Download as doc
Download as doc
You are on page 1of 23

1

เอกสารสัมมนา 1st Draft

เรื่อง : Session Initiation Protocol

เสนอ
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ บุญทรัพย์ ไวคำา

จัดทำาโดย
นายรัฐพล โพธิพิพิธ รหัสประจำาตัว 493020405-7
นางสาวศริญญา กิจการพัฒนาเลิศ รหัสประจำาตัว 493020427-7

คณะวิทยาศาสตร์
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 322461
NETWORK ARCHITECTURE (สถาปัตยกรรมข่ายงาน)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551
1

คำานำา

เอกสารเล่ ม นี้ จั ด ทำา ขึ้ น โดยการรวบรวมเนื้ อ หาซึ่ ง เป็ น หั ว ข้ อ ที่ ใ ช้ ศึ ก ษาในวิ ช า NETWORK
ARCHITECTURE สถาปัตยกรรมข่ายงาน 322461 ซึ่งแหล่งข้อมูลหลักได้มาจากเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องเพื่อที่จะ
เข้าใจเนื้อหาที่ดีขึ้น ผูอ้ ่านจำาเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางด้านระบบบัสและมีความรู้ในด้านนี้ด้วย
ผู้เ รียบเรี ยงขอขอบคุณ ผู้ที่ ได้ อ่านเอกสารเล่ ม นี้ แ ละแสดงความคิ ด เห็น ที่ เ ป็ น ประโยชน์ เ พื่อ การ
ปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์มากขึ้น และผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารเล่มนี้จะเป็นประโยชน์สำาหรับผู้
ที่สนใจเกี่ยวกับ Session Initiation Protocol หรือ SIP ทั้งนี้ผู้เรียบเรียงต้องขอน้อมรับคำาชี้แนะจากผู้อ่าน ไม่ว่า
จะเป็นการใช้ภาษา ความเหมาะสมของเนื้อหา และข้อผิดพลาดใดๆในเอกสารเล่มนี้ ทั้งที่เกิดขึ้นจากความ
ตั้งใจและไม่ได้ตั้งใจ ผู้เรียบเรียงรู้สึกซาบซึ้งในความช่วยเหลือจากทุกคนและทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการทำาให้
เอกสารเล่มนี้เป็นตัวเป็นตนขึ้นมาและขอขอบคุณอีกครั้งมา ณ โอกาสนี้ด้วย

จัดทำาโดย
นายรัฐพล โพธิพิพิธ รหัสประจำาตัว 493020405-7
นางสาวศริญญา กิจการพัฒนาเลิศ รหัสประจำาตัว 493020427-7
2

สารบัญ

เรื่อง หน้า
คำานำา ก
1.บทนำา 1
2.ประวัติของ SIP 1
3. คุณสมบัติของ SIP 2
4. การออกแบบโปรโตคอล 2
5.องค์ประกอบสำาคัญในระบบ SIP (SIP Component) 4
• UAC (User Agent Client) 4
• UAS (User Agent Server) 4
• Network Server 5
6. SIP Header 5
7.การทำางานของ SIP Server ในระบบ SIP Protocol 7
• Registrar Server 7
• Proxy Server 8
• Redirect Server 9
8.การทำางานของ SIP ในระบุบ IP Telephony 11
9.ลำาดับสัญญาณ SIP ในระบบ IP Telephony 12
10.ส่วนประกอบของเครือข่าย SIP 14
• Session Initiation Protocol (SIP) 14
• Media Gateway Control Protocol (MGCP) 15
• Real-time Transport Protocol (RTP) 15
• Real-time Transport Control Protocol (RTCP) 15
• Real-time Streaming Protocol (RTSP) 15
11.การเปรียบเทียบ H.323 Standard และ SIP 16-17
12.สรุป 17-18

เอกสารอ้างอิง ค
1

1.บทนำา
Session Initiation Protocol (SIP) เป็ น โปรโตคอลมาตรฐานของ Internet Engineering Task Force
(IETF) สำา หรับการเริ่มต้น user session ปฏิสัมพันธ์ที่เกี่ยวกับส่วนประกอบมัลติมีเดีย เช่น วิดีโอ เสียง แช๊ต
เกมส์ และ virtual reality
SIP เป็นมาตรฐานที่ถูกออกแบบมาให้ใช้งานกับระบบ IP โดยเฉพาะ โดยเป็นมาตรฐาน Application
Layer Control Protocol สำา หรั บ การเริ่ ม ต้ น (Creating), การปรั บ เปลี่ ย น (Modifying) และการสิ้ น สุ ด
(Terminating) ของ Session หรือ การติ ดต่ อสื่อ สารหนึ่ งครั้ ง มาตรฐาน SIP จะมี สถาปัต ยกรรมการทำา งาน
คล้ า ยคลึ ง การทำา งานแบบ Client-Server Protocol แต่ SIP เป็ น มาตรฐานที่ มี Reliability ที่ ค่ อ นข้ า งสู ง

2.ประวัติของ SIP
SIP เป็นโปรโตคอลที่ใช้ Create, Modify และ Terminate Session ในการติดต่อสื่อสาร ซึ่งมีการนำาไป
ใ ช้ ใ น Internet Telephone Call, Multimedia Distribution, และ Multimedia Conference โ ปร โ ต ค อล นี้
ออกแบบโดย Henning Schulzrinne จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบียและ Mark Handley จากมหาวิทยาลัยลอนดอน
ในปี 1996 (พ.ศ.2539) ต่อมาในเดือนพฤศจิกายนปี 2000 (พ.ศ.2543) ก็ได้รับการยอมรับจาก 3GPP และกลาย
เป็นส่วนหนึ่งของสถาปัตยกรรม IMS (IP Multimedia Subsystem), Voice over IP รวมถึง H.323 และอื่นๆ
IMS เป็นแนวคิดเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมของการให้บริการ IP Multimedia แก่ผู้ใช้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งใน
การพัฒนาเครือข่ายมือถือของ GSM โดยเริ่มมาจาก 3GPP R5 นำาเสนอวิธีส่ง Internet Services ผ่าน GPRS ต่อ
มาได้ มี ก ารปรั บ ปรุ งโดย 3GPP, 3GPP2, และ TISPAN เพื่อ ให้ค รอบคลุ ม ถึ ง Wireless LAN, CDMA2000,
และ Fix Line โดยนำาโปรโตคอลของ IETF มาใช้ เช่น SIP
SIP จ ะ มี ลั ก ษ ณ ะ ทั่ ว ไ ป คื อ
- ข น า ด เ ล็ ก เ พ ร า ะ กำา ห น ด วิ ธี ติ ด ต่ อ ไ ว้ เ พี ย ง 6 วิ ธี เ พื่ อ ล ด ค ว า ม ซั บ ซ้ อ น
- มี ค ว า ม เ ป็ น อิ ส ร ะ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ง า น กั บ UDP, TCP, ATM แ ล ะ อื่ น ๆ ไ ด้
- เป็นข้อความที่มนุษย์สามารถอ่านได้
SIP เหมือนกับ HTTP หรือ SMTP คือทำางานใน Application layer ของแบบจำาลองการสื่อสาร Open
Systems Interconnection (OSI) โดย Application layer เป็นระดับการตอบสนองสำาหรับการทำาให้มั่นใจว่าการ
สื่อสารเป็นไปได้ SIP สามารถก่อตั้ง multimedia session หรือการเรียก Internet telephony และปรับปรุงหรือ
ยุติ รวมทั้งโปรโตคอลนี้สามารถเชิญผู้เข้าร่วมเป็น unicast หรือ multicast session ที่ไม่จำาเป็นต้องเกี่ยวข้องกับ
การเริ่มต้น เนื่องจาก SIP สนับสนุนการจับคู่ชื่อและบริการ redirection สิ่งนี้ทำา ให้เป็นไปได้สำา หรับผู้ใช้ใน
การเริ่มต้นและรับการสื่อสารและบริการ จากทุกสถานที่ และสำาหรับเครือข่ายในการระบุผู้ใช้ไม่ว่าจะเป็นผู้ใด
SIP เป็นโปรโตคอลตอบสนองคำา ขอ เกี่ยวข้องกับคำา ขอจากลูกข่ายและตอบสนองจากแม่ข่าย ผู้เข้า
ร่วมได้รับการระบุโดย SIP URL คำา ขอสามารถได้รับการส่งผ่านโปรโตคอลส่งผ่าน เช่น UDP, SCTP หรือ
TCP โดย SIP ตัดสินให้สิ้นสุดระบบที่ใช้กับ session ตัวกลางสื่อสารและพารามิเตอร์ตัวกลาง และเรียกผู้เข้า
2

ร่วมที่ต้องการให้เข้าสู่การสื่อสาร เมื่อสิ่งเหล่านี้ได้รับการประกันแล้ว SIP ก่อตั้งพารามิเตอร์ทั้งหมดที่จุด


ปลายของการสื่อสาร และควบคุมการส่งผ่านและยุติ

3. คุณสมบัติของ SIP
เป็นโปรโตคอลระดับ Application ซึ่งอยู่เหนือโปรโตคอลระดับ Transport โดยอนุญาตให้ สามารถ
ทำาการส่งสัญญาณโดยใช้โปรโตคอลระดับ Transport ได้ทั้ง TCP (Transmission Control Protocol) และ UDP
(User Datagram Protocol)
รูปแบบสัญญาณที่นิยมตามมาตรฐาน SIP มีลักษณะเป็นข้อความ (Text-based) ซึ่งถูกเรียกว่า SIP
Message โดยรูปแบบและไวยากรณ์ของสัญญาณมีลักษณะคล้ายกับรูปแบบสัญญาณของโปรโตคอล HTTP
(Hypertext Transfer Protocol) ทำา ให้ผู้พัฒ นาสามารถพัฒนาได้ง่ ายและเหตุ ที่มีการใช้สัญ ญาณ SIP Message
ตลอดขั้นตอนการส่งสัญญาณควบคุมรวมถึงลำาดับขั้นตอนการส่งสัญญาณตามมาตรฐาน SIP นั้นเพราะไม่ซับ
ซ้อนจึงทำาให้โปรโตคอล SIP สามารถทำางานได้รวดเร็วกว่ามาตรฐาน H.323
ตามมาตรฐานของ SIP จะรับผิดชอบขั้นตอนการส่งสัญญาณควบคุมในส่วนก่อนและหลังการสนทนา
เท่านั้น โดยในขั้นตอนการส่งข้อมูลสื่อประสม (Media Stream) จะใช้โปรโตคอล RTP (Real Time Transfer
Protocol) และในขั้นตอนการแลกเปลี่ยนความสามารถในการส่งข้อ มูลสื่อ ประสม (Media Capabilities
Exchange) จะใช้ โ ปรโตคอล SDP (Session Description Protocol) ทำา งานร่ ว มด้ ว ย สถาปั ต ยกรรมตาม
ม า ต ร ฐ า น SIP เ ป็ น แ บ บ Client/Server โ ด ย มี ก า ร อ้ า ง อิ ง ตั ว SIP Client
โดยใช้ชื่ออ้างอิงถึงที่อยู่ของตัว SIP Client นั้นๆ ซึ่งถูกเรียกว่า SIP URL (Uniform Resource Locators)ทำาให้
เกิดความสะดวกและความยืดหยุ่นในการใช้บริการเพิ่มมากขึ้นรวมถึงการให้บริการแบบ User Mobility

4. การออกแบบโปรโตคอล
SIP client จะใช้ TCP หรือ UDP พอร์ต 5060 เชื่อมต่อกับ SIP server และ SIP อื่น ๆ ซึ่ง SIP จะใช้
สำา หรั บ ตั้ งค่ า และยกเลิ ก Voice หรื อ Video call แต่ ก็ สามารถนำา ไปใช้ กั บ งานกั บ ระบบอื่ น ที่ ต้ อ งการเปิ ด
Session รวมถึง Event Subscription และ Notification ได้ การสื่อสารโดยใช้ภาพและเสียงสามารถทำา ได้โดย
แบ่งโปรโตคอล Session ออกจากกัน เช่น RTP (Real-time Transport Protocol)
RTP ใช้กำาหนดรูปแบบ packet ในการส่งภาพและเสียงผ่านอินเตอร์เน็ต ถูกพัฒนาโดย Audio-Video
Transport Working Group ของ IETF และได้ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี 1996 (พ.ศ.2539) โดย RTP จะไม่มีพอร์ต
TCP หรือ UDP มาตรฐานในการสื่อสาร แต่จะใช้พอร์ต UDP ที่เป็นเลขคู่ในการสื่อสารและพอร์ต UDP เลขคี่
ถัดไปเป็น RTP Control Protocol (RTCP) เลขพอร์ตมักจะอยู่ระหว่าง 16384-32767 RTP สามารถรับส่งข้อมูล
อะไรก็ได้ แ บบ real-time เช่น ภาพและเสีย ง โดยใช้โ ปรโตคอล SIP ในการตั้ งค่า และยกเลิ ก SIP จะเป็น
โปรโตคอลที่ ใช้ ส่งสัญ ญาณและตั้ งค่ า ในระบบ IP สามารถใช้ งานร่ ว มกั บ ระบบโทรศัพท์ PSTN (Public
3

Switched Telephone Network) ได้ ซึ่ ง มาตรฐาน SIP ไม่ ไ ด้ ร ะบุ ไ ว้ SIP ทำา ได้ เ พี ย งส่ ง สั ญ ญาณและตั้ ง ค่ า
อย่างไรก็ตาม SIP สามารถใช้งานในระบบเครือข่ายได้ เช่น Proxy Server และ User Agent ซึ่งจะเหมือนกับ
การทำางานของโทรศัพท์ คือ หมุนเบอร์, ทำาให้โทรศัพท์ปลายทางส่งเสียง, ฟังเสียงตอบรับหรือสัญญาณไม่ว่าง
SIP ทำาให้ระบบโทรศัพท์มีความสามารถในขั้นตอนโทรออกมากขึ้น ดูได้จาก Signalling System 7
(SS7) โดย SS7 จะเป็นโปรโตคอลที่รวมศูนย์, ใช้กับระบบรวมศูนย์ที่ซับซ้อน, และใช้งานกับเครื่องลูกข่ายที่
ไม่เก่ง (โทรศัพท์บ้าน) SIP เป็นโปรโตคอลแบบ Peer-to-Peer ซึ่งใช้กับเครือข่ายที่ไม่ซับซ้อนและเครื่องลูกค้า
มีความสามารถสูง แม้ VoIP จะมีโปรโตคอลส่งสัญญาณเยอะอยู่แล้ว แต่ SIP ก็ช่วยสร้างเครื่องหลักในการ
สื่อสารแบบ IP ได้มากกว่าระบบโทรคมนาคม SIP จะเป็นมาตรฐานของ IETF ขณะที่ H.323 เป็นโปรโตคอล
ของ ITU ซึ่งทั้งสององค์กรก็ให้เกียรติกัน
SIP สามารถทำางานร่วมกับโปรโตคอลอื่นได้โดยจะสร้างสัญญาณให้ Session ของการติดต่อสื่อสาร
SIP จะทำา งานเป็นพาหะของ Session Description Protocol (SDP) ใช้อธิบายรายละเอียดของเนื้อหาที่จะส่ง
เช่น หมายเลขพอร์ตที่ใช้, Codec ที่ต้องการ SIP จะคล้ายกับ HTTP เช่น การรับส่งข้อมูลใช้ภาษาที่มนุษย์อ่าน
ได้, รหัสบอกสถานะจะคล้าย ๆ กัน บางคนกล่าวว่า SIP เป็นโปรโตคอลแบบ stateless ซึ่งสามารถตรวจสอบ
ความผิดพลาดและเพิ่มเติมความสามารถได้มากกว่าโปรโตคอลแบบ stateful ซึ่งโปรโตคอลแบบ stateless จะ
ส่งคำาสั่งได้อย่างอิสระ โดยไม่ต้องสนใจว่าคำาสั่งก่อนหน้าคือคำาสั่งอะไร ในขณะที่โปรโตคอลแบบ stateful จะ
ต้องมีการบันทึกสถานการณ์แลกเปลี่ยนข้อมูลไว้ตลอดเวลา

5.องค์ประกอบสำาคัญในระบบ SIP (SIP Component)


4

จากรูปที่ 1 แสดงส่วนต่างๆ ที่ทำา งานร่วมกันอย่างเป็นระบบ เนื่องจากโปรโตคอล SIP มีการทำางาน


แบบ Client/Server ดังนั้นจึงสามารถแบ่ งออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ User Agent (SIP Client) และ Network
Server (SIP Server)

รูปที่ 1 องค์ประกอบสำาคัญในระบุบ SIP (www.mind-tek.net)

• UAC (User Agent Client) หรื อ (SIP Client) ทำา หน้ า ที่ ใ นการสร้ า งหรื อ เริ่ ม ต้ น การโทรโดยส่ ง
สัญญาณร้องขอ (Request Signal) ไปยังปลายทาง
• UAS (User Agent Server) หรือ (SIP Server) ทำา หน้าที่ในการตอบรับการโทรและส่ง สัญญาณตอบ
กลับ (Response Signal)
โดยปกติแล้ว SIP Client จะทำาหน้าที่เป็นได้ทั้ง UAC และ UAS เพื่อให้สามารถทำางานได้ ทั้งเป็นผู้โทร
(Caller) และผู้ถูกเรียก (Callee) การติดต่อเพื่อสร้างและสิ้นสุดเซสชันระหว่างเครื่องลูกข่ายซึ่งเป็นการติดต่อ
แบบพื้นฐาน ที่สุดแสดงในรูปที่ 2 จะเห็นได้ว่าเครื่องลูกข่ายแต่ละเครื่องจะต้องสามารถร้องขอ และตอบ
สนองการเรียกได้ นัน้ ก็คือเครื่องลูกข่ายแต่ละเครื่องจะต้องสามารถเป็นได้ทั้ง UAC และ UAS
5

รูปที่ 2 การสร้างและสิ้นสุดเซสชันระหว่างเครื่องลูกข่าย(cpe.rsu.ac.th)

• Network Server
เป็นนิยามของ SIP Server ที่มีรูปแบบการทำางานแบบต่างๆ ได้แก่
o Registrar Server ทำา หน้าที่รับการลงทะเบียนจากผู้ใช้บริการ (SIP Client) เพื่อ เก็บข้อมูลที่
อยู่ ชื่อ SIP URL และข้อมูลสำาคัญๆ ของผู้ใช้บริการ
o Proxy Server ทำาหน้าที่เป็นตัวกลางในการส่งสัญญาณระหว่างผู้โทร (Caller) และผู้ถูกเรียก
(Celle) โดยรับผิดชอบการส่งสัญญาณตลอดขัน้ ตอนการส่งสัญญาณตามมาตรฐาน SIP
o Redirect Server ทำา หน้าที่ระบุที่อยู่ของผู้ถูกเรียก (Celle) ที่ได้ทำา การ ลงทะเบียนไว้ โดยจะ
ส่งที่อยู่ที่คน้ หาได้กลับไปยังผู้โทร (Caller)
นอกจาก User Agent และ Network Server แล้วภายในระบบ SIP ยังมีส่วนการทำางานอื่นๆได้แก่
 Location Server ทำาหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือเป็นฐานข้อมูลผู้ใช้บริการให้กับตัว
Network Server ได้ ทำาให้ป้องกันปัญหาเรื่องของขนาดฐานข้อมูลไม่เพียงพอและ
ความ ปลอดภั ย ของข้ อ มู ล ได้ ตามมาตรฐาน SIP อนุ ญ าตให้ ส ามารถพั ฒ นาตั ว
Location Server ไว้เป็นตัว เดียวกันกับตัว SIP Server ได้
 SIP Gateway ทำา หน้ า ที่ ใ นการแปลงสั ญ ญาณและข้ อ มู ล สื่ อ ประสมระหว่ า ง
ระบบเครือข่ายที่แตกต่างกัน เช่น การเชื่อมต่อไปยังระบบ PSTN (Public Switching
Telephone Network), ระบบ SS7 (Signaling System 7) เป็นต้น

6. SIP Header
ฟิลด์เฮดเดอร์ใช้สำาหรับระบุรายละเอียดของการเรียก เช่น ผูเ้ รียก ผู้ถูกเรียก เส้นทางของแมสเสจ ชนิด
และความยาวของ Message Body เป็นต้น เฮดเดอร์บางชนิดจะมีอยู่ในทุกแมสเสจ แต่บางชนิดอาจจะใช้ใน
บางแมสเสจเท่านั้น เอนทิตี้ไม่จำาเป็นจะต้องเข้าใจเฮดเดอร์ทั้งหมดโดยที่เฮดเดอร์ที่ไม่เข้าใจ เอนทิตี้จะไม่สน
ใจเฮดเดอร์นั้น เฮดเดอร์จะมีทั้งหมด 37 เฮดเดอร์ โดยแบ่งเป็น 4 ประเภทดังนี้
6

ตารางที่ 1 แสดงให้เห็นถึงการทำางานของ SIP Header ต่างๆ(cpe.rsu.ac.th)

 General Header เป็นเฮดเดอร์ทั่วไป ซึ่งจะอยู่ในทั้งแมสเสจร้องขอและ ตอบสนอง


 Entity Header ใช้ระบุข้อมูลเกี่ยวกับ Message Body ถ้าไม่มี Message Body จะเป็นการระบุ
ทรัพยากรที่อ้างอิงถึงโดยแมสเสจร้องขอ
 Request Header ใช้ในแมสเสจร้องขอของไคลเอนท์ และสามารถส่งข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
การร้องขอของไคลเอนท์
 Response Header ใช้ในแมสเสจตอบสนองของเซิร์ฟเวอร์ และสามารถ ส่งข้อมูลเพิ่มเติมใน
การตอบสนองกลับไปให้ไคลเอนท์ได้

เฮดเดอร์ที่สำาคัญ และใช้บ่อยแสดงได้ดังต่อไปนี้

• To ใช้บ่งบอกถึงผู้รับข้อความร้องขอ
• From ใช้บ่งบอกถึงผู้ส่งข้อความร้องขอ
• Call-ID ใช้บ่งบอกหมายเลขของการติดต่อ โดยหมายเลขเหล่านี้จะไม่ซำ้ากันในการติดต่อแต่ละครั้ง
• Contact ใช้แสดงที่อยู่ปลายทาง ที่ผู้รับสามารถใช้ในการติดต่อได้โดยตรง
• Via ใช้แสดงเส้นทางในการส่งข้อความ
• CSeq ใช้บ่งบอกหมายเลขของข้อความร้องขอสำาหรับ Call ID นัน้ ๆ
• Content-Length ใช้บ่งบอกความยาวของ message body หน่วยเป็นไบต์
7

7.การทำางานของ SIP Server ในระบบ SIP Protocol


ลักษณะการทำางานของ SIP Server สามารถทำางานได้หลายรูปแบบ ดังนี้
1. Registrar Server
เป็น SIP Server ที่ทำาหน้าที่ในการรับการลงทะเบียนจาก SIP Client โดยจะทำาการเก็บข้อมูลทั้งหมด
ไว้ใน Location Server ซึ่งโดยทั่วไป Registrar Server ก็คือ SIP Sever เมื่อทำาหน้าที่รับการลงทะเบียนนั่นเอง
ดั งแสดง เมื่ อผู้ร้ อ งขอการติ ด ต่ อ ทำา การส่ ง Request Message ไปยั ง SIP Registrar Server ตั ว SIP Registrar
Server จะทำาการติดต่อไปยัง Location Service ของ Location Server เพื่อถามหาที่อยู่ของผู้ถูกร้องขอการติดต่อ
โดยสัญญาณที่ใช้นี้ตามมาตรฐานของ SIP ไม่มีการกำาหนดไว้ ดังนั้น SIP Registrar Server สามารถกำาหนดรูป
แบบของสัญญาณที่ใช้ติดต่อระหว่า ง SIP Registrar Server กับ Location Server ได้เอง ต่อมาเมื่อ Location
Server สามารถหาที่อ ยู่ไ ด้แ ล้ว ก็จ ะส่งมาบอกกั บ SIP Registrar Server สุดท้ าย SIP Registrar Server จะส่ง
Response Message ไปให้ผู้ร้องขอการติดต่อเพื่อบอกที่อยู่ของผู้ถูกร้องขอการติดต่อตามที่ผู้ร้องขอการติดต่อ
ต้องการ

รูปที่ 3 การทำางานแบบ Registrar Server(cpe.rsu.ac.th)


8

2. Proxy Server
เป็น SIP Server ที่ทำาหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อระหว่างผู้ร้องขอการติดต่อและผู้ถูกร้องขอการ
ติดต่อ โดยการทำา งานในขั้นตอน Call Setup, Media & Channel Control และ End Call การส่งสัญญาณทุก
อย่างในขั้นตอนทั้งหมดนี้จะต้องทำาผ่าน SIP Server โดย SIP Server จะทำาการ ตรวจสอบ SIP Message ที่ได้
รับทุกครั้งและจะทำาการส่ง SIP Message นัน้ ไปยังปลายทางที่ต้องการ โดยอาจมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของ
SIP Message ตามความเหมาะสม สำาหรับการทำางานใน ขัน้ ตอนการส่งข้อมูลเสียง (Media Stream) จะไม่ผ่าน
SIP Server นั้นคือ SIP Client ทั้ง 2 ฝ่ายจะทำา การส่งข้อมูลเสียงกันโดยตรง เมื่อมองในระดับ Logical แต่หาก
มองในระดับ Physical แล้ว SIP Client ทั้ง 2 ฝ่ายอาจมีการส่งข้อมูลผ่าน Server หรือ Gateway ก็ได้ เนื่องจาก
การทำา งานทั้งหมดมี พื้นฐานการทำา งานอยู่บนระบบเครือข่าย Internet ดังนั้นการส่งข้อมูลสามารถส่งผ่าน
แต่ละโหนด (Node) เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลไปยังปลายทางที่ต้องการได้

รูปที่ 4 การทำางานของ SIP Proxy Server(cpe.rsu.ac.th)

ดังจะเห็นได้ว่า Proxy Server จะทำาหน้าที่ในการรับภาระหรือรับผิดชอบการติดต่อระหว่าง ผู้ร้องขอ


การติดต่อและผู้ถูกร้องขอการติดต่อ ทำาให้ Proxy Server สามารถทำาการเพิ่มเติม ความสามารถต่างๆ เพื่อให้
สามารถให้บริการ SIP Client ได้ดียิ่งขึ้น แต่อย่างไรก็ตามการทำางานใน ลักษณะนี้ทำา ให้ต้องสูญเสียเวลาใน
ช่วงการติดต่อที่ทำา โดยตัว Proxy Server และ Proxy Server สามารถให้บริการ SIP Client ได้จำา กัดขึ้นอยู่กับ
ความสามารถของ Proxy Server นั้นๆ ที่จะสามารถ รองรับการบริการกับ SIP Client ที่ทำาการติดต่อได้มาก
น้อยเพียงไร โดยเห็นได้จาก รูปที่ 5 เป็น การแสดงให้เห็นถึงการสร้างและสิ้นสุดเซส่วนโดยผ่านเครื่องแม่ข่าย
9

รูปที่ 5 การสร้างและสิ้นสุดเซสชันโดยผ่านเครื่องแม่ข่าย Proxy(cpe.rsu.ac.th)

3. Redirect Server
เป็น SIP Server ทีท่ ำาหน้าที่ในการระบุที่อยู่ของผู้รับการติดต่อที่ได้ทำาการลงทะเบียนไว้ โดยจะทำาการ
หาที่อยู่จาก Location Server ซึ่งเมื่อหาที่อยู่ได้แล้วจะส่งที่อยู่ทั้งหมดที่หาได้ให้กับผู้ร้องขอการติดต่อ ดังนั้น
หลังจากที่ SIP Client ได้ที่อยู่ในการติดต่อแล้วจะต้องทำาการติดต่อไปยังปลายทางที่ต้องการตามที่อยู่ที่ได้นั้น
เอง โดยหากผู้ร้องขอการติดต่อได้ที่อยู่มากกว่า 1 ที่อยู่ ผู้ร้องขอการติดต่อจะต้องทำาการติดต่อไปยังทุกๆที่อยู่
เพื่อหาที่อยู่จริงๆ ของผู้ถูกร้องขอการติดต่อเอง ดังจะ เห็นได้ว่าการทำางานในลักษณะนี้จะทำาให้ภาระในการ
ติดต่อทั้งหมดตกอยู่ที่ตัว SIP Client แต่การทำางานลักษณะนี้จะทำาให้ SIP Client สามารถทำาการติดต่อได้อย่าง
รวดเร็วในกรณีที่ได้ที่อยู่เดียวจาก SIP Server และตัว SIP Server สามารถให้บริการกับ SIP Client ได้จำานวน
มาก ซึ่งแสดงได้ดังรูปที่ 6

รูปที่ 6 การทำางานของ SIP Redirect Server(cpe.rsu.ac.th)


10

สำา หรั บ ในตั ว อย่ า งข้า งต้ น เป็ น การติ ด ต่ อ โดยได้ รั บ ที่ อ ยู่ เ ดี ย วจาก Redirect Server แต่ ห าก ได้ รั บ
มากกว่า 1 ที่อยู่ การทำางานในการติดต่อไปยังทุกๆ ที่อยู่ที่ได้รับนั้น โอกาสที่จะติดต่อได้จะขึ้นอยู่กับผู้ร้องขอ
การติดต่อ ดังนั้นหากใช้เป็น Proxy Server การจัดการส่วนนี้ Proxy Server จะทำา ให้ การทำา งานง่ายขึ้น ซึ่ง
แสดงได้ ดังรูปที่ 7

รูปที่ 7 การสร้างและสิ้นสุดเซสชันโดยใช้เครื่องแม่ข่าย Redirect(cpe.rsu.ac.th)

ตารางที่ 2 คุณสมบัติของ Proxy Server และ Redirect Server(cpe.rsu.ac.th)


11

8. การทำางานของ SIP ในระบุบ IP Telephony


จากรู ป ที่ 8 แสดงการเปรี ย บเที ย บขั้ น ตอนการทำา งานของ SIP ในระบุ บ IP Telephony ซึ่ ง มี ร าย
ละเอียดดังนี้
1. Call Setup เป็นการเริ่มต้นการติดต่อ โดยผู้ร้องขอการติดต่อทำาการติดต่อไปยังผู้ถูกร้องขอ
การติดต่อครั้งแรกเพื่อเรียกร้องการสนทนา ในส่วนนี้ จะใช้ SIP Message ที่ชื่อว่า Message
INVITE ทำาการร้องขอการติดต่อไปยังปลายทาง
2. Media & Channel Control เป็นการตกลงหรือทำา การระบุข้อตกลงต่างๆ ที่ต้องใช้ในการส่ง
ข้อมูลเสียง ได้แก่มาตรฐานการบีบอัดข้อมูลเสียง, หมายเลข IP Address (IP Address) และ
หมายเลขพอร์ท (Port) เป็นต้น โดยในส่วนนี้ จะนำา โปรโตคอล SDP (Session Description
Protocol) มาช่วยในการตกลงรูปแบบการติดต่อนี้
3. Media Stream เป็นขั้นตอนของการส่งข้อมูลเสียงโดยใช้ตามข้อตกลงที่ได้ตกลงกันในขั้น
ต อ น ที่ 2 Media & Channel Control โ ด ย ทั่ ว ไ ป จ ะ นิ ย ม ใ ช้ Real-Time Transport
Protocol หรือ RTP ในการส่งข้อมูลเสียงในขั้นตอนนี้ ซึ่งขั้นตอนนี้ไม่ได้อยู่ในความรับผิด
ชอบของ SIP
4. End Call เป็นขั้นตอนการส่งสัญญาณระหว่างผู้ร้องขอการติดต่อและผู้ถูกร้องขอการติดต่อ
เพื่อขอจบการติดต่อ โดยในส่วนนี้จะใช้ SIP Message ที่ชื่อว่า Message BYE เป็นสัญญาณ
ในการสิ้นสุดการติดต่อ หลังจากจบขั้นตอนนี้ช่องทางของสัญญาณที่สร้างขึ้นทั้งหมดจะถูก
ปิด หากต้องการเริ่มสนทนาใหม่ จะต้องทำาการติดต่อตามขั้นตอนเริ่มตั้งแต่ Call Setup ใหม่
ทั้งหมด

รูปที่ 8 การทำางานของ SIP ในระบุบ IP Telephony(cpe.rsu.ac.th)


12

9.ลำาดับสัญญาณ SIP ในระบบ IP Telephony


ในหัวขอนี้เราจะมารู้จักรูปแบบของลำาดับสัญญาณของ SIP ที่จะใช้ในการทำาการติดต่อกัน โดยจะมี
การยกตัวอย่างการใช้งาน สัญญาณรูปแบบต่างๆ ที่สำาคัญในการทำาการติดต่อ โดยก่อนอื่น เราจะมารู้จักลำาดับ
สัญญาณทั้งหมดที่ใช้ในโปรโตคอล SIP ตามมาตรฐาน RFC 3261
1. สัญญาณ SIP : จะอยู่ในรูปของข้อความ (Message) โดย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
 Request Message เป็นสัญญาณ ใช้เพื่อทำา การร้องขอ (Request) มี ทั้งหมด 6 สัญญาณ
คือ
• INVITE: คื อ ข้ อความร้ อ งขอที่ ใ ช้ ใ นการเชิ ญ ผู้ ใ ช้ งานปลายทางให้ เ ข้ า ร่ ว มเซสชั น

โดยจะมี Message body แสดงถึงค่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ ของเซสชันที่ผู้เรียกต้องการ


ใช้ในการติดต่อ เมื่อผู้รับการเรียกได้รับข้อความร้องขอ INVITE แล้ว จะส่งข้อความ
ตอบสนองกลับไปเพื่อตอบรับ หรือปฏิเสธการเรียกนั้น ในกรณีที่ตอบรับการเรียก
ผู้รับจะระบุค่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ ที่ผู้รับต้องการไว้ใน Message body ของข้อความ
ตอบสนองนัน้
• ACK: คือข้อความร้องขอที่ ใช้ ในการยืน ยันการต่ อถึงกัน ใช้ ในกรณีที่ UAC ได้รั บ

ข้อความตอบสนองสุดท้ายของการร้องขอ INVITE จากเครื่องแม่ข่ายเรียบร้อยแล้ว


โดยอาจมี Message body เพื่อ แสดงค่า พารามิ เ ตอร์ ที่ ใ ช้ หากไม่ มี Message body
เซสชันที่สร้างขึ้นจะใช้ค่าพารามิเตอร์ที่กำาหนดในข้อความร้องขอ INVITE
• BYE: คือข้อความร้องขอที่ใช้ในการขอยกเลิกการติดต่อ โดยทั้งผู้เรียก และผู้รับการ

เรียก สามารถส่งข้อความร้องขอ BYE นีไ้ ด้


• CANCEL: คือข้อความร้องขอที่ใช้สำาหรับบอกผู้รับปลายทางว่าผู้ส่งต้องการยกเลิก

ข้อ ความร้องขอที่ได้ส่งไปก่อนหน้านี้ และยังไม่ได้รับการตอบรับกลับมา


• OPTIONS: คื อ ข้ อ ความร้ อ งขอที่ ใ ช้ บ อกข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ ความสามารถ

(capability information) ของเครื่องลูกข่ายให้เครื่องแม่ข่ายทราบ และใช้ถามข้อมูล


เกี่ยวกับเครื่องแม่ข่าย
• REGISTER: คือข้ อความร้ องขอที่ ใ ช้ สำา หรั บ การขอลงทะเบี ย น ระหว่ า งเครื่ อ งลูก

ข่ายกับเครื่องแม่ขา่ ย
13

ตารางที่ 3 SIP Request Message (cpe.rsu.ac.th)

 Response Message เป็นสัญญาณที่ใช้เพื่อตอบสนองต่อ Request Message ที่ได้รับมา


ซึ่งลักษณะของสัญญาณ จะเป็น Status Code ดังต่อไปนี้
• 1xx เป็นรหัสการตอบสนองของ Server ที่จะเป็นข้อมูลเพื่อบอก รายละเอียด

ให้ Client ทราบถึงสถานะของข้อความที่ส่งไปว่าตอนนี้ถึงขั้นตอนไหนแล้ว โดยจะ


ส่งรหัสแบบนี้มาเฉพาะในช่วงที่ Server กำาลังทำางานกับข้อความนั้นเท่านั้น
• 100 บอกถึงว่าตอนนี้กำาลังพยายามติดต่ออยู่
• 180 บอกถึงวาตอนนี้กำาลังรอการตอบรับจากผู้ที่ Server ติดต่อไป
• 182 บอกว่าตอนนี้ข้อความยังรออยู่ในคิวเพื่อรอการทำางานต่อไป
• 2xx รหัสการตอบสนองระหว่าง Client กันเองว่าคำาสั่งที่ให้มีการทำางาน ตามข้อความ

ที่ได้ส่งไปนั้นเรียบร้อยแล้ว
• 200 การยกเลิ ก การติ ด ต่ อ ด้ ว ยคำา สั่ ง BYE เรี ย บร้ อ ยแล้ ว หรื อ การ
ยกเลิ ก ข้ อ ความบางข้ อ ความด้ ว ยคำา สั่ ง CANCEL เรี ย บร้ อ ยแล้ ว หรื อ การเชิ ญ ให้ มี
การติดต่อด้วยคำา สั่ง INVITE เรียบร้อยแล้ว หรือ การลงทะเบียนต่อ Server ด้วย คำา สั่ง
REGISTER เรียบร้อยแล้ว
• 3xx รหัสการตอบสนองสำาหรับการติดต่อผ่าน Server ในโหมดการ ทำางานแบบ

Redirection
• 302 บอก Address ของผู้ที่ต้องการติดต่อว่าผู้นนั้ ได้เปลี่ยนไปใช้Address ใด
• 4xx รหัสการตอบสนองหากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นในระหว่างที่มีการติดต่อ

โดยเป็นข้อผิดพลาดที่เกิดจากฝั่ง Client ที่ทำาการติดต่อ


• 400 บอกว่าการ Request นั้นไม่เหมาะสม ตามรูปแบบที่ควรจะเป็น
• 401 บอกว่าการ Request นั้นจะต้องมีการระบุรหัสผ่านด้วย
14

• 404 บอกว่า Addressที่ต้องการติดต่อนั้นไม่สามารถหาได้ คือไม่ได้


ลงทะเบียนกับ Server ไว้
• 5xx รหัสการตอบสนองหากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นในระหว่างที่มีการ
ติดต่อกันโดยเป็นข้อผิดพลาดที่เกิดที่ฝั่ง Server
• 500 เป็นข้อผิดพลาดที่เป็นข้อผิดพลาดภายในของ Server เอง
• 501 เป็นข้อผิดพลาดในส่วนที่ต้องการทำางานนั้นยังไม่ได้มีการสร้าง
• 505 เป็นข้อผิดพลาดเนื่องจากเวอร์ชั่นที่ใช้ไม่สนับสนุนการทำางาน
• 6xx รหัสการตอบสนองหากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นระหว่างที่มีการติดต่อกันโดย
เป็นข้อผิดพลาดทั่วไป
• 600 เป็นข้อผิดพลาดที่ทุกส่วนมีทำางานที่ยุ่งยากอยู่ไม่พร้อมจะทำางาน

ตารางที่ 4 SIP Response Message (cpe.rsu.ac.th)

10.ส่วนประกอบของเครือข่าย SIP
• Session Initiation Protocol (SIP)
นอกเหนือจาก H.323 แล้วยังมี Session Initiation Protocol (SIP) ที่กำาหนดขึ้นโดย International
Engineering Task Force (IETF) ซึ่งเป็นโพรโตคอลในการสื่อสารข้อมูลแบบสตรีมไลน์ (Streamlined)
โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับไอพีโฟน SIP ได้รับการออกแบบให้มีขนาดเล็กและมีประสิทธิภาพสูงกว่า H.323 โดย
ส่วนประกอบที่สำาคัญของ SIP คือ
1. Media Gateway Control Protocol (MGCP) จะสร้างการเชื่อมต่อระหว่างเกตเวย์กับโครงข่าย
โทรศัพท์ PSTN
2. Session Announcement Protocol (SAP) ใช้สร้างเซสซันโดยเฉพาะกรณีที่ส่งข้อมูลแบบมัลติแคส
3. Real-time Streaming Protocol (RTSP) ทำาหน้าที่ควบคุมการส่งข้อมูลให้เป็นไปตามคุณภาพที่
15

ต้องการ โดยทั้งสามส่วนนี้จะใช้ Session Description Protocol (SDP) เพื่อบอกรายละเอียดของมีเดีย


ที่สื่อสาร ไม่วา่ จะเป็นเสียง วีดโี อหรือข้อมูลมัลติมีเดียอื่น ๆ

• Media Gateway Control Protocol (MGCP)


มีหน้าที่กำาหนดการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ประเภท Call Agents และ Telephony Gateway Call Agent
ซึ่งเรารู้จักกันในชื่อ Media Gateway Controllers โดยเป็นศูนย์กลางประสานงานกับเครื่องตรวจสอบกิจกรรม
ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในระบบโทรศัพท์และเกตเวย์ รวมทั้งยังบอกเส้นทางเพื่อส่งข้อมูลเสียงไปยังปลายทาง
MGCP ถูกพัฒนามาจาก Simple Gateway Control Protocol และ Internet Protocol Device Control

• Real-time Transport Protocol (RTP)


RTP ถูกใช้โดย SIP และ H.323 เพื่อทำางานด้านของการสื่อสารแบบเรียลไทม์ เช่น ออดิโอและวีดีโอบน
เครือข่ายแพ็กเก็ตสวิตชิง มีหน้าที่จัดการเรื่องข้อมูลประเภทเวลาไปยังผู้รับ โดยสามารถแก้ไขค่าดีเลย์ของ
สัญญาณได้ยอมให้ผู้รับสามารถค้นหาแพ็กเก็ตที่สูญหาย และประเมินเส้นทางในการส่งข้อมูลอีกด้วย
นอกจากนี้แล้ว RTP จะมีหน้าที่จัดการในเรื่องของการส่งข้อมูลไปยังผู้รับ ซึ่งสามารถกู้คืนได้ในกรณีที่
แพ็กเก็ตสูญหายหรือ Jitter โดย RTP ได้รับการประกาศใช้จาก IETF ใน RFC 1889 ซึ่งหน้าที่หลักก็เพื่อให้
บริการฟังก์ชันต่าง ๆ เช่น การจัดลำาดับ การกำาหนด Payload และ intra-media synchrinization กับ
Real-time Transport Control Protocol (RTCP)
• Real-time Transport Control Protocol (RTCP)

RTCP เป็นโพรโตคอลที่ทำางานร่วมกับ RTP เพื่อควบคุมทำางานในเรื่อง QoS Feedback การควบคุม


เซสซัสของการส่งข้อมูล การกำาหนดเกี่ยวกับผู้ใช้ และ Inter media synchrinization เพื่อเข้าจังหวะ
ระหว่างออดิโอและวีดีโอสตรีม

• Real-time Streaming Protocol (RTSP)


RTSP ประกาศโดย IETF ใน RFC 2326 เพื่อควบคุมการส่งข้อมูลประเภทมีเดียแบบเรียลไทม์
Session Description Protocol (SDP)
SDP เป็นโพรโตคอลที่ประกาศโดย IETF ใน RFC 2327 ให้ความช่วยเหลืออธิบายในเรื่อง multimedia
session ซึ่งใช้สำาหรับบอกให้รู้ถึง Session, session invitation
16

11.เปรียบเทียบ

สำาหรับมาตรฐานที่มีการใช้งานอยู่บนเทคโนโลยี VoIP นัน้ โดยทั่วไปจะมีอยู่ 2 มาตรฐานด้วยกัน


ได้แก่ มาตรฐาน H.323 และมาตรฐาน SIP มาตรฐานเหล่านี้ เราสามารถเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า “Call Control
Technologies” ซึ่งถือว่าเป็นส่วนประกอบสำาคัญสำาหรับการนำาเทคโนโลยี VoIP มาใช้งาน

H.323 Standard

สำาหรับมาตรฐาน H.323 นัน้ จริงๆ แล้วไม่ได้ถูกออกแบบมาให้ใช้งานกับระบบเครือข่ายที่ใช้


Internet Protocol (IP) นอกจากนั้นมาตรฐาน H.323 ยังมีการทำางานที่ค่อนข้างช้า โดยปกติแล้วเราจะเสนอการ
ใช้งานมาตรฐาน H.323 ให้กับลูกค้าก็ต่อเมื่อในระบบเดิมของลูกค้ามีการใช้งานมาตรฐาน H.323 อยู่แล้ว
เท่านั้น

- มาตรฐาน H.323 เป็นมาตรฐานภายใต้ ITU-T (International Telecommunications Union) Standard

- ในตอนแรกนั้น มาตรฐาน H.323 ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อเป็นมาตรฐานสำาหรับการทำา Multimedia


Conferencing บนระบบเครือข่าย LAN เป็นหลัก แต่มาในตอนหลังจึงถูกพัฒนาให้ครอบคลุมถึงการทำางานกับ
เทคโนโลยี VoIP ด้วย

- มาตรฐาน H.323 สามารถรองรับการทำางานได้ทั้งแบบ Point-to-Point Communications และแบบ Multi-


Point Conferences

- อุปกรณ์ต่างๆ จากหลากหลายยี่ห้อ หรือหลายๆ Vendors นัน้ สามารถที่จะทำางานร่วมกัน (Inter-Operate)


ผ่านมาตรฐาน H.323 ได้

SIP (Session Initiation Protocol) Standard

มาตรฐาน SIP นัน้ ถือเป็นมาตรฐานใหม่ในการใช้งานเทคโนโลยี VoIP โดยที่มาตรฐาน SIP นัน้


ได้ถูกออกแบบมาให้ใช้งานกับระบบ IP โดยเฉพาะ ซึ่งโดยปกติแล้วเราจะแนะนำาให้ลูกค้าใหม่ที่จะมีการใช้
งาน VoIP ให้มีการใช้งานอยู่บนมาตรฐาน SIP...

- มาตรฐาน SIP นัน้ เป็นมาตรฐานภายใต้ IETF Standard ซึ่งถูกออกแบบมาสำาหรับการเชื่อมต่อ VoIP


17

- มาตรฐาน SIP นัน้ จะเป็นมาตรฐาน Application Layer Control Protocol สำาหรับการเริ่มต้น (Creating),
การปรับเปลี่ยน (Modifying) และการสิ้นสุด (Terminating) ของ Session หรือการติดต่อสื่อสารหนึ่งครั้ง

- มาตรฐาน SIP จะมีสถาปัตยกรรมการทำางานคล้ายคลึงการทำางานแบบ Client-Server Protocol

- เป็นมาตรฐานที่มี Reliability ที่ค่อนข้างสูง

ตารางที่ 5 ตารางการเปรียบเทียบระหว่าง H.323 และ SIP (cpe.rsu.ac.th)

12.สรุป
การที่โครงข่ายโทรคมนาคมพื้นฐานเช่น ระบุบโทรศัพท์มีการเปลี่ยนแปลงไปมาก ทั้งชนิดและรูป
แบบบริการ จากเดิม ที่มี เ พีย งเฉพาะบริ การด้านเสีย งสำา หรั บโทรศัพท์ บ้าน ต่อ มามีบ ริก ารชนิ ดใหม่เ ช่น
อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง โทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นต้น อุปสรรคที่เกิดขึ้นคือ โครงข่ายโทรคมนาคมต่างๆดังกล่าว
ถูกแยกออกจากกันโดยสิ้นเชิงตามชนิดของบริการเช่น โครงข่ายโทรศัพท์พื้นฐานสำา หรับโทรศัพท์บ้าน
โครงข่ า ยข้ อ มู ล สำา หรั บ อิน เทอร์ เ น็ ตความเร็ ว สูง โครงข่า ยโทรศัพท์ เ คลื่ อ นที่ เป็ น ต้น ดั งนั้ น “โครงข่ า ย
โทรคมนาคมยุคหน้า” จึงกำาเนิดขึ้นเพื่อให้สามารถรองรับบริการโทรคมนาคมทุกประเภทรวมทั้งบริการใหม่ๆ
ทจะเกิดขึ้นต่อไป ด้วยการรวมทุกโครงข่ายโทรคมนาคมเข้าด้วยกันภายใต้โครงข่ายไอพีที่มีการรับส่ง
ข้อมูลแบบกลุ่มข้อมูลหรือแพ็กเกจ
SIP (Session Initiation Protocol) คือโปรโตคอลหรือเกณฑ์วิธีเพื่อใช้งานด้านมัลติมีเดียบนเครือข่าย
IP ได้รับการพัฒนาโดย MMUSIC (IETF Multi-Party Multimedia Session Control Working Group)ตั้งแต่ปี
2540 และ SIP ถือว่าเป็นโปรโตคอลที่เหนือกว่าโปรโตคอลอื่นในแง่ของการที่สามารถปรับใช้และนำา ไป
18

พัฒนาได้ง่ายกว่า มีการคาดการณ์ไว้ว่า ในอนาคตอุปกรณ์ในโครงข่ายโทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์ยุคใหม่


เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย คอมพิวเตอร์กระเป๋าหิ้ว ปาล์ม หรือโทรศัพท์ จะใช้ SIP สำา หรับการสื่อ
สัญญาณ นอกจากนี้ชุมสายโทรศัพท์ เกตเวย์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรืออุปกรณ์ไร้สายอื่น จะเปลี่ยนมาใช้ SIP
เช่นกัน เนื่องจากคุณสมบัติหนึ่งของ SIP คือ ความยืดหยุ่น (Flexibility) ของการใช้งานซึ่งไม่จำาเป็นต้องจำากัด
แค่โทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต (VoIP: Voice over IP)
การใช้งาน SIP เพื่อการสื่อสารแบบมัลติมีเดียให้สมบูรณ์แบบ นั้นจำาเป็นต้องใช้โปรโตคอลร่วมอย่าง
SDP (Session Description Protocol) และ RTP (Real-Time Transport Protocol) ด้ ว ยในอนาคต SIP ซึ่ ง
ปัจจุบันใช้งานร่วมกับเครือข่าย IP ขนาดใหญ่อย่างอินเทอร์เน็ตจะนำาไปใช้งานจริงกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
สื่อสาร ก้าวถัดไปนี้จะเป็นการปฏิวัติอุสาหกรรมโทรคมนาคม
3

เอกสารอ้างอิง

โ พ ร โ ท ค อ ล SIP (Session Initiation Protocol) [อ อ น ไ ลน์ ]. Available URL:http://www.mind-


tek.net/sip.php (วันที่ค้นหาข้อมูล 7 มกราคม 2552)

Sip.pdf [ออนไลน์]. Available URL: www.mind-tek.net/data/sip.pdf (วันที่ค้นหาข้อมูล 7 มกราคม


2552)

VOIP and SIP Protocol.pdf Available URL: http://cpe.rsu.ac.th/ut/courses/T1-


51/cpe489/portfolio/481916/VOIP%20and%20SIP%20Protocol.pdf (วันที่ค้นหาข้อมูล 7 มกราคม 2552)

โปรโตคอลมาตรฐานสำ า หรั บ อิ น เตอร์์เ น็ ท เทเลโฟนนี่ .pdf [ออนไลน์ ] Available URL:


www.nectec.or.th/NTJ/No10/papers/No10_tutor_1.pdf (วันที่ค้นหาข้อมูล 7 มกราคม 2552)

You might also like