Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 21

สถาบันการเงินที่รับผิดชอบตอสังคม7

(Responsible Financial Institutions)7

สรุปประเด็นสำคัญจากตางประเทศ6

ChangeFusion Ins/tute, Thai Rural Reconstruc/on Movement Founda/on under Royal Patronage  1 
เศรษฐกิจโลกวิกฤตในปนี้7
เกิดจากการปลอยสินเชื่อและการจัดการการเงิน7
ที่ไรความรับผิดชอบ7
ประเทศไทย GDP ติดลบ7

2
Responsible Financial Institutions6

สถาบันการเงินที่รับผิดชอบตอสังคมมีราคาหุนที่สูงกวาสถาบันฯที่ไมมีในสภาวะ
วิกฤตเศรษฐกิจ 21% (Insurance) 25% (financial services)7
ChangeFusion  3 
ประเด็นสำคัญที่เกี่ยวของ6

•  มาตรฐานหลักปฏิบัติสำคัญในโลก 7
•  การใหสินเชื่ออยางมีความรับผิดชอบ7
•  บทบาทของผูกำกับดูแล (regulators)7
•  ตัวอยางนวัตกรรมของภาคสถาบันการเงิน7

ChangeFusion  4 
Equator principle6
•  มาตรฐานที่ภาคการเงินทั่วโลกรวมตัวกันกำหนดขึ้นเพื่อการคำนึง
ถึงผลกระทบดานสังคมและสิ่งแวดลอมในการปลอยสินเชื่อ โดย
เฉพาะในโครงการขนาดใหญ7

•  มีหลักการเพื่อการปฏิบัติใชอยู 10 ขอ 7

•  กวา 67 สถาบันใน 27 ประเทศ ประกาศใช Equator principle 7

ChangeFusion  5 
10 Equator principle6

•  การตรวจสอบและการแยกประเภท - 3 ระดับ7
•  การประเมินทางสังคมและสิ่งแวดลอม 7
•  มาตรฐานสังคมและสิ่งแวดลอม 7
•  แผนการปฎิบัติการและระบบการจัดการ 7
•  ปรึกษาและการเปดเผย7

ChangeFusion  6 
10 Equator principle6

•  การรับคำรองทุกข 7
•  การตรวจสอบที่เปนอิสระจากองคกรอื่น 7
•  สัญญาหรือขอสอดคลองกับกฎหมายสังคมและสิ่งแวดลอมของ
ประเทศนั้นๆ 7
•  กระบวนการรายงานที่โปรงใส 7
•  รายงาน EPFIs ใหประชาชนทราบอยางนอยปละหนึ่งครั้ง7

ChangeFusion  7 
UNEP Finance Initiative6
•  Signatory membership ที่เนนการจัดการ Project financing ที่
คำนึงตอผลตอสังคม และสิ่งแวดลอมอยางเปนระบบ ทั้งภาคการ
เงิน การธนาคาร และประกันภัย7
•  170 สถาบันการเงิน - ธนาคารพาณิชย ประกันภัย กองทุนรวม
โดยเฉพาะในยุโรปและเอเชีย ไดแก ญี่ปุน เกาหลีใต สาธารณะรัฐ
ประชาชนจีน อินเดีย และออสเตรเลีย 7
•  สำหรับประเทศไทยมีเพียง 2 สถาบันการเงินที่เปนสมาชิกของ
UNEP FI ซึ่งก็คือ กรุงเทพประกันภัย และ TISCO Financial
Group 7

ChangeFusion  8 
UNEP Finance Initiative6

ChangeFusion  9 
การใหสินเชื่อที่มีความรับผิดชอบ (responsible lending)6

•  การใหบริการที่รับผิดชอบตอลูกคา โดยคำนึงถึงความสามารถในการผอน
ชำระคืนของลูกคา เพื่อปองกันไมใหประสบภาวะขาดสภาพคลองหรือ
ตองแบกรับสภาวะทางการเงินมากจนเกินไป อีกทั้งดูแลลูกคาอยางมี
ความรับผิดชอบตลอดกระบวนการจัดการสินเชื่อ7

ChangeFusion  10 
วิกฤตเศรษฐกิจและ RL7
•  การใหสินเชื่ออยางมีความรับผิดชอบ (Responsible lending –RL) นั้น
กำลังเปนกระแสสำคัญไปทั่วโลกทั้งในวงการสถาบันการเงินเองและใน
วงการการกำกับดูแล เชน 7

ธนาคารกลางสหรัฐฯไดออกกฏเกณฑเกี่ยวกับ RL เพื่อแกปญหาวิกฤต
Sub-prime ที่กำลังลามไปทั่วโลก7

11
วิกฤตเศรษฐกิจและ RL7
•  การที่สถาบันการเงินมีการใหสินเชื่ออยางมีความรับผิดชอบ หรือ Responsible Lending ยอม
สงผลให7
•  สรางสังคม เศรษฐกิจที่ยั่งยืน ซึ่งชวยใหสถาบันการเงินสามารถไดรับผลตอบแทนทาง
เศรษฐกิจคืนมา7
•  ดึงดูดลูกคาที่มีประสบปญหาทางการเงิน ใหเขามารับบริการของสถาบันการเงินมาก
ขึ้นแทนที่จะไปใชบริการ loan shark ในลักษณะตางๆ7
•  เสริมสรางความแข็งแรงของลูกคาในการผอนชำระหนี้ รวมทั้งลดภาวะความเสี่ยงของ
สถาบันการเงิน7
•  เปนสวนหนึ่งในการแกปญหาเศรษฐกิจสังคมของประเทศ7

12
กรณีศึกษา: ธนาคาร ANZ7

•  ANZ (Australia and New Zealand Banking Group Limited) ซึ่งเปน


สถาบันการเงินขนาดใหญในออสเตรเลียไดนำเอาประเด็นการใหสินเชื่อ
อยางมีความรับผิดชอบเขาไปเปนแนวทางการดำเนินกิจการ โดยได
ดำเนินกิจกรรมสำคัญตอไปนี้7

13
กรณีศึกษา: ธนาคาร ANZ7
–  ไมขยายสินเชื่อเพิ่มกับลูกคาที่มีรายไดประจำในลักษณะเงินบำนาญ และ
ลูกคาที่มีประวัติทางการเงินที่มีปญหา7
–  มีกลไกเขาไปใหการปรึกษากับลูกคาทั้งกอนและหลังประสบปญหา
ทางการเงิน และมีการชวยจัดการภาระหนี้ในหลากหลายลักษณะตาม
ความเหมาะสมของแตละราย7
–  มีนโยบายการใหขอมูลตางๆอยางชัดเจน ครบถวน และมีเครื่องมือใหลูกคา
คำนวนอัตราตางๆที่เกี่ยวของไดดวยตนเอง7
–  ใหความรูพื้นฐานทางการเงิน (financial literature) ใหกับลูกคาและชุมชน

14
RL ในมุมมองของลูกคา 7
• การใหขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความรูและ
• การแสดงความยินดี และการ การเตรียมความพรอมในการกูอยางถูกตอง7
แนะนำบริการอื่นๆที่เหมาะสมและ หาขอมูล7
• ใช Scorecard ในการพิจารณาใหสินเชื่อ7
สามารถพัฒนาฐานะความเปนอยูของ
ลูกคาได 7
• การแนะนำขอมูล
การปดภาระหนี้ และ
ตัดสินใจ7 สำคัญในการเลือก
การกูใหม7 สถาบันการเงิน และ
ขอเสนอที่ถูก
ประเภทที่เหมาะสม
ใหรูเทาทัน loan
shark 7
• การแนะนำหลักการ
• วิธีการผอนชำระที่ถูกตอง และ
ปลอยกู ขอพิจารณาตางๆ
เทคนิควิธีการ คำแนะนำตางๆ การผอนชำระ7 ขอยื่นกู 7 อยางโปรงใส และเทคนิค
เชน หากตกงาน เงิน short ควร
วิธีการลดความเสี่ยงตางๆ
จะติดตอสถาบันฯอยางไร และ ( my first loan)7
การดูแลลูกคาเมื่อประสบปญหา 7
15
บทบาทของผูกำกับดูแล (regulators) 6
•  รัฐบาล Australia , National Consumer Credit Protection Bill
และ The Australian Credit License (ACL)7

ChangeFusion  16 
บทบาทของผูกำกับดูแล (regulators) 6
•  The Federal Reserve Banks , H.R. 1728 Mortgage Reform
and Anti-Predatory Lending Act of 20097
•  U.S. Government, The Community Reinvestment Act นำไปสู
การลงทุนในชุมชนกวา 25.8 billion USD. ในป 2007 7

ChangeFusion  17 
ตัวอยางนวัตกรรมเพื่อสังคม6
ของภาคการเงิน6

ChangeFusion  18 
SRI direct investment case 1: 6
ResponsAbility Social Investment Services AG (Swiss) 6
•  USD 584 millions assets under management 7
•  Invest in various instruments globally linked to 7
–  Micro-finance7
–  Independent-media7
–  Fair-trade7
–  Social Enterprise7

ChangeFusion  19 
SRI direct investment case 2: 6
Aavishkaar Social Venture Capital (India) 6
•  USD 6 millions assets under management7
•  30% IRR 7
•  Invest in early stage micro social enterprises focusing on 7
–  Grassroots technology7
–  Sustainable agriculture7
–  Bottom-of-the-pyramid (BOP) products & services7

ChangeFusion  20 
Sustainable Banking: 6
Triodos Bank6
•  USD 5,207 millions assets under management7
•  Sustainable banking specialist in the Netherlands & UK7
•  Sustainable projects financing7
•  Social enterprise financing7

ChangeFusion  21 

You might also like