Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 7

‫?

‪ทำำไมต้องอิสติฆฟำร‬‬
‫[‬ ‫] ‪ไทย‬‬

‫لماذا نستغفر ؟‬
‫[‬ ‫باللغة التايلندية‬ ‫]‬

‫‪ซุฟอัม อุษมาน‬‬
‫صافي عثمان‬

‫‪ตรวจทาน: อุษมาน อิดรีส‬‬


‫مراجعة‪ :‬عثمان إدريس‬

‫‪สำานักงานความร่วมมือเพื่อการเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด‬‬


‫المكتب التعاوني للدعوة وتوعية الجاليات بالربوة‬
‫بمدينة الرياض‬
‫‪14 29 – 2 00 8‬‬
ทำำไมต้องอิสติฆฟำร ?

ตามเดิมคำาว่า อิสติฆฟาร ในภาษาอาหรับหมายถึง การขอให้อัลลอฮฺปกปิดและอภัยโทษ


ให้กับบาปและความผิดที่บ่าวได้กระทำา ลงไป อุละมาอ์บางท่านเช่น อิบนุ ก็อยยิม อธิบายว่า
อิสติฆฟารคือการกลับตัวหรือการเตาบะฮฺ นั่นคือการขอให้อัลลอฮฺอภัยโทษ ลบล้างบาป ขจัดพิษ
ภัยและร่องรอยของมันให้หมด พร้อมกับขอให้พระองค์ปกปิดมันไว้ (ดู มะดาริจญ์ อัส-สาลิกีน
1:307)
ความสำา คัญของอิสติฆฟารเห็นชัดเจนยิ่ง จากการที่พระองค์อัลลอฮฺได้ระบุถึงไว้อย่าง
มากมายและด้วยสำานวนที่หลากหลายในพระดำารัสของพระองค์ บางครั้งด้วยสำานวนสั่งใช้ เช่นใน
สูเราะฮฺ อัล-มุซซัมมิล อายะฮฺที่ 20, สูเราะฮฺ ฮูด อายะฮฺที่ 3 บางครั้งด้วยการชื่นชมผู้อิสติฆฟาร
เช่นในสูเราะฮฺ อาล อิมรอน อายะฮฺที่ 17 และ 135 และบางครั้งด้วยการบอกเล่าว่าทรงอภัยโทษ
ให้กับผู้ที่กล่าวอิสติฆฟาร เช่นในสูเราะฮฺ อัน-นิสาอ์ อายะฮฺที่ 110 (ดู ญามิอฺ อัล-อุลูม วัล-หิกัม
ของ อิบนุ เราะญับ 2:407) ในขณะที่หะดีษซึ่งเกี่ยวข้องกับอิสติฆฟารนั้นมีมากมายจนนับแทบไม่
ถ้ ว น (ดู อั ล -อั ซ ก า ร ข อ ง อั น -น ะ ว ะ วี ย์ ห น้ า 504)
โ ด ย ห ลั ก ๆ แ ล้ ว คุ ณ ค่ า แ ล ะ ค ว า ม สำา คั ญ ข อ ง อิ ส ติ ฆ ฟ า ร พ อ ส รุ ป ไ ด้ ดั ง นี้
(1) อิสติฆฟำรเป็นเครื่องหมำยของตักวำ มีบางอายะฮฺในอัลกุรอานที่อัลลอฮฺได้กล่าว
ถึงคุณลักษณะต่างๆ ของมุตตะกีน หรือบรรดาผู้ยำาเกรงต่อพระองค์ โดยระบุอิสติฆฟารเป็นหนึ่งใน
คุ ณ ลั ก ษณะที่ ชั ด เจนของพวก เขา (ดู อาล อิ ม รอน : 15-17, อั ซ -ซาริ ย าต : 15-18)
(2) อิสติฆฟำรเป็นเครื่องป้องกันจำกกำรลงโทษของอัลลอฮฺ ในอัลกุรอานอัลลอฮฺได้
ต รั ส ว่ า
َ ‫«وما كَان الل ّه لِيعذّبهم‬
ُ ّ ‫ن الل‬
‫ه‬ َ ‫ما كَا‬
َ ‫و‬
َ ‫م‬
ْ ‫ه‬
ِ ‫في‬
ِ ‫ت‬
َ ‫وأن‬
َ ْ ُ َ ِ َ ُ ُ َ َ َ
) 33 : ‫ن» (النفال‬ َ ‫رو‬
ُ ‫ف‬
ِ ‫غ‬
ْ َ ‫ت‬ ْ َ ْ َ ْ ُ َ ّ‫ذ‬
‫س‬ ‫ي‬ ‫م‬ ‫ه‬
ُ ‫و‬ ‫م‬ ‫ه‬‫ب‬ ِ ‫ع‬َ ‫م‬
ُ
ความว่า และอัลลอฮฺจะไม่ลงโทษพวกเขาในขณะที่มีเจ้า(มุหัมมัด)อยู่
ระหว่างพวกเขา และอัลลอฮฺจะไม่ลงโทษพวกเขาทั้งๆ ที่พวกเขานั้นได้
อิ ส ติ ฆ ฟ า ร
โองการนี้ ไ ด้ พู ด ถึ ง บรรดาพวกมุ ช ริ กี น มั ก กะฮฺ ที่ ป ฏิ เ สธการเชิ ญ ชวนของท่ า นนบี
ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม และเยาะเย้ยท่านด้วยการเรียกร้องให้ท่านนำาการลงโทษของอัลลอฮฺ
มาให้พวกเขาเห็ น แต่ อัลลอฮฺ ก็ มิได้ ทรงลงโทษพวกเขาในทันทีทันใดทั้ง นี้เ พราะเหตุที่ท่า นนบี
ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม อยู่พร้อมกับพวกเขา และตัวพวกเขาเองนั้นถึงแม้จะเหยียดหยาม
ท่านนบีอย่างไร ก็ล้วนรู้อยู่แก่ใจว่าการกระทำานั้นเป็นสิ่งที่เลวทราม และกลัวอยู่ลึกๆ ว่าอัลลอฮฺจะ
ลงโทษพวกเขาจริง จึงได้กล่าวอิสติฆฟารต่ออัลลอฮฺ นี่คือความหมายของประโยคที่ว่า "และ

2
อัลลอฮฺจะไม่ลงโทษพวกเขาทั้งๆ ที่พวกเขานั้นได้อิสติฆฟาร" การอิสติฆฟารของพวกเขาเป็น
เหตุ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ อั ล ลอฮฺ ส่ ง การลงโทษของพระองค์ ล งมา (ดู ตั ฟ ซี ร อั ส -สะอฺ ดี ย์ หน้ า 297)
มีรายงานจากเศาะหาบะฮฺบางท่านกล่าวว่า มนุษย์ทั้งหลายมีมูลเหตุแห่งความปลอดภัย
จากการลงโทษอยู่สองประการ นั่นคือ ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม และการอิสติฆฟาร
ท่านนบีนั้นได้จากไปแล้ว ในขณะที่อิสติฆฟารจะยังคงอยู่จนถึงวันกิยามะฮฺ (ดู ตัฟซีร อัต-เฏาะบะ
รี ย์ 2:381)

(3) อิ ส ติ ฆ ฟำรเป็ น สำเหตุ ของกำรบรรเทำควำมลำำ บำกและเพิ่ ม ปั จ จั ย ยั ง ชี พ


อั ล ล อ ฮฺ ไ ด้ ต รั ส ว่ า
ً‫متَاعا‬ َ «
َّ ‫عكُم‬ْ ِّ ‫مت‬ ِ ْ ‫م تُوبُوا ْ إِلَي‬
َ ُ‫ه ي‬ ْ ُ ‫فُروا ْ َربَّك‬
َّ ُ ‫م ث‬ ِ ‫غ‬ ْ َ ‫ست‬
ْ ‫نا‬ ِ ‫وأ‬ َ
‫ل‬ ‫ض‬
ْ َ
‫ف‬ ‫ذي‬ َّ ُ ‫ت ك‬
‫ل‬ ْ
‫ؤ‬ ‫ي‬ ‫و‬ ‫مى‬ ً ‫س‬ ‫م‬ُ ‫ل‬ ‫ج‬ َ ‫حسنا ً إلَى أ‬
ٍ ِ ِ ُ َ ّ َ ّ ٍ َ ِ َ َ
) 3 : ‫ه» (هود‬ َ
ُ ْ ‫ف‬
‫ضل‬ َ
ความว่า และจงอิสติฆ ฟารต่อพระผู้อ ภิบ าลของพวกท่า นและจงเตา
บะฮฺต่อพระองค์ แล้วพระองค์จะทรงประทานความสุขสบายที่งดงาม
จนถึ ง วาระที่ กำา หนด และจะทรงประทานความประเสริ ฐ ให้ กั บ ผู้ ที่
ส ม ค ว ร ไ ด้ รั บ ต า ม นั้ น
นี่เป็นคำา สั่งให้อิสติฆฟารจากบาปทั้งหลายที่ผ่านมา พร้อมกลับตัวกลับตนสู่อัลลอฮฺใน
อนาคตและยื น หยั ด เช่ นนี้ ต ลอดไป ซึ่ ง ผลบุญ ของการกระทำา ดั ง กล่า วคื อ การที่ อั ล ลอฮฺ จ ะทรง
ประทานการยังชีพที่ดีในโลกนี้จนสิ้นอายุขัย และจะทรงประทานความประเสริฐตามที่สมควรได้รับ
ใ น โ ล ก ห น้ า (ดู ตั ฟ ซี ร อิ บ นุ ก ะ ษี ร 2:537)
คำา สั่ ง ในทำา นองเดี ย วกั น นี้ ท่ า นนบี นู หฺ และ นบี ฮู ด อะลั ย ฮิ มั ส สลาม ได้ เ คยเชิ ญ ชวน
ประชาชาติของท่านมาแล้ว โดยได้บอกให้พวกเขาทราบว่าการอิสติฆฟารจะเป็นเหตุให้อัลลอฮฺ
ประทานความกว้างขวางของริสกีและปัจจัยยังชีพจากพระองค์แก่พวกเขา อัลกุรอานกล่าวถึงการ
เ ชิ ญ ช ว น ข อ ง น บี ส อ ง ท่ า น นี้ ว่ า
َّ ‫غ‬
‫ل‬
ِ ‫س‬ِ ‫ ُيْر‬،ً‫فارا‬ َ ‫ن‬ َ ‫ه كَا‬ ُ ‫م إِ َّن‬ ْ ُ‫فُروا َر َّبك‬ ِ ‫غ‬ْ ‫س َت‬
ْ ‫تا‬ ُ ‫قل‬ ْ ُ ‫ف‬ َ «
َ ً َ
‫عل‬
َ ‫ج‬
ْ ‫و َي‬
َ ‫ن‬َ ‫و َبنِي‬
َ ‫ل‬
ٍ ‫وا‬
َ ‫م‬ ْ ‫م ِبأ‬ْ ُ‫د ْدك‬
ِ ‫م‬ْ ‫و ُي‬ َ ،‫رارا‬ َ َ‫د‬ ِّ ‫عل ْيكُم‬
ْ ‫م‬ َ ‫ماء‬ َ ‫س‬َّ ‫ال‬
َ
) 12-10 : ‫هاراً» (نوح‬ َ َ
َ ‫م أ ْن‬ ْ ُ‫عل ّلك‬ َ ‫ج‬ْ ‫و َي‬َ ‫ت‬ ٍ ‫ج ّنا‬َ ‫م‬ ْ ُ‫ّلك‬
ความว่า แล้วฉัน(นบีนูหฺ)ก็กล่าวแก่พวกเขาว่า จงอิสติฆฟารต่อพระผู้
อภิ บ าลของพวกท่ า นเถิ ด แท้ จ ริ ง พระองค์ ท รงเป็ น ผู้ ที่ อ ภั ย ยิ่ ง แล้ ว
พระองค์จะประทานให้มีฝนชุกมาจากฟ้า จะทรงประทานทรัพย์สมบัติ
และลูกหลาน จะทรงทำา ให้มีสวนไม้และสายนำ้า มากมายแก่พวกท่าน

3
‫ماء‬ َّ ‫ل ال‬
َ ‫س‬ ِ ‫س‬ ِ ‫م ُتوبُواْ إِلَ ْي‬
ِ ‫ه ُيْر‬ َّ ‫م ُث‬ ْ ُ‫فُروا ْ َر َّبك‬ِ ‫غ‬ ْ ‫س َت‬ ْ ‫وم ِ ا‬ َ ‫ويَا‬
ْ ‫ق‬ َ «
ْ‫وا‬ َ ّ َ ً
ْ ‫ول‬ َ
َ ‫ول تَ َت‬َ ‫م‬ ُ
ْ ‫وتِك‬ ُ ‫ة إِلى‬
َّ ‫ق‬ ً ‫و‬ ُ ‫م‬
َّ ‫ق‬ ُ
ْ ‫ز ْدك‬
ِ ‫و َي‬
َ ‫دَرارا‬ ْ ‫م‬ِّ ‫علَيْكم‬
ُ َ
) 52 : ‫ن» (هود‬ َ ‫مي‬ ِ ‫ر‬ ِ ‫ج‬
ْ ‫م‬ ُ
ความว่ า (นบี ฮู ด ได้ ก ล่ า วว่ า ) โอ้ เผ่ า ของฉั น จงอิ ส ติ ฆ ฟารต่ อ พระผู้
อภิบาลของพวกท่าน แล้วจงเตาบะฮฺต่อพระองค์เถิด แล้วพระองค์จะ
ประทานให้มีฝนชุกแก่พวกท่าน และจะทำาให้ความแข็งแกร่งของพวก
ท่ า นเพิ่ ม ขึ้ น จากเดิ ม อี ก และอย่ า ได้ เ มิ น หลั ง ให้ พ ระองค์ เ ช่ น เหล่ า
อ า ช ญ า ก ร

(4) อิสติฆฟำรเป็นตัวกระตุ้นให้ลดและขจัดปัจจัยของกำรทำำบำป การทำาบาปอย่าง


เป็นประจำาแม้จะเป็นบาปเล็กๆ ถือว่ามีอันตรายใหญ่หลวงยิ่ง พฤติกรรมเช่นนี้ถูกเรียกว่า "อิศรอร"
ซึ่งหมายถึงการนิ่งเงียบ (ไม่ยอมละ) จากบาปและละทิ้งการอิสติฆฟาร (ดู ตัฟซีร อัต-เฏาะบะรีย์
4:97)
การอิสติฆฟารเป็นประจำาจะทำาให้พฤติกรรมที่ถูกเรียกว่า อิศรอร นัน้ หมดความหมาย เช่น
ที่ ท่ า นนบี ศ็ อ ลลั ล ลอฮฺ อะลั ย ฮิ วะสั ล ลั ม ได้ ส อนว่ า "ไม่ มี ก ำร อิ ศ รอร พร้ อ มๆ กั บ กำร
อิสติฆฟำร แม้ว่ำเขำจะทำำบำปครั้งแล้วครั้งเล่ำถึงวันละเจ็ดสิบครั้งก็ตำม" (บันทึกโดย อบู
ดาวู ด หมายเลข 1514, อิ บ นุ กะษี ร กล่ า วว่ า เป็ น หะดี ษ หะสั น ดู ตั ฟ ซี ร ของท่ า น 1:499)
และนี่ ก็ คื อ คุ ณ ลั ก ษณะแห่ ง ผู้ ตั ก วาอี ก ประการหนึ่ ง ที่ อั ล ลอฮฺ ไ ด้ ต รั ส ในอั ล กุ ร อานว่ า
ُ ْ ‫موا ْ أَن‬ َ ً ‫ش‬ َ
‫م‬
ْ ‫ه‬ُ ‫س‬َ ‫ف‬ ُ َ ‫و ظَل‬ ْ ‫ةأ‬ َ ‫ح‬ َ ْ ‫علُوا‬
ِ ‫فا‬ َ ‫ف‬َ ‫ن إِذَا‬ َ ‫ذي‬ ِ ّ ‫وال‬
َ «
ُ ْ ّ ْ
َ ‫فُر الذّنُو‬
‫ب‬ ِ ‫غ‬ْ َ ‫من ي‬ َ ‫و‬َ ‫م‬ ْ ‫ه‬ ِ ِ ‫فُروا لِذُنُوب‬ َ ‫غ‬ْ َ ‫ست‬
ْ ‫فا‬ َ ‫ه‬ َ ‫ذَكَُروا الل‬
َ
»‫ن‬َ ‫مو‬ ُ َ ‫عل‬
ْ َ‫م ي‬ ْ ‫ه‬
ُ ‫و‬ َ ْ ‫علُوا‬ َ ‫ف‬ َ ‫ما‬ َ ‫علَى‬ َ ْ ‫صُّروا‬ ِ ُ‫م ي‬ْ َ ‫ول‬ َ ‫ه‬ُ ّ ‫إِل ّ الل‬
) 135 : ‫(آل عمران‬
ความว่า และบรรดาผู้คนที่เมื่อกระทำาสิ่งเลวทรามหรือก่อความอธรรม
แก่ตัวพวกเขาเองแล้ว พวกเขาจะรำา ลึกถึงอัลลอฮฺและอิสติฆฟารต่อ
บาปต่างๆ ของพวกเขา และมีผู้ใดอีกเล่าที่จะอภัยโทษนอกเหนือไปจา
กอัลลอฮฺ พวกเขาจะไม่ดำาเนินอยู่บนบาปที่พวกเขากระทำาทั้งๆ ที่พวก
เ ข า รู้
ความหมายของโองการนี้คือ พวกเขาจะขออภัยโทษจากบาปและกลับตัวสู่อัลลอฮฺทันที
และจะไม่ดำาเนินอยู่บนบาปนั้นหรือนิ่งเงียบไม่ยอมปลดตัวเองออกจากมัน และหากความผิดบาป
ได้ เ กิ ด ขึ้ น ซำ้า แล้ ว ซำ้า อี ก พวกเขาก็ จ ะขออภั ย โทษอี ก (ดู ตั ฟ ซี ร อิ บ นุ กะษี ร เล่ ม เดิ ม )

(5) อิสติฆฟำรเป็นหนึ่งในเงื่อนไขที่อัลลอฮฺจะประทำนอภัย ในหะดีษกุดสีย์บทหนึ่ง


อัลลอฮฺได้ตรัสว่า "โอ้ มนุษย์ผู้เป็นลูกแห่งอำดัม แท้จริงเจ้ำจะไม่วอนขอและไม่หวังต่อข้ำ
เว้นแต่ข้ำจะอภัยโทษให้เจ้ำต่อบำปที่อยู่กับตัวเจ้ำโดยข้ำจะไม่สนใจเลย(ว่ำมันจะมำกมำย

4
แค่ไหนก็ตำม) โอ้ มนุษย์ผู้เป็นลูกแห่งอำดัม หำกบำปของเจ้ำมำกมำยก่ำยกองจนเกือบ
ล้นฟ้ำ แล้วเจ้ำก็วอนขออภัยต่อข้ำ ข้ำก็จะอภัยให้โดยไม่สนใจเลย(ว่ำมันจะมำกมำยแค่
ไหน) โอ้ มนุษย์ผู้เป็นลูกแห่งอำดัม หำกเจ้ำมำหำข้ำด้วยบำปที่เต็มเกือบเท่ำพื้นปฐพี แล้ว
เจ้ำเข้ำพบข้ำโดยที่ไม่มีกำรตั้งภำคีใดๆ กับข้ำ ข้ำก็จะเข้ำหำเจ้ำด้วยกำรอภัยโทษที่เต็ม
เท่ำพื้นแผ่นดินนี้เช่นเดียวกัน" (อัต-ติรมิซีย์ : 3540, อิบนุ เราะญับกล่าวว่า หะดีษนี้ไม่มีปัญหา
เกี่ ย วกั บ สายรายงาน กล่ า วคื อ เป็ น หะดี ษ ที่ ใ ช้ ไ ด้ ดู ญามิ อฺ อั ล -อุ ลู ม วั ล -หิ กั ม 2:400)
ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้กล่าวว่า "ขอสำบำนด้วยอัลลอฮฺผู้ซึ่งชีวิตข้ำ
อยู่ในพระหัตถ์แห่งพระองค์ หำกพวกเจ้ำไม่มีกำรพลำดพลั้งทำำบำปเลย แน่แท้อัลลอฮฺจะ
ทรงให้พวกเจ้ำสูญสิ้นไป และพระองค์ก็จะทรงนำำชนกลุ่มอื่นที่ทำำบำปให้มำสืบทอดแทน
พวกเจ้ำ พวกเขำจะกล่ำวอภัยโทษต่ออัลลอฮฺและพระองค์ก็จะทรงอภัยให้เขำ" (มุสลิม :
2749)
เพราะอิสติฆฟารมีความสำาคัญเยี่ยงนี้ อัลลอฮฺจึงสอนให้บรรดานบีรู้จักการอิสติฆฟาร นับ
ตั้งแต่นบีอาดัม อะลัยฮิสสลาม จนถึงท่านนบี มุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ทั้งหมดล้วน
ได้ ทำา แบบอย่ า งที่ ดี ยิ่ ง ในการอิ ส ติ ฆ ฟารขออภั ย โทษจากพระผู้ อ ภิ บ าลของพวกเขา
ดั ช นี ต่ อไปนี้ แ สดงให้ เ ห็ น ตัว อย่ า งเกี่ ย วกั บการอิ สติ ฆ ฟารของนบีบางท่ า น ที่ มี ร ะบุใ น
อั ล กุ ร อ า น :
- อิสติฆฟารของนบีอาดัม อะลัยฮิสสลาม (อัล-บะเราะเราะฮฺ : 37, อัล-อะอฺ รอฟ : 23)
- น บี นู หฺ อ ะ ลั ย ฮิ ส ส ล า ม (ฮู ด : 47)
- น บี อิ บ ร อ ฮี ม อ ะ ลั ย ฮิ ส ส ล า ม (อั ล -บ ะ เ ก า ะ เ ร า ะ ฮฺ : 128, อิ บ ร อ ฮี ม : 41)
- น บี มู ซ า อ ะ ลั ย ฮิ ส ส ล า ม (อั ล -อ ะ อฺ ร อ ฟ : 151, 155, อั ล -เ ก า ะ ศ็ อ ศ : 16)
- น บี ด า วู ด อ ะ ลั ย ฮิ ส ส ล า ม (ศ อ ด : 24)
- น บี สุ ลั ย ม า น อ ะ ลั ย ฮิ ส ส ล า ม (ศ อ ด : 35)
- น บี ยู นุ ส อ ะ ลั ย ฮิ ส ส ล า ม (อั ล -อั น บิ ย า อ์ : 87)
ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม เองได้ทำา แบบอย่างที่สมบูรณ์เกี่ยวกับอิสติฆฟาร
ท่านจะกล่าวอิสติฆฟารมากที่สุดกว่าคนอื่นๆ (อัน-นะสาอีย์ ใน อะมัล เยาม์ วัล ลัยละฮฺ : 10215)
โดยจะกล่าวอิสติฆฟารไม่น้อยกว่า 70-100 ครั้งในแต่ละวัน (อัล-บุคอรีย์ : 6307, อัน-นะสาอีย์ ใน
อะมัล เยาม์ วัล ลั ย ละฮฺ : 10205) บางที เ ศาะหาบะฮฺ ไ ด้นั บจำา นวนการกล่า วอิ ส ติ ฆ ฟารในวง
สนทนาแต่ละครั้งของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้ถึงหนึ่งร้อยครั้ง (อบู ดาวูด : 1516,
อั ต -ติ ร มิ ซี ย์ : 3434, อิ บ นุ ม า ญ ะ ฮฺ : 3814, เ ศ า ะ ฮี หฺ อั ล -ญ า มิ อฺ : 3486)
ข้อเท็จจริงทางหลักฐานเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงความสำา คัญของอิสติฆฟาร และไม่ควร
อย่างยิ่งที่ผู้เป็นมุสลิมจะเฉยเมยและไม่มีอาการตอบสนองต่อความสำา คัญของมัน ด้วยการนิ่ง

5
ดูดายไม่สนต่อความผิดบาปที่ก่อตัวและพอกพูนขึ้นทุกวันๆ โดยมิพักจะนึกถึงอัลลอฮฺและกล่าว
ขออภัย โทษต่ อ พระองค์ ทั้ ง ๆ ที่ การอิ ส ติ ฆ ฟารนั้ น ไม่ ใ ช่ สิ่ ง ที่ ย ากเย็ น แสนเข็ ญ แต่ อ ย่ า งใดเลย
َ ‫فر الل ه‬ َ
อย่ า งน้ อ ยสำา นวนอิ ส ติ ฆ ฟารเช่ น ‫ه‬ ِ ْ ‫ب إِلَي‬ُ ‫و‬ ْ ُ ‫وأت‬ َ َ ُ ِ ‫غ‬ ْ َ ‫ست‬ ْ ‫" أ‬อั ส ตัฆ ฟิ
รุ ล ล อ ฮฺ ว ะ อ ะ ตู บุ
อิลัยฮิ" (หมายความว่า ฉันขออภัยโทษต่ออัลลอฮฺและฉันขอกลับตัวสู่พระองค์) ควรจะเป็นสิ่งที่
ติดปากของพวกเราทุกคนทุกที่ทุกเวลา และหากเป็นไปได้ควรศึกษาและท่องจำาสำานวนอิสติฆฟาร
ที่ มี ร ะ บุ ใ น ห ะ ดี ษ ต่ า ง ๆ ซึ่ ง ท่ า น น บี ไ ด้ ส อ น ใ ห้ เ ร า ก ล่ า ว ต า ม ว า ร ะ ต่ า ง ๆ เ ช่ น
(1) สำา น ว น ที่ ใ ช้ ก ล่ า ว ก่ อ น ใ ห้ ส ล า ม ใ น ล ะ ห ม า ด (อั ล -บุ ค อ รี ย์ : 799)
‫وَل‬
َ ،‫ما كَثِيًرا‬ ً ْ ‫سي ظُل‬ ِ ‫ف‬ ْ َ‫ت ن‬ ُ ‫م‬ ْ َ ‫ظَل‬ ‫م إِنِّي‬ َّ ‫ه‬ ّٰ
ُُ ‫«الل‬
َ َ
‫ن‬ْ ‫م‬ِ ً‫فَرة‬ ِ ‫غ‬ْ ‫م‬َ ‫فْر لِي‬ ْ ‫فا‬
ِ ‫غ‬ َ ،‫ت‬ َ ْ ‫ب إ ِ ّل أن‬ َ ‫فُر الذُّنُو‬ ِ ‫غ‬
ْ َ‫ي‬
َ
»‫م‬ ُ ‫حي‬ِ ‫فوُر الَّر‬ ُ ‫غ‬َ ْ ‫ت ال‬ َ ْ ‫منِي إِنَّك أن‬ ْ ‫ح‬َ ‫واْر‬ َ ،‫ك‬ َ ‫د‬ ِ ْ ‫عن‬ ِ

(2) สำานวนที่ใช้กล่าวทุกเช้า-เย็น ที่เรียกว่า สัยยิดุล อิสติฆฟาร หรือ แม่บทแห่งการกล่าวอิ


ส ติ ฆ ฟ า ร นั่ น เ อ ง (อั ล -บุ ค อ รี ย์ : 6306)
ْ َ ‫خل‬ َ َ َ َ ‫«الل ه‬
‫قتَنِي‬ َ ،‫ت‬ َ ْ ‫ه إ ِ ّل أن‬ َ ٰ ‫ت َرب ِّي َل إِل‬ َ ْ ‫م أن‬ ّ ُُ ٰ ّ
‫ما‬ َ ‫ك‬ َ ‫د‬ ِ ‫ع‬
ْ ‫و‬ َ ‫و‬ َ ‫ك‬ َ ‫د‬ ِ ‫ه‬ ْ ‫ع‬َ ‫علَى‬ َ ‫وأَنَا‬ َ ‫ك‬ َ ُ‫عبْد‬ َ ‫وأَنَا‬َ
َ
ُ‫ أبُوء‬،‫ت‬ َ ‫ن‬ َ ِ ‫عوذُ ب‬ َ َ
ُ ‫ع‬ ْ َ ‫صن‬
َ ‫ما‬ َ ‫ر‬ ِّ ‫ش‬ ْ ‫م‬ِ ‫ك‬ ُ ‫ أ‬،‫ت‬ ُ ‫ع‬ ْ ‫ستَط‬ ْ ‫ا‬
‫فْر‬ ْ ‫فا‬
ِ ‫غ‬ َ ،‫ك بِذَنْبِي‬ َ َ ‫وأبُوءُ ل‬ َ َّ َ ‫عل‬ َ ِ ‫مت‬ َ َ‫ل‬
َ َ ،‫ي‬ َ ‫ك‬ َ ‫ع‬ ْ ِ ‫ك بِن‬
َ
»‫ت‬ َ ْ ‫ب إ ِ ّل أن‬ َ ‫فُر الذُّنُو‬ ِ ‫غ‬ْ َ ‫ه َل ي‬ ُ َّ ‫فإِن‬ َ ‫لِي‬

(3) สำานวนที่ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม มักจะกล่าวบ่อยในวงสนทนาของท่าน


(อบู ดาวู ด : 1516, อั ต -ติ ร มิ ซี ย์ : 3434, อิ บ นุ มาญะฮฺ : 3814, เศาะฮี หฺ อั ล -ญามิ อฺ : 3486)
َّ َّ ‫ت الت‬ َ َ َّ ‫ إن‬،‫ي‬
‫ب‬ُ ‫وا‬ َ ْ ‫ك أن‬ ِ َّ َ ‫عل‬ َ ‫ب‬ْ ُ ‫وت‬
َ ‫فْر لِي‬ ْ ‫با‬
ِ ‫غ‬ ِّ ‫«َر‬
»‫فوُر‬ َ ْ ‫ال‬
ُ ‫غ‬

(4) สำานวนที่ใช้กล่าวเมื่อเสร็จจากการพูดคุยหรือที่เรียกว่า กัฟฟาเราะตุล มัจญ์ลิส (อัต-ติ


ร มิ ซี ย์ : 4333, เ ศ า ะ ฮี หฺ อั ล -ญ า มิ อฺ : 6192)
َ ْ َ ‫ أ‬،‫ك‬
َ ٰ ‫ن َل إِل‬
‫ه‬ ْ ‫هدُ أ‬ َ ‫ش‬ َ ‫د‬ِ ‫م‬
ْ ‫ح‬ َ ِ ‫وب‬
َ ‫م‬َّ ‫ه‬ ّٰ ‫ك‬
ُُ ‫الل‬ َ َ ‫حان‬َ ْ ‫سب‬ ُ «
َ
َ ْ ‫ب إِلَي‬ َ َ َ
»‫ك‬ ُ ‫وأتُو‬ َ ‫ك‬ َ ‫فُر‬ ِ ‫غ‬
ْ َ ‫ست‬
ْ ‫ أ‬،‫ت‬ َ ْ ‫إ ِ ّل أن‬

ในคัมภีร์อัลกุรอานเองก็มีสำานวนต่างๆ ของอิสติฆฟารให้เราได้เลือกปฏิบัติหรือสับเปลี่ยน
สำานวนได้ เพื่อเป็นการกระตุ้นไม่ให้เบื่อหน่ายกับสำานวนที่ใช้กล่าวเพียงอันเดียว (ดู สูเราะฮฺ อาล

6
อิมรอน : 16, 147, 193, อัล-อะอฺรอฟ : 23, อิบรอฮีม : 41, อัล-อันบิยาอ์ : 87, อัล-มุมินูน : 109,
118, อั ล -เ ก า ะ ศ็ อ ศ : 16, อั ล -หั ช ร์ : 10)
อย่ า งไรก็ต าม สิ่ง ที่ สำา คั ญ ที่ สุ ด คื อ การกล่ า วอิ ส ติ ฆ ฟารให้ ติ ด ปากเสมอ ไม่ว่ า จะด้ ว ย
สำา นวนใดก็ตาม หากไม่สามารถที่จะท่องจำา สำา นวนที่ยาวๆ ก็เป็นการเพียงพอด้วยการกล่าวสั้น
َ ‫فر الل ه‬ َُ
ِ ُْ ‫ب إِلَي‬
ว่ า ๆ ‫ه‬ ُُ ‫و‬
ْ ُ ‫وأت‬
َ َُ ُ ِ ‫غ‬ ْ َ ‫ست‬ْ ‫" أ‬อั ส ตั ฆ ฟิ รุ ล ล อ ฮฺ ว ะ อ ะ ตู บุ อิ ลั ย ฮิ "
นี่อาจจะเป็นสิ่งที่ง่ายมากๆ อีกประการหนึ่ง แต่น้อยคนที่สามารถปฏิบัติอย่างสมำ่าเสมอได้
จึงควรอย่างยิ่งที่เราต้องมุ่งมั่นฝึกฝนและเอาจริงเอาจังเพื่อแบบฉบับแห่งคำาสอนของพระผู้เป็นเจ้า
อันงดงามนี้ได้กลายเป็นเสมือนเครื่องประดับติดกายเราอยู่ตลอดเวลา เพื่อการยกย่องจากอัลลอฮฺ
และการอภั ย โทษต่ อ ความผิ ด บาปที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ เราทุ ก คนโดยยากที่ จ ะหลี ก เลี่ ย งได้ พ้ น แม้ จ ะ
พ ย า ย า ม สุ ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ แ ค่ ไ ห น ก็ ต า ม
ท่ามกลางโลกอันวุ่นวายและเต็มไปด้วยสิ่งยั่วยวนให้หลงผิดและกระทำาบาปต่อพระผู้เป็น
เจ้า มนุษย์ยังมีอิสติฆฟารเป็นของขวัญจากอัลลอฮฺ ที่จะใช้เป็นเครื่องป้องกันไม่ให้บาปมาปกคลุม
หัวใจจนมิด ทั้งยังเป็นปัจจัยสำาคัญที่จะยับยั้งการลงโทษจากพระองค์ผู้ทรงเกรียงไกรตามที่ได้ทรง
สั ญ ญ า ไ ว้ กั บ เ ร า
ข อ อั ล ล อ ฮฺ ป ร ะ ท า น ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ อ า มี น

You might also like