Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 5

เซลล์เช้อ

ื เพลิง Fuel Cell


ความหมาย

เซลล์เชื้อเพลิง เป็นกัลวานิกเซลล์ (galvanic cell) ที่ทำาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้า


โดยอาศัยกระบวนการทางไฟฟ้าเคมี (electrochemical)
เซลล์เชื้อเพลิงแตกต่างจากแบตเตอรี่อย่างไร
1. เซลล์เชื้อเพลิงใช้แก๊สออกซิเจนกับไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิง เมื่อใช้แก๊สหมด ต้องเติมเชื้อเพลิงเข้าไปเรื่อย
ๆ ปฏิกิริยาในเซลล์ไม่ย้อนกลับ แต่การอัดแบตเตอรี่เป็นการทำาให้ปฏิกิริยาในเซลล์ย้อนกลับ
2. เซลล์เชื้อเพลิง เก็บพลังงานเคมีไว้ไม่ได้ จึงเป็นเซลล์กัลวานิกแบบปฐมภูมิ เนื่องจากสารตั้งต้นต้องผ่านเข้า
เซลล์ตลอดเวลาและสารผลิตภัณฑ์ต้องผ่านเข้าออกเซลล์ตลอดเวลา แต่แบตเตอรี่สามารถเก็บพลังงานเคมีไว้ได้

หลักการทำางาน
องค์ประกอบสำาคัญของเซลล์เชื้อเพลิง ได้แก่
แอโนด (anode) เป็นขั้วไฟฟ้าที่ให้ประจุลบกับเซลล์เชื้อเพลิง มีหน้าที่ส่งผ่านประจุอิเล็กตรอนหรือ
ประจุไฟฟ้าลบออกไปทางขั้วไฟฟ้า เมื่อต่อสายไฟกับขั้วไฟฟ้า ประจุไฟฟ้าจะไหลออกไป ส่วนแก๊สไฮโดรเจนที่ถูกดึง
อิเล็กตรอนออกไป จะแสดงประจุบวก เรียกว่า โปรตอน
แคโทด (Cathode) เป็นขั้วไฟฟ้าที่ให้ประจุบวกกับเซลล์เชื้อเพลิง มีหน้าที่ต่อเข้ากับสายไฟภายนอก
รับอิเล็กตรอนมารวมกับอะตอมของแก๊สออกซิเจนกับไฮโดรเจนกลายเป็นโมเลกุลของนำ้า
อิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) ทำาจากวัสดุต่าง ๆ เช่น สารละลาย, แผ่นพลาสติก มีหน้าที่คือยอมให้
ประจุบวกหรือโปรตอนเคลื่อนที่ผ่าน
เซลล์เช้อ
ื เพลิงประกอบด้วยขัว้ไฟฟ้ า 2 ขัว้คือขัว้แอโนด(ขัว้ลบ) และขัว้แคโทด(ขัว้บวก)
รอบสารละลายอิเล็กโทรไลต์
ท่ีขัว้แอโนด ให้แก๊สไฮโดรเจนเข้าไป แก๊สไฮโดรเจนแพร่ผ่านแอโนด แก๊ส
ไฮโดรเจนถูกเร่งด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาให้ไฮโดรเจนไอออนกับอิเล็กตรอน อิเล็กตรอนถูก
ส่งผ่านเข้าไปในสายไฟ เกิดกระแสไฟฟ้ า จากนัน ้ เคล่ ือนท่ีไปยังขัว้แคโทด ดังสมการ

2H2 4H++ 4e-


ท่ีขัว้แคโทด ให้แก๊สออกซิเจนจากอากาศเข้าไปท่ีขัว้แคโทด เม่ ือไฮโดรเจน
ไอออนกับอิเล็กตรอนซ่ึงเคล่ ือนท่ีมายังขัว้แคโทดทำาปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนจาก
อากาศท่ีให้เข้าไปเกิดเป็ นโมเลกุลของน้ำา โดยอาศัยตัวเร่งปฏิกิริยาซ่ึงทำาจากแพลตินัม
จะเกิดปฏิกริ ิยารีดักชันได้น้ำาบริสุทธิอ์อกมา ดังสมการ
4H+ + 4e- + O2 2H2O
แรงดันไฟฟ้ าท่ีได้ต่อหน่ึงเซลล์มค
ี ่าประมาณ 1 โวลต์และได้กระแสออกมา
ประมาณ 10 แอมแปร์ ซ่ึงถ้านำามาต่ออนุกรมกัน (fuel cell stack) 12 เซลล์ ก็จะ
ได้แรงดันไฟฟ้ า 12 โวลต์เหมือนกับแบตเตอร่ี ปฏิกิริยารวมของเซลลเช้ือเพลิงเป็ นการ
รวมตัวของไฮโดรเจนและออกซิเจนเกิดเป็ นน้ำา ดังสมการ

2H2 + O2 2H2O

เราสามารถแบ่งประเภทของเซลล์เชื้อเพลิงออกได้ดังนี้
1. เซลล์เชื้อเพลิงชนิดเยือ่ แลกเปลี่ยนโปรตอน (proton exchange membrane
fuel cell)
2. เซลล์เชื้อเพลิงแบบแอลคาไลน์ (alkaline fuel cell)
3. เซลล์เชื้อเพลิงแบบกรดฟอสฟอริก (phosphoric acid fuel cell)
4. เซลล์เชื้อเพลิงแบบออกไซด์แข็ง (solid oxide fuel cell)
5. เซลล์เชื้อเพลิงแบบคาร์บอเนตหลอมเหลว (molten carbonate fuel cell)

ตารางสรุปเซลล์แต่ละประเภท
ทำำงำนท่ี
ประเภทของ อิเล็กโทรไลต์ อุณหภูมิ( กำรประยุกต์ ข้อดี ข้อเสีย
เซลล์เช้ือเพลิง °C)
- ไม่ต้องใช้
- การขนส่ง เวลา
- ยานพาหนะ อุน ่ เคร่ ือง
- โรงไฟฟ้ า - ใช้อุณหภูมิ - ไวต่อเช้ือ
เย่ ือแลกเปล่ียน
พอลิเมอร์ 60 - 80 - อุปกรณ์ ต่ำา เพลิงท่ีมี
โปรตอน
ไฟฟ้ าท่ี - ไม่มีปัญหา ส่งิ ปนเป้ือน
เคล่ ือนย้ายได้ การสึกกร่อน
สะดวก ของอิเล็กโทร
ไลต์
แอลคาไลน์ โพแทสเซียม- 90 - - การขนส่ง - ปฏิกริ ิยาท่ี
ไฮดรอกไซด์( 100 - การทหาร แอโนด
KOH) - ยานอวกาศ เกิดขึ้นอย่าง
- เรือดำาน้ำา รวดเร็ว
- ใช้ Pt ซ่ึงมี
- ประสิทธิภาพ ราคาแพง
- การขนส่ง
กรดฟอสฟอริ 85% เป็ นตัวเร่ง
175 - - โรงไฟฟ้ า
กรดฟอสฟอริก ก - ใช้ H2 ท่ีมี ปฏิกิริยา
200 แบบ
(H3PO4) ส่ิงเจือปนเป็ น - ให้กระแส
ความร้อนร่วม
เช้ือเพลิงได้ ไฟฟ้ าน้อย
- ขนาดใหญ่
- ใช้อุณหภูมิ
สูงทำาให้
- ประสิทธิภาพ
เกิดการสึก
โซเดียม - โรงไฟฟ้ า สูง
คาร์บอเนต 600 - กร่อนและ
คาร์บอเนต แบบ - ปรับชนิดของ
หลอมเหลว 800 สารประกอบ
(Na2CO3) ความร้อนร่วม เช้ือเพลิงได้
ของ
หลายแบบ
เซลล์เช้อื เพลิง
เสียไป
- ใช้อุณหภูมิ
สูงทำาให้
- ประสิทธิภาพ
เกิดการสึก
เซอร์โคเนียม- - โรงไฟฟ้ า สูง
600 - กร่อนและ
ออกไซด์แข็ง ออกไซด์ แบบ - ตัวเร่ง
1000 สารประกอบ
(ZrO2) ความร้อนร่วม ปฏิกริ ิยา
ของ
ราคาถูก
เซลล์เช้อ ื เพลิง
เสียไป

ข้อดี

- เป็ นแหล่งพลังงานสะอาด
- ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ
- เป็ นเช้อ
ื เพลิงในยานอวกาศ
– ผลิตไฟฟ้ า
– น้ำาด่ ืมสำาหรับนักบินอวกาศ ผลิตภัณฑ์ของปฏิกร ิ ิยาคือไอน้ำา เม่ ือกลัน
่ ตัวแล้วใช้
เป็ นน้ำาด่ ืมให้นก
ั บินอวกาศด่ ืม
- ประสิทธิภาพสูง เซลล์เช้อ ื เพลิงมีประสิทธิภาพสูงถึง 70% ประมาณ 2 เท่า
ของประสิทธิภาพของเคร่ ืองยนต์ชนิดเผาไหม้ภายใน
- ปราศจากเสียง การสัน ่ สะเทือนและการถ่ายเทความร้อน

You might also like