาอังกฤษ มี
ชื่อเรี ยกต่างๆ เช่น Associative Theory, Associationism, Behaviorism เป็ นต้ น นักจิตวิทยาที่สาคัญ
ในกลุ่มนี ้ คือ พาฟลอฟ (Pavlov) วัตสัน (Watson) ธอร์ นไดค์ (Thorndike) กัทธรี (Guthrie) ฮัล (Hull)
และสกินเนอร์ (Skinner) ทฤษฎีนี ้อธิ บายว่า พื ้นฐานการกระทาซึ่งเป็ นผลมาจากการเรี ยนรู้ ของแต่คน
ขึ ้นอยู่กับอิทธิพลของสิ่งแวดล้ อม หน้ าที่ของผู้สอน คือ คอยเป็ นผู้จดั ประสบการณ์ การเรี ยนรู้ ให้ กับ
ผู้เรี ยน

หลักการของทฤษฎีส่ ิ งเร้ าและการตอบสนอง


1.การเสริ มแรง (Reinforcement) เป็ นตัวกระตุ้นให้ เกิดการตอบสนอง หรื อให้ เกิดพฤติกรรม
การเรี ยนรู้ ตามที่ต้องการเช่น การให้ รางวัล หรื อการทาโทษ หรื อการชมเชย เป็ นต้ น ผู้สอนจึงควรจะหา
วิธีจูงใจ ให้ ผ้ เู รี ยนมีความอยากเรี ยนให้ มากที่สุด
2. การฝึ กฝน (Practice) ได้ แก่การให้ ทาแบบฝึ กหัดหรื อการฝึ กซ ้า เพื่อให้ เกิดทักษะในการ
แก้ ปัญหาที่สมั พันธ์ กัน โดยเฉพาะวิชาที่เกี่ยวกับการปฏิบตั ิ
3.การรู้ ผลการกระทา (Feedback) ได้ แก่ การที่สามารถให้ ผ้ เู รี ยนได้ ร้ ู ผลการปฏิบตั ิได้ ทันทีเพื่อ
จะทาให้ ผ้ เู รี ยนได้ ปรับพฤติกรรมได้ ถูกต้ องอันจะเป็ นหนทางการเรี ยนรู้ ที่ดี หน้ าที่ของผู้สอนจึงควร
จะต้ องพยายามทาให้ วิธีสอนที่ส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับประสบการณ์แห่งความสาเร็ จ
4 .การสรุ ปเป็ นกฎเกณฑ์ (Generaliation) ได้ แก่ การได้ รับประสบการณ์ ต่าง ๆ ที่สามารถ
สร้ างมโนทัศน์ (Concept) จนกระทัง่ สรุ ปเป็ นกฎเกณฑ์ที่จะนาไปใช้ ได้
5. การแยกแยะ (Discrimination) ได้ แก่ การจัดประสบการณ์ ที่ผ้ เู รี ยนสามารถแยกแยะความ
แตกต่างของข้ อมูลได้ ชัดเจนยิ่งขึ ้นอันจะทาให้ เกิดความสะดวกต่อการเลือกตอบสนอง
6. ความใกล้ ชิด (Continuity) ได้ แก่ การสอนที่คานึงถึงความใกล้ ชิดระหว่าง สิ่งเร้ าและการ
ตอบสนองซึ่งเหมาะสาหรับการสอนคา เป็ นต้ น
แบบการเรี ยนรู้ ของกาเย
กาเย (Gagne) ได้ เสนอหลักที่สาคัญเกี่ ยวกับการเรี ยนรู้ ว่า ไม่มีทฤษฎีหนึ่งหรื อทฤษฎีใด
สามารถอธิ บายการเรี ยนรู้ ของบุคคลได้ สมบูรณ์ ดังนัน้ กาเย จึงได้ นาทฤษฎี การเรี ยนรู้ แบบสิ่งเร้ าและ
การตอบสนอง (S-R Theory) กับทฤษฎี ความรู้ (Cognitive Field Theory) มาผสมผสานกันใน
ลักษณะของการจัดลาดับการเรี ยนรู้ ดงั นี ้
1. การเรี ยนรู้ แบบสัญญาณ (Signal Learning) เป็ นการเรี ยนรู้ แบบการวางเงื่ อนไข เกิดจาก
ความไกล้ ชิดของสิ่งเร้ าและการกระทาซ ้าผู้เรี ยนไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมของตนเอง
2. การเรี ยนรู้ แบบการตอบสนอง (S-R Learning) คือการเรี ยนรู้ ที่ผ้ เู รี ยนสามารถควบคุม
พฤติกรรมนันได้ ้ การตอบสนองเป็ นผลจากการเสริ มแรงกับโอกาสการกระทาซ ้า หรื อฝึ กฝน
3. การเรี ยนรู้ แบบลูกโซ่ (Chaining Learning) คือการเรี ยนรู้ อันเนื่องมาจากการเชื่อมโยงสิ่ง
เร้ ากับการตอบสนองติดต่อกันเป็ นกิจกรรมต่อเนื่องโดยเป็ นพฤติกรรมที่เกี่ ยวกับการเคลื่อนไหว เช่น
การขับรถ การใช้ เครื่ องมือ
4. การเรี ยนรู้ แบบภาษาสัมพันธ์ (Verbol Association Learning) มีลกั ษณะเช่นเดียวกับการ
เรี ยนรู้ แบบลูกโซ่ หากแต่ใช้ ภาษา หรื อสัญญลักษณ์แทน
5. การเรี ยนรู้ แบบการจาแนก (Discrimination Learning) ได้ แก่การเรี ยนรู้ ที่ผ้ เู รี ยนสามารถ
มองเห็นความแตกต่าง สามารถเลือกตอบสนองได้
6. การเรี ยนรู้ มโนทัศน์ (Concept Learning) ได้ แก่การเรี ยนรู้ อันเนื่องมาจากความสามารถใน
การตอบสนองสิ่งต่าง ๆ ในลักษณะที่เป็ นส่วนรวมของสิ่ งนัน้ เช่นวงกลมประกอบด้ วยมโนทัศน์ย่อยที่
เกี่ยวกับ ส่วนโค้ ง ระยะทาง ศูนย์กลาง เป็ นต้ น
7. การเรี ยนรู้ กฏ (Principle Learning) เกิดจากความสามารถเชื่อมโยงมโนทัศน์ เข้ าด้ วยกัน
สามารถนาไปตังเป็ ้ นกฎเกณฑ์ได้
8. การเรี ยนรู้ แบบปั ญหา (Problem Solving) ได้ แก่ การเรี ยนรู้ ในระดับที่ ผู้เรี ยนสามารถรวม
กฎเกณฑ์ รู้ จกั การแสวงหาความรู้ รู้ จักสร้ างสรรค์ นาความรู้ ไปแก้ ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้ จาก
ลาดับการเรี ยนรู้ นี ้แสดงให้ เห็นว่า พฤติกรรมการเรี ยนรู้ แบบต้ นๆ จะเป็ นพื ้นฐานของการเรี ยนรู้ ระดับสูง
การประยุกต์ใช้ ทฤษฎีการเรี ยนรู้
ทฤษฎีการเรี ยนรู้ ต่างๆ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ เป็ นหลักในการจัดการเรี ยนการสอน ได้ ใน
ลักษณะต่างๆ เช่น การจัดสภาพที่เหมาะสมสาหรับการเรี ยนการสอน การจูงใจ การรับรู้ การเสริ มแรง
การถ่ายโยงการเรี ยนรู้ ฯลฯ
การจัดสภาพที่เอือ้ ต่ อการเรี ยนรู้
การจัดการเรี ยนการสอน ที่สอดคล้ องกับทฤษฎีการเรี ยนรู้ เพื่อเกิดประสิทธิภาพสูงสุดนันจะต้ ้ อง
คานึงถึงหลักการที่สาคัญอยู่ 4 ประการคือ
1. ให้ ผ้ เู รี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนอย่างกระฉับกระเฉง เช่นการให้ เรี ยนด้ วยการลงมือปฏิบตั ิ
ประกอบกิจกรรม และเสาะแสวงหาความรู้ เอง ไม่เพียงแต่จะทาให้ ผ้ เู รี ยนมีค วามสนใจสูงขึ ้นเท่านัน้
แต่ ยังทาให้ ผ้ ูเรี ยนต้ องตังใจสั
้ งเกตและติดตามด้ วยการสังเกต คิด และใคร่ ครวญตาม ซึ่งจะมีผลต่อ
การเพิ่มพูนความรู้
2. ให้ ทราบผลย้ อมกลับทันที เมื่อให้ ผ้ เู รี ยนลงมือปฏิบตั ิหรื อตัดสินใจทาอะไรลงไป ก็จะมีผล
สะท้ อนกลับให้ ทราบว่านักเรี ยนตัดสินใจถู กหรื อผิด โดยทันท่วงที
3. ให้ ได้ ประสบการณ์แห่งความสาเร็ จ โดยใช้ การเสริ มแรง เมื่อผู้เรี ยนแสดงพฤติกรรมที่พึง
ประสงค์หรื อถูกต้ อง ก็จะมีรางวัลให้ เพื่อให้ เกิดความภาคภูมิใจ และแสดงพฤติกรรมนันอี ้ ก
4. การให้ เรี ยนไปทีละน้ อยตามลาดับขัน้ ต้ องให้ ผ้ เู รี ยนต้ องเรี ยนที ละน้ อยตามลาดับขันที
้ ่
พอเหมาะกับความสนใจและความสามารถของผู้เรี ยนโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็ น
สาคัญ จะทาให้ ประสบความสาเร็ จในการเรี ยน และเกิดการเรี ยนรู้ ที่มนั่ คงถาวรขึน้

การจูงใจ (Motivation)
หลักการและแนวคิดที่สาคัญของการจูงใจ คือ
1. การจูงใจเป็ นเครื่ องมือสาคัญที่ผลักดันให้ บุคคลปฏิบตั ิ กระตือรื อร้ น และปรารถนาที่จะร่ วม
กิจกรรมต่าง ๆ เพราะการตอบสนองใด ๆ จะเป็ นผลเพื่อลดความตึงเครี ยดของบุคคล ที่มีต่อความ
ต้ องการนัน้ ๆ ดังนันคนเราจึ
้ งดิ ้นรนเพื่อให้ ได้ ตามความต้ องการที่เกิดขึ ้นต่อเนื่อง กิจกรรมการเรี ยนการ
สอนจึงต้ องอาศัยการจูงใจ
2. ความต้ องการทางกาย อารมณ์ และสังคม เป็ นแรงจูงใจที่สาคัญต่อกระบวนการเรี ยนรู้ ของ
ผู้เรี ยน ผู้สอนจึงควรหาทางเสริ มแรงหรื อกระตุ้นโดยปรับกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่สอดคล้ องกับ
ความต้ องการเหล่านัน้
3. การเลือกสื่อและกิจกรรมการเรี ยนการสอน ให้ เ หมาะสมกับ ความสนใจ ความสามารถและ
ความพึงพอใจแก่ผ้ เู รี ยนจะเป็ นกุญแจสาคัญให้ การจัดกระบวนการเรี ยนรู้ ประสบความสาเร็ จได้ ง่าย มี
แรงจูงใจสูงขึ ้น และมีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนเพิ่มขึ ้น
4. การจูงใจผู้เรี ยนให้ มีความตังใจ
้ และสนใจในการเรี ยน ย่อมขึ ้นอยู่กับบุคลิกภาพของผู้ เรี ยน
แต่ละคน ซึ่งผู้สอนจะต้ องทาความเข้ าใจลักษณะความต้ องการของผู้เรี ยนแต่ละระดับ แต่ละสังคม แต่
ละครอบครัว แล้ วจึงพิจารณากิจกรรมการเรี ยนที่จะจัดให้ สอดคล้ องกัน
5. ผู้สอนควรจะพิจารณาสิ่งล่อใจหรื อรางวัล รวมทังกิ ้ จกรรมการแข่งขัน ให้ รอบคอบและ
เหมาะสมเพราะเป็ นแรงจูงใจที่มีพลังรวดเร็ ว ซึ่งให้ ผลทัง้ ทางด้ านเสริ ม สร้ างและการทาลายก็ได้ ทังนี
้ ้
ขึ ้นอยู่กับสถานการณ์และวิธีการ
ทฤษฎีการจูงใจ ได้ อธิ บายเกี่ยวกับสภาวะของบุคคล ที่พร้ อม ที่จะสนองความต้ องการหากสิ่ง
นันมี
้ อิทธิพลสาหรับความต้ องการของเขา ทฤษฎีการจูงใจที่สาคัญคือ ทฤษฎี ความต้ องการของมาส
โลว์ (Maslow`s Theory) ซึ่งอธิบายความต้ องการของบุคคลว่า พฤติกรรมต่างๆ ของบุคคล ล้ วนเป็ น
สิ่งแสดงให้ เห็นถึงความพยายามหาวิธีการสนองความต้ องการให้ กับตนเองทังสิ ้ ้น และคนเรามีความ
ต้ องการหลายด้ าน ซึ่งมาสโลว์ ได้ จาแนกความต้ องการของคนไว้ ดงั นี ้ คือ
1. ความต้ องการทางกาย ได้ แก่ ความต้ องการปั จจัยที่จาเป็ นพื ้นฐาน สาหรับการดารงชีวิต อัน
ได้ แก่ อาหาร น ้า และ อากาศ
2. ความต้ องการความปลอดภัย เช่น ต้ องการความสะดวกสบาย การคุ้มครอง
3 .ความต้ องการความรัก และความเป็ นเจ้ าของ เช่น ต้ องการเป็ นที่รักของบุคคลอื่ น
4. ความต้ องการให้ ผ้ ูอื่นเห็นคุณค่าของตนเช่นการยอมรับและยกย่องจากสังคม
5 .ความต้ องการเข้ าใจตนเอง คือความเข้ าใจสภาวะของตน เช่น ความสามารถ ความถนัด ซึ่ง
สามารถเลือกงาน เลือกอาชีพที่เหมาะกับตนเอง
6. ความต้ องการที่จะรู้ และเข้ าใจ คือ พยายามที่จะศึกษาหาความรู้ และการแสวงหาสิ่งที่มี
ความหมายต่อชีวิต
7.ความต้ องการด้ านสุนทรี ยะ คือความต้ องการในด้ านการจรรโลงใจดนตรี ความสวยงาม
และงานศิลปะต่าง ๆ

มาสโลว์ ได้ อธิบายให้ เห็นเพิ่มเติมว่า ความต้ องการของคนเราตังแต่


้ ลาดับที่ 1-4 นันเป็้ นความ
ต้ องการที่จาเป็ น ซึ่งคนเราจะขาดไม่ ได้ และทุกคนจะพยายามแสวงหาเพื่อสนองความต้ องการนัน้ ๆ
ส่วนลาดับความต้ องการที่ 5-7 เป็ นแรงจูงใจที่มากระตุ้นให้ บุคคลแสวงหาต่อ ๆไป เมื่อสามารถสนอง
ความต้ องการพืน้ ฐานได้ สาเร็ จเป็ นลาดับแล้ ว
การแข่งขัน (Competition)
จะมีคณุ ค่าในด้ านการจูงใจ ถ้ าหากรู้ จักนาไปใช้ ให้ เหมาะสมจะเกิดผลดีทางการเรี ยน แต่ถ้าใช้
ไม่ถูกต้ องจะเกิดผลเสียทางอารมณ์ ของผู้เรี ยน เบอร์ นาร์ ด (Bernard) ได้ ให้ ความเห็นว่าควรจะเป็ น
การแข่งขันกับตนเอง ในการพัฒนาผลงานใหม่ๆ กับที่เคยทามาแล้ ว ถ้ าหากเป็ นเกมการแข่งขัน
ระหว่างผู้เรี ยนควรจะเน้ นย ้าการรักษากติกา การยอมรับและมีน ้าใจเป็ นนักกีฬา ให้ ผ้ เู รี ยนเข้ า
จุดมุ่งหมายเพื่อผลสัมฤทธิ์ มากกว่าชัยชนะ
การถ่ ายโยงการเรี ยนรู้ (Transfer of learning)
1. ธอร์ นไดค์ (Thorndike) กล่าวถึง การถ่ายโยงการเรี ยนรู้ จากสถานการณ์หนึ่งไปสู่อีก
สถานการณ์ หนึ่งนัน้ สถานการณ์ทงสองจะต้
ั้ องมีองค์ ประกอบที่คล้ าย คลึงกัน คือ เนือ้ หา วิธีการ และ
เจตคติ ที่สมั พันธ์ กันกับสถานการณ์เดิม
2.เกสตัลท์ (Gestalt) กล่าวว่า การถ่ายโยงการเรี ยนรู้ จะเกิดขึน้ เมื่อผู้เรี ยนได้ มองเห็นรู ปร่ าง
ทังหมดของปั
้ ญหา และรับรู้ ความสัมพันธ์ นนเข้
ั ้ าไป กล่าวคือ สถานการณ์ใหม่จะต้ องสัม พันธ์ กับ
สถานการณ์เดิม

หลักการและแนวคิดที่สาคัญของการถ่ ายโยงการเรี ยนรู้ คือ


1. การถ่ายโยง ควรจะต้ องปลูกฝั งความรู้ ความคิด เกี่ ยวกับกฎเกณฑ์ต่างๆ เป็ นพืน้ ฐานที่
สามารถนาไปใช้ ในสถานการณ์ที่คล้ ายคลึงกัน
2. ผู้สอนควรใช้ วิธีการแก้ ปัญหา หรื อวิธีการเรี ยนรู้ เพื่อส่ งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนมีโอกาสคิดและเกิด
ทักษะอย่างกว้ างขวางซึ่งจะเป็ นวิธีการที่ช่วยให้ เห็นความสัมพันธ์ ของความรู้
3. การถ่ายโยงจะเกี่ยวข้ องกับ ความแตกต่างระหว่างบุคคล กิจกรรมการเรี ยนการสอนจึงต้ อง
คานึงหลักการนีด้ ้ วย
4. การถ่ายโยงที่อาศัยสถานการณ์ ที่สมั พันธ์ กันระหว่างสถานการณ์เดิมและสถานการณ์ใหม่
จะช่วยให้ เกิดการเรี ยนรู้ สะดวกขึ ้น

จิตวิทยาการเรี ยนรู้

เมื่อทราบถึงความสัมพันธ์ ของการรับรู้ ที่จะนาไปสู่การเรี ยนรู้ ที่มีประสิทธิภาพแล้ ว ผู้บรรยาย


จึงต้ องเป็ นผู้กระตุ้น หรื อเสนอสิ่งต่าง ๆ ให้ ผ้ เู รี ยน เพราะการเรี ยนรู้ เป็ นกระบวนการที่เกิดขึ ้นในตัว
ผู้เรี ยนซึ่ง จาเนียร ช่วงโชติ (2519) ให้ ความหมายไว้ ว่า "การเรี ยนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมอันเกิดจากประสบการณ์ที่มีขอบเขตกว้ าง และสลับซับซ้ อนมากโดยเฉพาะในแง่ของการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม"

วรกวิน (2523: 56-60) การเรี ยนรู้ หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งหมายถึง


กิจกรรมที่ผ้ เู รี ยนแสดงออก และสามารถสังเกตและวัดได้ การศึกษากระบวนการเรี ยนรู้ จึงต้ องศึกษา
เรื่ องของพฤติกรรมมนุษย์ที่เปลี่ยนไปในลักษณะที่พึงประสงค์ การศึกษาพฤติกรรมต่าง ๆ จะต้ องมี
ระบบระเบียบ วิธีการ และอาศัยความรู้ ต่า ง ๆ เช่น จิตวิทยา การศึกษา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา
เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ กระบวนการสื่อความและสื่อความหมายและสื่อความหมาย การพิจารณา
การเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยนจาเป็ นต้ องสังเกตและวัดพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป การศึกษาพฤติกรรมต่าง ๆ
นาไปสู่การกาหนดทฤษฎี การเรี ยนรู้ ต่าง ๆ ทฤษฎีกระบวนการกลุ่มพฤติกรรมร่ วมกันระหว่างครู และ
ผู้เรี ยนรวมทังวิ
้ ธีการจัดระบบการเรี ยนการสอนที่จะช่วยทาให้ ผ้ เู รี ยนเปลี่ยนพฤติกรรมการเรี ยนรู้ ไป
ตามวัตถุประสงค์

การเรี ยนรู้ เป็ นพื ้นฐานของการดาเนินชีวิต มนุษย์มีการเรี ยนรู้ ตังแต่


้ แรกเกิดจนถึงก่อนตาย จึงมี
คากล่าวเสมอว่า "No one too old to learn" หรื อ ไม่มีใครแก่เกินที่จะเรี ยน การเรี ยนรู้ จะช่วยในการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตได้ เป็ นอย่างดี

งที่ กฤษณา ศักดิ์ศรี (2530) กล่าว


การเรี ยนรู้ ของคนเรา จากไม่ร้ ู ไปสู่การเรี ยนรู้ มี 5 ขันตอนดั

ไว้ ดงั นี ้

"การเรี ยนรู้ เกิดขึ ้นเมื่อสิ่งเร้ า (stimulus) มาเร้ าอินทรี ย์ (organism) ประสาทก็ตื่นตัว เกิดการ
รับสัมผัส หรื อเพทนาการ (sensation) ด้ วยประสาททัง้ 5 แล้ วส่งกระแสสัมผัสไปยังระบบประสาท
ส่วนกลาง ทาให้ เกิดการแปลความหมายขึ ้นโดยอาศัยประสบการณ์ เดิมและอื่น ๆ เรี ยกว่า สัญชาน
หรื อการรับรู้ (perception) เมื่อแปลความหมายแล้ ว ก็จะมีการสรุ ปผลของการรับรู้ เป็ นความคิดรวบ
ยอดเรี ยกว่า เกิดสังกัป (conception) แล้ วมีปฏิกิริยาตอบสนอง (response) อย่างหนึ่งอย่างใดต่อสิ่ง
เร้ าตามที่รับรู้ เป็ นผลให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤิตกรรม แสดงว่าการเรี ยนรู้ ได้ เกิดขึน้ แล้ วประเมินผลที่
เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้ าได้ แล้ ว "

การเรี ยนรู้ เป็ นพื ้นฐานของการดาเนินชีวิต มนุษย์มีการเรี ยนรู้ ตังแต่


้ แรกเกิดจนถึงก่อนตาย จึงมี
คากล่าวเสมอว่า "No one too old to learn" หรื อ ไม่มีใครแก่เกินที่จะเรี ยน การเรี ยนรู้ จะช่วยในการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตได้ เป็ นอย่างดี

ธรรมชาติของการเรี ยนรู้ มี 4 ขัน้ ตอน คือ

1. ความต้ องการของผู้เรี ยน (Want) คือ ผู้เรี ยนอยากทราบอะไร เมื่อผู้เรี ยนมีความต้ องการอยากรู้


อยากเห็นในสิ่งใดก็ตาม จะเป็ นสิ่งที่ยั่วยุให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ ได้
2. สิ่งเร้ าที่น่าสนใจ (Stimulus) ก่อนที่จะเรี ยนรู้ ได้ จะต้ องมีสิ่งเร้ าที่น่าสนใจ และน่าสัมผัสสาหรับ
มนุษย์ ทาให้ มนุษย์ดิ ้นรนขวนขวาย และใฝ่ ใจที่จะเรี ยนรู้ ในสิ่งที่น่าสนใจนัน้ ๆ
3. การตอบสนอง (Response) เมื่อมีสิ่งเร้ าที่น่าสนใจและน่าสัมผัส มนุษย์จะทาการสัมผัสโดยใช้
ประสาทสัมผัสต่าง ๆ เช่น ตาดู หูฟัง ลิน้ ชิม จมูกดม ผิวหนังสัมผัส และสัมผัสด้ วยใจ เป็ นต้ น ทาให้ มี
การแปลความหมายจากการสัมผัสสิ่งเร้ า เป็ นการรับรู้ จาได้ ประสานความรู้ เข้ าด้ วยกัน มีการ
เปรี ยบเทียบ และคิดอย่างมีเหตุผล
4. การได้ รับรางวัล (Reward) ภายหลังจากการตอบสนอง มนุษย์อาจเกิดความพึงพอใจ ซึ่งเป็ น
กาไรชีวิตอย่างหนึ่ง จะได้ นาไปพัฒนาคุณภาพชีวิต เช่น การได้ เรี ยนรู้ ในวิชาชีพชัน้ สูง จนสามารถ
ออกไปประกอบอาชีพชันสู ้ ง (Professional) ได้ นอกจากจะได้ รับรางวัลทางเศรษฐกิจเป็ นเงินตราแล้ ว
ยังจะได้ รับเกี ยรติยศจากสังคมเป็ นศักดิ์ศรี และความภาคภูมิใจทางสังคมได้ ประการหนึ่งด้ วย

ลาดับขัน้ ของการเรี ยนรู้

ในกระบวนการเรี ยนรู้ ของคนเรานัน้ จะประกอบด้ วยลาดับขัน้ ตอนพื ้นฐานที่สาคัญ 3 ขันตอน



ด้ วยกัน คือ (1) ประสบการณ์ (2) ความเข้ าใจ และ (3) ความนึกคิด

1. ประสบการณ์ (experiences) ในบุคคลปกติทุกคนจะมีประสาทรับรู้ อยู่ด้วยกันทัง้ นัน้ ส่วนใหญ่ที่


เป็ นที่เข้ าใจก็คือ ประสาทสัมผัสทังห้
้ า ซึ่งได้ แก่ ตา หู จมูก ลิ ้น และผิวหนัง ประสาทรับรู้ เหล่านี ้จะเป็ น
เสมือนช่องประตูที่จะให้ บุคคลได้ รับรู้ และตอบสนองต่อสิ่งเร้ าต่าง ๆ ถ้ าไม่มีประสาทรับรู้ เหล่านีแ้ ล้ ว
บุคคลจะไม่มีโอกาสรับรู้ หรื อมีประสบการณ์ใด ๆ เลย ซึ่งก็เท่ากับเขาไม่สามารถเรี ยนรู้ สิ่งใด ๆ ได้ ด้วย

ประสบการณ์ ต่าง ๆ ที่บุคคลได้ รับนันย่


้ อมจะแตกต่างกัน บางชนิดก็เป็ นประสบการณ์ตรง บางชนิด
เป็ นประสบการณ์ แทน บางชนิดเป็ นประสบการณ์รูปธรรม และบางชนิดเป็ นประสบการณ์นามธรรม
หรื อเป็ นสัญลักษณ์

2. ความเข้ าใจ (understanding) หลังจากบุคคลได้ รับประสบการณ์ แล้ ว ขันต่้ อไปก็คือ ตีความหมาย


หรื อสร้ างมโนมติ (concept) ในประสบการณ์ นนั ้ กระบวนการนี ้เกิดขึ ้นในสมองหรื อจิตของบุคคล
เพราะสมองจะเกิดสัญญาณ (percept) และมีความทรงจา (retain) ขึ ้น ซึ่งเราเรี ยกกระบวนการนีว้ ่า
"ความเข้ าใจ"

ในการเรี ยนรู้ นนั ้ บุคคลจะเข้ าใจประสบการณ์ที่เขาประสบได้ ก็ต่อเมื่อเขาสามารถจัดระเบียบ


(organize) วิเคราะห์ (analyze) และสังเคราะห์ (synthesis) ประสบการณ์ต่าง ๆ จนกระทัง่ หา
ความหมายอันแท้ จริ งของประสบการณ์นนได้ ั้

3. ความนึกคิด (thinking) ความนึกคิดถือว่าเป็ นขันสุ


้ ดท้ ายของการเรี ยนรู้ ซึ่งเป็ นกระบวนการที่เกิดขึน้
ในสมอง Crow (1948) ได้ กล่าวว่า ความนึกคิดที่มีประสิทธิภาพนัน้ ต้ องเป็ นความนึกคิดที่สามารถจัด
ระเบียบ (organize) ประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่ที่ได้ รับให้ เข้ ากันได้ สามารถที่จะค้ นหา
ความสัมพันธ์ ระหว่าง
จิตวิทยาการรั บรู้

การรับรู้ คือการสัมผัสที่มีความหมาย การรับรู้เป็ นกระบวนการหรื อตีความแห่งการสัมผัส ที่ได้ รับ


ออกเป็ นสิ่งหนึง่ สิ่งใดที่มีความหมาย คนเราจะต้ องใช้ ความรู้เดิมหรื อประสบการณ์เดิมที่มีมาก่อน
(Hilgard, 1971, อ้ างถึงใน ปรี ยาพร วงศ์อนุตรโรจน์, 2546,โดยปกติเรารับรู้โดยผ่านระบบรับสัมผัส ซึง่
ได้ แก่ ระบบรี เซ็บเตอร์ ใน ตา หู จมูก ลิ ้น ผิวหนังและกล้ ามเนื ้อ

การรับรู้จงึ เปรี ยบเสมือนประตูดา่ นแรกที่จะนาไปสูพ่ ฤติกรรมอื่น ๆ ที่จะส่งผลถึงคุณภาพชีวิตของ


แต่ละคนได้ ดังนันในการจั
้ ดนิทรรศการ ผู้จดั ควรคานึงถึงองค์ประกอบหรื อปั จจัยที่เกี่ยวข้ องกับการรับรู้
ดังนี ้

1. ปั จจัยที่เกี่ยวข้ องกับการรั บรู้

1.1ปั จจัยที่เร้ าความสนใจจากภายนอก คือ สื่อและกิจกรรมต่าง ๆ สื่อเหล่านี ้จะสามารถ


กระตุ้น การรับรู้ได้ มากน้ อยเพียงใดย่อมขึ ้นอยู่กบั คุณลักษณะดังนี ้
1.1.2 ขนาด วัตถุหรื อสิ่งเร้ าที่ขนาดใหญ่มกั จะดึงดูดความสนใจได้ ดีกว่าวัตถุหรื อ
สิ่งเร้ าที่มีขนาดเล็ก
1.1.3 ความแปลกใหม่และสิ่งที่มีลกั ษณะตัดกัน การเปลี่ยนแปลงทาให้ สิ่งเร้ า
ผิดปกติไปจากเดิมที่ค้ นุ เคยหรื อสิ่งที่มีลกั ษณะตรงกันข้ ามกับสิ่งปกติทวั่ ไป จะสามารถสร้ างความสนใจ
ได้ ดี
1.1.4 ตาแหน่งที่ตงั ้ การติดตังสื ้ ่อหรื อวัสดุอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ในการจัดนิทรรศการให้
อยูใ่ นตาแหน่งที่เหมาะสม จะกระตุ้นความสนใจได้ ดีกว่าการจัดวางในระดับสูงหรื อต่าเกินไป
1.1.5 การเคลื่อนไหว สิ่งเร้ าที่มีการเคลื่อนไหวย่อมสามารถกระตุ้นความสนใจได้
ดีกว่าสิ่งเร้ าที่นิ่งอยูก่ บั ที่
1.1.6 ความเป็ นหนึง่ เดียว สิ่งของหรื อวัตถุที่มีอยูห่ นึง่ เดียวบนพื ้นที่วา่ งบริเวณกว้ าง
จะก่อให้ เกิดความสนใจได้ ดีเป็ นพิเศษ
1.1.7 ระยะทาง สิ่งของหรื อรูปภาพที่วางซ้ อนทับกันบางส่วนจะก่อให้ เกิดมิติ ตื ้น
ลึกทาให้ ดเู ป็ นระยะทางใกล้ ไกลเป็ นลาดับ จะช่วยเร้ าความสนใจได้ ดีกว่าสิ่งที่จดั เรี ยงในระนาบเดียวกัน
1.1.8 ความคงทน เป็ นช่วงระยะเวลาหรื อความถี่ในการปรากฏและคงอยูข่ องสิ่ง
เร้ า ทาให้ อวัยวะรับสัมผัสมีเวลาเยงพอในการรับรู้ มีโอกาสทบทวนการตีความซ ้าแล้ วซ ้าอีกหลายครัง้ ทา
ให้ รับรู้แม่นยาแน่นอน
1.19 การทาซ ้า สิ่งเร้ าที่เกิดขึ ้นซ ้าแล้ วซ ้าอีกหลาย ๆ ครัง้
1.2 ปั จจัยที่เร้ าความสนใจจากภายใน ปั จจัยที่เร้ าความสนใจจากภายใน หมายถึงปั จจัยด้ าน
จิตวิทยาดังนันการสร้
้ างความสนใจเพื่อให้ เกิดการรับรู้จงึ ควรคานึงถึงปั จจัยทางด้ านจิตวิทยาบางประการ
ดังนี ้
1.2.1 ความตังใจ
้ ความตังใจเป็
้ นการเตรี ยมพร้ อมของมนุษย์เพื่อรับสัมผัสให้ ได้ ชดั เจน
เป็ นสิ่งที่ทาให้ มนุษย์เลือกตอบสนองแก่สิ่งเร้ าบางชนิด
1.2.2 แรงขับ เป็ นแรงกระตุ้นให้ ทากิจกรรมต่าง ๆ
1.2.3 อารมณ์ หรื อคุณภาพของจิตใจ ถ้ าหากอารมณ์ดีจิตใจแจ่มใสปลอดโปร่งจะ
สามารถแปลความหมายของการรับสัมผัสได้ ถกู ต้ องกว่าขณะที่อารมณ์ขนุ่ มัวหรื อจิตใจได้ รับความ
กระทบกระเทือน
1.2.4 ความสนใจ หมายถึงความโน้ มเอียงที่จะแสดงบทบาทและเข้ าร่วมในกิจกรรมหนึง่ ๆ
(Thorndike, อ้ างถึงในกฤษณา ศักดิ์ศรี , 2530, หน้ า 214) เป็ นพฤติกรรมขันต้ ้ นที่ก่อให้ เกิดการรับรู้และการ
เรี ยนรู้ในโอกาสต่อไป
1.2.5 สติปัญญา เป็ นความสามารถขันสู ้ งของมนุษย์แต่ละคนในการผสมผสานระหว่าง
อารมณ์ความรู้สกึ กับความคิดอย่างเป็ นเหตุเป็ นผล สติปัญญาจึงเป็ นผลสรุปองค์ความรู้ทงมวล ั้

2. การรั บรู้ นิทรรศการตามแนวทฤษฎีจิตวิทยา

ตามทฤษฎีของกลุม่ เกสตอลท์ (Gestalt Theory) ซึง่ มีแนวคิดว่าองค์ประกอบสาคัญของภาพหรื อสิ่งเร้ าที่


เรารับรู้โดยทัว่ ไปมี 2 ส่วนคือภาพและพื ้นดังนัน้ การรวมกันของภาพและพื ้นจึงถือเป็ นกฎสาคัญของการจัด
สิ่งเร้ าเพื่อการกระตุ้นความสนใจซึง่ มีหลักสาคัญ 4 ดังนี ้

2.1 หลักของความใกล้ ชิด หมายถึง สิ่งเร้ าที่อยูใ่ กล้ กนั ทาให้ เรามีแนวโน้ มที่จะรับรู้เป็ นพวก
เดียวกันมากกว่าสิ่งที่อยูห่ า่ งกัน

ประโยชน์ ในการนาหลักของความใกล้ ชิดมาใช้ กบั การจัดนิทรรศการคือ สะดวกต่อการรับรู้และ


การเรี ยนรู้ของผู้ชม ทาให้ ดเู ป็ นกลุม่ เป็ นก้ อนหรื อเป็ นชุด ง่ายต่อการตรวจสอบจานวนวัสดุที่จดั แสดงการ
ประยุกต์ใช้ หลักของความใกล้ ชิดกับการจัดนิทรรศการเพื่อกระตุ้นให้ ผ้ ชู มรับรู้ได้ ดีตามหลักของความ
ใกล้ ชิด ควรจัดสื่อหรื อวัตถุสิ่งของให้ อยูร่ วมกันใกล้ เคียงกันโดยเฉพาะสิ่งที่มีเนื ้อหาหรื อมีจดุ มุง่ หมาย
เดียวกัน
2.2 หลักของความคล้ ายคลึง หมายถึง สิ่งเร้ าที่มีลกั ษณะคล้ ายคลึงกันทาให้ การรับรู้มีแนวโน้ มที่
จะเป็ นพวกเดียวกันมากกว่าสิ่งที่แตกต่างกัน แม้ วา่ สิ่งนันจะอยู
้ ใ่ กล้ กนั หรื อไกลกันก็ตาม แต่หลักการนี ้ไม่
สามารถใช้ ได้ กบั สิ่งเร้ าทุกครัง้ ไป

ประโยชน์ ในการ นาหลักของความคล้ ายคลึงมาใช้ กบั งานนิทรรศการมีหลายประการ คือ


ช่วยให้ เกิดความเป็ นกลุม่ และมีเอกภาพ สะดวกต่อการรับรู้และการเรี ยนรู้ของผู้ชมการประยุกต์ใช้ หลักของ
ความคล้ ายคลึงกับการจัดนิทรรศการทาได้ โดยการจัดวางสื่อหรื อสิ่งของที่มีลกั ษณะคล้ ายกันเป็ นหมวดหมู่
หรื อเป็ นกลุม่ เดียวกัน ทังนี
้ ้ควรคานึงถึงปั จจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องเป็ นสาคัญ

2.3 หลักของความต่อเนื่อง หมายถึง สิ่งเร้ าที่ปรากฏให้ เห็นอย่างซ ้า ๆ เหมือนกันไปในทิศทาง


เดียวกันอย่างต่อเนื่องจะมีแนวโน้ มเป็ นพวกเดียวกันมากกว่าที่จะแยกกันคนละทิศทาง

ประโยชน์ ในการนาหลักของความต่อเนื่องมาใช้ ในการจัดนิทรรศการหลายประการคือ ช่วยให้


เกิดประโยชน์ในการวางแผน การออกแบบและการดาเนินงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ สะดวกและ
ง่ายต่อการสังเกต การรับรู้ และการเรี ยนรู้การประยุกต์ใช้ หลักของความต่อเนื่องมาใช้ ในการจัดนิทรรศการ
เพื่อให้ ผ้ ชู มเกิดการรับรู้และเรี ยนรู้ได้ ดี สามารถนาหลักของความต่อเนื่องมาใช้ ได้ ดงั ตัวอย่างดังนี ้ คือ การ
จัดวางป้ายนิเทศให้ เป็ นแนวต่อเนื่องกันเป็ นระยะทางยาวตามความเหมาะสมการใช้ เส้ น สีสญ ั ลักษณ์ แสง
รูปแบบ ซ ้า ๆ กันอย่างต่อเนื่อง

2.4 หลักของความประสาน เป็ นการต่อเติมสิ่งเร้ าที่ขาดหายไปให้ สมบูรณ์ (closure) สิ่งที่ผิดปกติ


หรื อส่วนของรูปภาพหรื อของวัตถุที่หายไปจะกระตุ้นการรับรู้ได้ ดี ความไม่สมบูรณ์จะก่อให้ เกิดความสงสัย
การนาหลักของการประสานมาใช้ ในการจัดนิทรรศการมีประโยชน์หลายประการคือ สามารถสร้ างความ
ฉงนสนเท่ห์และกระตุ้นการมีสว่ นร่วมของผู้ชมได้ ดี

การประยุกต์ ใช้ หลักของการประสานกับการจัดนิทรรศการสามารถทาได้ โดยการวางผลิตภัณฑ์ที่


เหมือนกันให้ หา่ งกันในบางช่วงที่ต้องการกระตุ้นการรับรู้หรื อเรี ยกร้ องความสนใจเป็ นพิเศษ

จิตวิทยาการเรี ยนรู้

การเรี ยนรู้เป็ นกระบวนการที่ทาให้ พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม อันเป็ นผลจากการฝึ กฝนและ


ประสบการณ์ แต่มิใช่ผลจากการตอบสนองที่เกิดขึ ้นตามธรรมชาติ เช่น สัญชาตญาณหรื อวุฒิภาวะ หรื อ
จากการเปลี่ยนแปลงชัว่ คราวของร่างกาย เช่นความเหนื่อยล้ า พิษของยา เป็ นต้ น
การจัดนิทรรศการเป็ นสื่อกิจกรรมที่เอื ้อต่อการเรี ยนรู้ของผู้ชมได้ ดี เนื่องจากการใช้ สื่อหลายชนิดและวิธีการ
นาเสนอที่หลากหลาย ทาให้ สามารถตอบสนองการเรี ยนรู้ได้ หลายด้ านการเข้ าร่วมกิจกรรมนิทรรศการมี
ประโยชน์ตอ่ การเรี ยนรู้แตกต่างจากการเรี ยนรู้ในห้ องเรี ยนทัว่ ไป

1. ประเภทของการเรี ยนรู้

เบนจามิน บลูม (Bloom, 1956, p.90) นักวัดผลผู้ยิ่งใหญ่ของสหรัฐอเมริ กา สรุปว่าการเรี ยนรู้มีผลให้


พฤติกรรมเปลี่ยนไป และได้ จาแนกประเภทดังนี ้

1.1การเรี ยนรู้ด้านความรู้ความเข้ าใจ หมายถึง พฤติกรรมการเรี ยนรู้ที่เกี่ยวกับความรู้ความจา


ความเข้ าใจ การวิเคราะห์การสังเคราะห์ การประเมินค่าและการนาความรู้ไปใช้ ในสถานการณ์อื่น ผู้ชม
สามารถเกิดการเรี ยนรู้ด้านนี ้ได้ จากสื่อหรื อวิธีการนาเสนอที่หลากหลายในงานนิทรรศการไม่วา่ จะเป็ น
รูปภาพ หุน่ จาลอง ของจริง ของตัวอย่าง แผนภูมิ แผนสถิติ หรื อการเข้ าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่จดั ขึ ้นในงาน
นิทรรศการ ะเภทพฤติกรรมการเรี ยนรู้ของมนุษย์ออกเป็ น 3 ด้ านเช่น การตอบปั ญหา การแสดงละคร การ
บรรยาย การอภิปราย เป็ นต้ น

1.2 การเรี ยนรู้ด้านเจตคติหรื อด้ านอารมณ์หรื อด้ านจิตใจ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้ าน


จิตใจ อารมณ์หรื อความรู้สกึ ทาให้ ผ้ ชู มเกิดความพอใจ เกิดความซาบซึ ้ง และเห็นคุณค่า เกิดความศรัทธามี
ค่านิยม เกิดความภาคภูมิใจ ผู้ชมสามารถเกิดการเรี ยนรู้ด้านนี ้จากนิทรรศการได้ ดี

1.3 การเรี ยนรู้ด้านกล้ ามเนื ้อแลประสาทสัมผัส หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเกี่ยวกับ


ทักษะหรื อความชานาญในการใช้ กล้ ามเนื ้อหรื ออวัยวะต่าง ๆ ในการเคลื่อนไหวไม่วา่ จะเป็ นทักษะในการ
พูด การอ่าน การเขียน การเล่นดนตรี กีฬา ฟ้อนรา การคานวณ ที่สามารถทาได้ อย่างคล่องแคล่วจนแลดู
เป็ นธรรมชาติ

2. ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่ อการเรี ยนรู้ ของผู้ชมในการชมนิทรรศการ

การจัดแสดงนิทรรศการแต่ละครัง้ ผู้ชมจะเกิดการเรี ยนรู้ได้ มากน้ อยเพียงใดย่อมขึ ้นอยูก่ บั ปั จจัยต่าง ๆ

2.1 ผู้ชมหรื อผู้เรี ยน ผู้ชมหรื อผู้เรี ยนแต่ละคนมีความแตกต่างกันในหลาย ๆ ด้ าน วุฒิภาวะและ


ความพร้ อม เพศ สติปัญญาอารมณ์ สังคมวัฒนธรรมและประเพณี สภาพสังคม วิถีชีวิต ความเชื่อ
ประสบการณ์ ระดับการศึกษา ความสนใจ
2.2 เนื ้อหาบทเรี ยนและกิจกรรม เป็ นปั จจัยที่เกี่ยวกับเนื ้อหาและกิจกรรมในการจัดนิทรรศการ
ความยากง่ายของเนื ้อหา ความหมายของเนื ้อหา ความสอดคล้ องของเนื ้อหากับกิจกรรม ความยาวของ
เนื ้อหา

2.3เทคนิคการนาเสนอ การนาเสนอที่ดีควรมีขนตอนต่ั้ อเนื่องเร้ าความสนใจมาจากขันตอนการ



วางแผน ซึง่ เกี่ยวข้ องกับการตังวั
้ ตถุประสงค์ การเลือกเนื ้อหาและกิจกรรมให้ เหมาะสมกับกลุม่ เป้าหมาย
สถานที่ สื่อ และบรรยากาศ ความชัดเจนถูกต้ อง ความคล่องแคล่ว ความพร้ อม

จิตวิทยาพัฒนาการ

นักจิตวิทยาหลายท่านได้ ศกึ ษาถึงพัฒนาการของมนุษย์วยั ต่าง ๆ ตังแต่


้ ปฏิสนธิจนถึงวัยชรา ทาให้ เรา
รู้ถึงธรรมชาติของมนุษย์แต่ละวัยว่ามีความสนใจและความต้ องการแตกต่างกันอย่างไร วัยหรื ออายุของ
ผู้ชมมีความเกี่ยวข้ องกับวุฒิภาวะ ความพร้ อม การรับรู้ การเรี ยนรู้ ความต้ องการ ความสนใจและ
ประสบการณ์ตา่ งๆ ซึง่ เป็ นปั จจัยสาคัญต่อผลสัมฤทธิ์ในการชมนิทรรศการ ดังนันในการจั
้ ดนิทรรศการจึง
ควรคานึงถึงวัยของผู้ชม

1.วัยเด็กตอนต้ น

เด็กวัยนี ้มีอายุตงแต่
ั ้ 2 ถึง 6 ปี เป็ นเด็กวัยเรี ยนในระดับชันบริ
้ บาล อนุบาล และประถมศึกษาปี ที่ 1
เป็ นวัยที่มีการปรับตัวเข้ ากับสิ่งแวดล้ อมเป็ นอย่างมากเพราะเริ่มก้ าวออกสูส่ งั คมนอกบ้ าน เด็กวัยนี ้ชอบสิ่ง
แปลก ๆ ใหม่ ๆ ที่ไม่เคยรู้จกั มาก่อน สนใจสิ่งรอบตัว เป็ นวัยแห่งการสารวจอย่างแท้ จริ ง ช่างซักถาม ชอบ
รูปภาพในหนังสือและชมสิ่งเคลื่อนไหวที่มีสีสนั สดใสชัดเจนสนใจของเล่นที่จบั ต้ องได้ ถนัดมือ ชอบวิ่งเล่น
ปี นป่ ายเคลื่อนไหว ร้ องเพลงที่มีจงั หวะง่าย ๆ เนื ้อร้ องสัน้ ๆ เลียนแบบผู้ที่โตกว่า

2. วัยเด็กตอนกลาง

ช่วงของเด็กวัยนี ้ประมาณ 7-12 ปี อยูใ่ นชันระดั


้ บประถมศึกษาเด็กสนใจสภาพแวดล้ อมและ
สิ่งแวดล้ อมรอบตัว พอใจที่จะเผชิญสิ่งแปลกใหม่ ชอบอ่านหนังสือ ฟั งเพลง ร้ องเพลง ดูโทรทัศน์ ชอบ
ภาพยนตร์ ประเภทนิทาน นิยายผจญภัยลึกลับ การทดลองค้ นคว้ าหาความจริงทางวิทยาศาสตร์ สนใจ
ร่างกายของตนเอง สัตว์เลี ้ยง การเล่นที่มีการเคลื่อนไหว การกระโดดโลดเต้ น การออกกาลังกาย การ
ทางานฝี มือ การก่อสร้ างและเกมการแข่งขันต่าง ๆ
3. วัยรุ่ น

วัยรุ่นอายุประมาณ 13 ถึง 19 ปี ลักษณะความสนใจของวัยรุ่นมีขอบข่ายกว้ างขวาง สนใจหลาย


อย่างแต่ไม่ลกึ ซึ ้งมาก สนใจและชอบเลียนแบบบุคคลที่มีชื่อเสียงเป็ นที่นิยมของสังคมโดยเฉพาะดารา
นอกจากนี ้วัยรุ่นทัว่ ไปจะสนใจตนเอง เช่น เรื่ องรูปร่างหน้ าตา ผิวพรรณ การแต่งกาย การปรับตัวให้ เข้ ากับ
สภาพการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย การเสริมบุคลิกภาพและความงามให้ ทนั สมัย วัยนี ้สนใจคบเพื่อนเพศ
เดียวกันและเพื่อนต่างเพศ ให้ ความสาคัญกับงานเลี ้ยงชุมนุม การสังสรรค์ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน

4. วัยผู้ใหญ่

วัยผู้ใหญ่แบ่งออกเป็ น วัยผู้ใหญ่ตอนต้ น วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง และวัยผู้ใหญ่ตอนปลายหรื อวัยชรา

4.1 วัยผู้ใหญ่ตอนต้ น เริ่มตังแต่


้ อายุประมาณ 20 ถึง 40 ปี โดยทัว่ ไปให้ สนใจเกี่ยวกับเรื่ องรูปร่าง
หน้ าตา การปรับปรุงบุคลิกภาพ และเสื ้อผ้ าการแต่งกาย พอ ๆ กับวัยรุ่นตอนปลาย คนวัยนี ้อยูใ่ นวัยสร้ าง
ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ที่อยู่อาศัย อิทธิพลด้ านอาชีพมีผลต่อความสนใจมากโดยเฉพาะเรื่ องที่
เกี่ยวข้ องกับอาชีพและสังคมที่ตนรับผิดชอบอยู่ การปรับตัวให้ เข้ ากับคูส่ มรส การอบรมเลี ้ยงดูลกู
นอกจากนี ้ยังให้ ความสนใจกับงานสังคม การเมือง งานอดิเรก การท่องเที่ยว การพักผ่อนหย่อนใจและ
ศาสนา

4.2 วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง อายุประมาณ 40 ถึง 60 ปี เป็ นระยะที่เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย


และจิตใจไปในทางที่เสื่อมถอย ความสนใจอยูท่ ี่เรื่ องสุขภาพ การปรับตัวในงานอาชีพที่ ต่อเนื่องมาจากวัย
ผู้ใหญ่ตอนต้ น กิจกรรมยามว่าง ความสัมพันธ์ในครอบครัว การทาประโยชน์ให้ กบั สังคม วัฒนธรรม
ประเพณีและศาสนา

4.3 วัยชรา โดยทัว่ ไปมักจะกาหนดให้ ผ้ ทู ี่มีอายุ 60 ปี ขึ ้นไปเข้ าสูว่ ยั ชรา วัยนี ้เป็ นวัยปรั บตัวให้
เหมาะกับความเสื่อมของสุขภาพร่างกาย คนในวัยชราจึงสนใจเรื่ องสุขภาพ ชอบให้ มีคนอยูเ่ ป็ นเพื่อน
สนใจเรื่ องราวในอดีตที่ตนเองเคยร่วมสมัย ต้ องการการยอมรับและการยกย่องประสบการณ์และ
ความสาเร็จในอดีตที่ผา่ นมา
บรรณานุกรม

http://www.std.kku.ac.th/4830500452/new/

http://edtechno.msu.ac.th/mod/resource/view.php?id=86

www.ais.rtaf.mi.th/paper/

http://edtechno.msu.ac.th/mod/resource/view.php?id=86

You might also like