Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 5

ปัจจุบนั มีการนำา Low dose CT มาใช้ในการตรวจ screening โรคมะเร็งปอดใน

ระยะเริม่ ต้น (early lung cancer) ซึ่งทำาให้มีการพบลักษณะ nodular Ground Glass


Opacity เพิม่ ขึ้น ซึ่งเป็นลักษณะที่ไม่จำาเพาะ และ เป็นได้ทั้ง Benign และ
Malignant disease.

เขียนโดย พญ.พัชร์ สุนทรวิภาต

Ground Glass Opacity (GGO)


Ground glass opacity หรือ GGO เป็นลักษณะที่ใช้บรรยายใน High-
resolution computed tomography (HRCT) มีนิยามว่า “Hazy increased attenuation
of the lung with preservation of bronchial and vascular margins” 1,2,4 คือ ลักษณะ
ใน HRCT ทีม่ ีสีขาวพร่าคล้ายหมอก โดยที่หลอดลมและเส้นเลือดยังอยู่ในลักษณะ
ที่ปกติ
ปัจจุบันมีการพัฒนาการทำาเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT) ในการตรวจ หรือ
screening เพือ่ หามะเร็งปอดในระยะเริ่มต้น ซึ่งกำาลังได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น และมี
การตรวจพบลักษณะก้อน/nodule ขนาดเล็ก หรือ พบ lesion แบบ ground glass
opacity (GGO) บ่อยขึ้น 1 ซึ่ง GGO นั้น เป็นลักษณะที่ไม่จำาเพาะ ในการศึกษาที่
ผ่านมาเมื่อพบลักษณะ GGO มักจะคิดว่าเป็น benign lesion และ lesion ทีม่ ีลักษณะ
เนื้อตันหรือ solid จะเป็นรูปแบบที่ทำาให้นึกถึงมะเร็ง malignancy มากกว่า 3 ภาย
หลังมีการศึกษาเพิ่มเติมมากขึ้นหลังจากที่เริ่มมีการนำา Low dose CT มาใช้ในการ
screening early lung cancer และพบว่า lesion ทีม่ ีขนาดเล็ก (<2cm) ทีม่ ีลักษณะเป็น
solid lesion นั้น มีแนวโน้มจะเป็นเนื้องอกที่เป็น benign lesion3 และ lesion ที่เป็น
GGO มีแนวโน้มที่ จะพบว่าเป็นมะเร็ง (malignancy) มากกว่า
GGO nodules สามารถพบได้ในหลายภาวะ ดังนี้2

Malignant lesion
Bronchioloalveolar carcinoma
Early-stage adenocarcinoma
Benign lesion
Inflammatory diseases; organizing pneumonia or eosinophilic pneumonia
Focal hemorrhage
Focal interstitial fibrosis
Precancerous lesion ซึ่งได้แก่ Atypical adenomatous hyperplasia หรือ AAH

ลักษณะของ GGO ทีพ่ บได้แบ่งใหญ่ๆเป็น 2 รูปแบบ 3 คือ


1. Pure GGO (pGGO)
มีลักษณะที่เป็น ground glass opacity เพียงอย่างเดียว
2. Mixed GGO (mGGO)
มีลักษณะที่เป็น ground glass ร่วมกับส่วนใดส่วนหนึ่งที่เป็นเนื้อตันหรือ solid
GGO ที่เป็น inflammatory lesion หรือ infection รวมถึงกลุ่ม benign lesion ส่วน
ใหญ่นั้นจะ หายไปหลัง short interval follow up คือ ตรวจไม่พบ lesion เดิมในการ
follow up CT ในช่วงระยะเวลาสั้น (short interval) โดยส่วนใหญ่จะติดตามทำา CT
ซำ้าที่ 3 เดือน 1,2,3,5
ต่างกับ GGO ที่เป็น tumor (BAC, Adenocarcinoma, AAH) หรือ benign lesion ที่
เป็น focal interstitial fibrosis นัน้ จะไม่หายไปเมื่อ follow up CT(short interval) ซึ่ง
จัดว่าเป็น “persistence lesion” 1,2,3,5
มีการศึกษาในประเทศญี่ปุ่นพบว่า ทุก lesion ที่เป็น persistence lesion นัน้
เมื่อศึกษาแล้วทุกราย ได้ผลชิ้นเนื้อ (pathological result) เป็น tumor 1,6 และใน
จำานวนนี้ ประมาณครึ่งหนึ่งเป็น BAC (bronchioloalveolar carcinoma)
จึงแนะนำาให้มี intervention ใน persistence GGO ทุกราย และมีบางการศึกษาพบ
ว่าการทำา thoracoscopic limited resection (โดยไม่จำาเป็นต้อง open surgery) นัน้
valid6
การศึกษาโดยส่วนใหญ่พบว่า ลักษณะหรือรูปแบบที่มีแนวโน้มที่จะเป็นมะเร็ง
ได้แก่1,2,3,5,6,7,8,10,11
1.lesion ที่เป็น mixed GGO ร่วมกับมี spiculated border
2. lesion ทีม่ ีขนาดมากกว่า 1 cm
3. พบในผู้หญิง และ ในคนที่ไม่ได้สูบบุหรี่ (non-smoker)
4. ไม่พบร่วมกับมี ระดับของ eosinophil ในเลือดสูง โดยในกลุ่มที่มี
eosinophil สูง ส่วนใหญ่เป็น benign lesion (eg, eosinophilic pneumonia)
5. lesion คลำาได้ใน field ผ่าตัด (palpability) (กรณีทมี่ ีการทำา open
surgery)
แต่อย่างไรก็ดี ไม่มีลักษณะใดเลย ทีม่ ีความแตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญที่จะช่วย
แยก malignant ออกจาก benign nodule11
นอกจากนั้นพบว่าเมื่อติดตามไปในระยะยาว GGO nodule นัน้ มีระยะเวลา
เพิม่ ปริมาตรเป็น 2 เท่า หรือ volume doubling time (VDT) นาน โดยใน pure GGO
nodule นัน้ VDT เฉลี่ยที่ 813 วัน mixed GGO มี VDT เฉลี่ย 457 วัน เทียบกับ solid
malignant nodule ทีม่ ี VDT เฉลี่ยที่เพียงประมาณ 149 วัน 10
สำาหรับการนำา PET(positron emission tomography) มาใช้ในร่วมในการแยก
lesion ที่เป็นมะเร็งนั้น เนื่องจาก PET มีข้อจำากัดในการตรวจ lesion ที่เล็กกว่า 1 cm
จึงไม่สามารถช่วยในการแยก lesion ที่มีขนาดเล็กได้ นอกจากนั้นใน lesion ที่ ใหญ่
กว่า 1 cm นัน้ PET ก็ไม่สามารถตรวจพบ (non-uptake) lesion ที่ใน CT มีลักษณะ
เป็น GGO ได้ จึงสรุปได้ว่า PET ไม่มีประโยชน์ หรือ ไม่ช่วยในการตรวจหา GGO
ที่เป็นมะเร็ง 9
อย่างไรก็ดีไม่มีลักษณะใดเลยที่สามารถแยก benign ออกจาก malignant
lesion ได้อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ มีเพียงบางลักษณะที่บอกแนวโน้มเท่านั้น โดย
ลักษณะที่เป็น persistence lesion เท่านั้นทีพ่ บว่ามีความแตกต่างของ malignant กับ
benign lesion อย่างชัดเจน
ปัจจุบนั ประเทศไทยยังไม่มีการนำา Low dose CT มาใช้ในการตรวจหามะเร็ง
ปอดระยะเริม่ ต้น (screening early lung cancer) จึงยังไม่มี lesion ที่เป็น GGO
nodule หรือ focal GGO พบอย่างแพร่หลาย
Reference:
1. Nakata et al; Focal Ground-Glass Opacity Detected by Low-Dose Helical CT.
CHEST 2002; 121:1464–1467
2. Chang M P, MD Nodular Ground-Glass Opacity at Thin-Section CT: Histologic
Correlation and Evaluation of Change at Follow-up. RadioGraphics 2007; 27:391–
408
3. Li et al, et al. Malignant versus Benign Nodules at CT Screening for Lung
Cancer: Comparison of Thin-Section CT Findings. Radiology 2004; 233:793–798
4. Gotway et al. High-Resolution CT of the Lung: Patterns of Disease and
Differential Diagnoses. Radiol Clin N Am 43 (2005) 513 – 542
5. Henschke CI, et al. CT screening for lung cancer: frequency and significance of
part-solid and nonsolid nodules. AJR Am J Roentgenol 2002; 178:1053–1057
6. Nakata, et al; Prospective Study of Thoracoscopic Limited Resection for
Ground-Glass Opacity Selected by Computed Tomography. Ann Thorac Surg
2003;75:1601– 6
7. J.-Y. Oh et al. Clinical significance of a solitary ground-glass opacity (GGO)
lesion of the lung detected by chest CT. Lung Cancer (2007) 55, 67—73
8. T. Ohtsuka et al. A clinicopathological study of resected pulmonary nodules
with focal pure ground-glass opacity. European Journal of Cardio-thoracic
Surgery 30 (2006) 160—163
9. H. Nomori et al. Evaluation of F-18 fluorodeoxyglucose (FDG) PET scanning
for pulmonary nodules less than 3 cm in diameter, with special reference to the CT
images. Lung Cancer (2004) 45, 19—27
10. Hasegawa and colleagues. Growth rate of small lung cancers detected on mass
CT Screening. The British Journal of Radiology, 73 (2000), 1252±1259
11. H. Y. Kim et al. Persistent Pulmonary Nodular Ground-Glass Opacity at Thin-
Section CT: Histopathologic Comparisons. Radiology 2007; 245:267–275
Quiz
* ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของ GGO nodule ใน Low-dose CT screening of the lung
cancer
1. GGO nodule ที่เป็น inflammatory lesion ส่วนใหญ่จะหายไปหลัง short interval
follow up
2. GGO nodule ทีพ่ บในผู้หญิง และคนไม่สูบบุหรี่ (non-smoker) มีแนวโน้มที่จะ
เป็นมะเร็งมากกว่า GGO nodule ที่พบในผู้ชาย และคนสูบบุหรี่
3. Persistence GGO nodule เกือบทุกรายเป็น tumor และครึ่งหนึ่งของ tumor เป็น
BAC (bronchioloalveolar carcinoma)
4. PET scan สามารถช่วยวินิจฉัย GGO nodule ที่เป็นมะเร็งได้ โดย lesion จะให้
ลักษณะ increased uptake
5. Nodule ที่เป็น Persistence GGO nodule เป็นลักษณะเดียวที่สามารถแยก benign
ออกจาก malignant nodule ได้อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ

Answer: 4
เขียนเมื่อ 20-02-2551
ไม่สงวนลิขสิทธิ์ แต่โปรดอ้างถึงผู้เขียนบทความด้วย

You might also like