01 เงินทองต้องใส่ใจ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 29

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

1 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

"..การจะเปนเสือนั้นไมสําคัญ
สําคัญอยูที่เราพออยูพอกิน
และมีเศรษฐกิจการเปนอยูแบบพอมีพอกิน
แบบพอมีพอกินหมายความวา อุมชูตัวเองได
ใหมีพอเพียงกับตัวเอง.."

ที่มา : พระราชดํารัส พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ภูมิพลอดุลยเดช


วันที่ 4 ธ.ค. 2540

2 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง คือ การดํารงชีวิตที่ตั้งอยูบนพื้นฐาน
ของทางสายกลาง และความไมประมาท
โดยคํ า นึงถึ งความพอประมาณ ความมี เ หตุ ผล และ
การสรางภูมิคุมกันที่ดีในตัว
ตลอดจนใชความรู
ความรู และคุ
และคุณธรรม ประกอบการวางแผน
การตัดสินใจ และการกระทํา

3 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

1
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

เศรษฐกิจพอเพียง ตอ...
กลาวงายๆ คือ...
• ความพอประมาณ Æ ความพอดีที่ไมมาก/ าก/นอยจนเกินไป
โดยไมเบียดเบียนตนเอง และผูอื่น
• ความมี เ หตุ ผ ล Æ การตั ด สิ น ใจอย า งมี เ หตุ ผ ล และ
คํานึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นอยางรอบคอบ
• การสร า งภู มิ คุ ม กั น ที่ ดี ใ นตั ว Æ การเตรี ย มตั ว รั บ กั บ
ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น
4 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

เศรษฐกิจพอเพียง ตอ...
ความรู Æ ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตางๆ ที่เกี่ยวของ
อยางรอบดาน ตลอดจนความรอบคอบที่จะนําความรูนั้น
มาเชื่ อ มโยงกั น เพื่ อ ประกอบการวางแผน และความ
ระมัดระวังในการปฏิบัติ
คุ ณ ธรรม Æ ความตระหนั ก ในคุ ณ ธรรม ความซื่ อ สั ต ย
สุ จ ริ ต ความอดทน ความเพี ย ร และใช ส ติ ป ญ ญาในการ
ดําเนินชีวิต

5 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ
เป น ปรั ช ญาชี้ ถึ ง แนวการดํ า รงอยู แ ละปฏิ บั ติ ต นของ
ประชาชนในทุกระดับ ซึ่งมีความเกี วามเกี่ยวของทั้งทางเศรษฐกิจและ
จิตใจ โดยมีจุดมุงหมายดังนี้
1. ใหสามารถพึ่งพาตนเองได
2. ใหพนจากความยากจน
3. ใหพอมีพอกินและมีสัมมาอาชีพ
4. ใหมีชีวิตที่เรียบงาย ประหยัด ไมฟุงเฟอ ฟุมเฟอย
5. ใหยึดถือทางสายกลาง รูจักพอ พอดี และพอใจ
6 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

2
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

แนวทางการใชชีวิตภายใตเศรษฐกิจพอเพียง
ประกอบอาชีพดวยความถูกตองสุจริต
เลิกการแกงแยงผลประโยชน
ขวนขวาย ใฝหาความรูใหเกิดมีรายไดเพิ่มพูนขึ้น
การปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งชั่วใหหมดสิ้นไป
ประหยัด ตัดทอนคาใชจายทุกดาน ลดละความฟุมเฟอย
ในการดํารงชีพอยางจริงจัง
7 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ
ตองเริ่มจากตนเอง โดยเริ่มจากใจที่รูจักพอ

8 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

9 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

3
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

นํารอง
มนุษยกับความเครียด
สาเหตุที่ทําใหมนุษยเกิดความเครียด
จาก…???
ปญหาการเงินเกิดจาก…
ปญหาทางการเงินสงผลอยางไรตอชีวิต
สัญญาณเตือนวาคุณกําลังมีปญหาการเงิน
ทําไมไมวางแผนทางการเงิน....???
เสนทางสูความมั่งคั่ง...ด
...ดวยการวางแผนทางการเงิน
Workshop เช็คสุขภาพทางการเงิน
10 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

มนุษยกับความเครียด
ความเครียด หมายถึง ปฏิกิริยาของรางกายและจิตใจ
ที่มีตอสิ่งที่มากระตุน
จากผลการสํารวจพบวา...
บุคคลทั่วๆ ไป
• รูสึกเครียดกับปญหาตางๆ 98.1%
• ไมรูสึกเครียดเลย 1.9%

11 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

สาเหตุที่ทําใหมนุษยเกิดความเครียด
ปญหาการเงิน การใชจาย หนี้สิน 58%
58%
สภาพการจราจร รถติด 43.5%
43.5%
สภาพแวดลอม มลภาวะเปนพิษ 31.3%
31.3%
แฟน คูรัก 25.6%
25.6%
ปญหาครอบครัว 25%
25%
(ตอบไดมากกวา 1 ขอ)
ที่มา : สํานักวิจัยเอแบคโพลล มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
12 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

4
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

ปญหาการเงินเกิดจาก…???
สาเหตุหลักๆ ที่ทําใหเกิดปญหาการเงิน ไดแก......
• ผลัดวันออม

• ใชจายอยางฟุมเฟอย

• ขาดเงินออมเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน

• ขาดการวางแผนการใชจายเงิน ฯลฯ

13 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

ปญหาทางการเงินสงผลอยางไรตอชีวิต
ตนเอง สุขภาพกาย และสุขภาพจิต
ครอบครัว ความขัดแยงในครอบครัว
การทะเลาะวิวาท
การทํางาน ไมมีสมาธิในการทํางาน
ประสิทธิภาพในการทํางานลดลง
ความสัมพันธกับผูร วมงานลดลง
14 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

สัญญาณเตือนวาคุณกําลังมีปญหาการเงิน
รายไดเริ่มไมเพียงพอกับรายจาย
ใบแจงหนี้ของเดือนถัดไปมาแลว
โดยที่คุณยังไมไดชําระของเดือนนี้
คุณเคยไดรับหนังสือบอกกลาวเตือน
การชําระเงินลาชามาแลว
ใบแจงยอดบัญชีบัตรเครดิตของคุณ
มียอดที่ชําระเงินลาชา ฯลฯ
15 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

5
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
ทําไมไมวางแผนทางการเงิน....???
บุคคลที่ไมมีการวางแผนทางการเงิน หรือวางแผนทางการเงินไมดพ
ี อ
สวนใหญจะมาจากเหตุผลตอไปนี้
™ คิดวาตนเองมีฐานะการเงินมั่นคงดีอยูแลว
™ คิดวาตัวเองมีรายไดเพียงพอสําหรับภาระคาใชจา ยรายวันแลว
™ ลืมไปวาตัวเองอาจมีโอกาสเจอกับมรสุมชีวิตบางในอนาคต เชน การวางงาน
ประสบอุบัติเหตุ เสียชีวิต เปนตน
™ ไมมีเวลาที่จะจัดทําแผนการเงินของตนเอง
™ คิดวาการวางแผนการเงินเปนเรื่องที่มีคา ใชจายสูง
™ คิดวาการวางแผนการเงินเหมาะสําหรับผูทใี่ กลเกษียณอายุเทานัน้
™ คิดวาการฝากเงินในธนาคารนั้นไมมีความเสี่ยง
16 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

เสนทางสูความมั่งคั่ง…ดวยการวางแผนทางการเงิน

1. กําหนดเปาหมายในการดําเนินชีวติ และเปาหมาย
ทางการเงิน
2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของกับการวางแผนทางการเงิน
3. ลงมือวางแผนทางการเงินเปนลายลักษณอักษร
4. นําแผนทางการเงินไปปฏิบัติ และทบทวน
อยางสม่าํ เสมอ
17 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

1. กําหนดเปาหมายในการดําเนินชีวิต
และเปาหมายทางการเงิน
กอนกําหนดเปาหมาย คุณควรประเมิ
ควรประเมินความตองการ
ของตนเองเสียกอน เชน
ประเมินสถานการณทางการเงินในปจจุบันของคุณ
ทํารายการแยกระหวาง “สิ่งที่อยากได” และ “จําเปนตองมี”
คาดการณถึงสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตวาดีขึ้นหรือแยลง?
ง?
คิดวาสิ่งนี้มีความสําคัญอยางแทจริงสําหรับคุณหรือไม?
18 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

6
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
1. กําหนดเปาหมาย :

เปาหมายในการดําเนินชีวิต

นําสิ่งที่ “จําเปนตองมี” มากําหนด


เปนเปาหมายกอน
แตละเปาหมายตองระบุผลลัพธไว
อยางชัดเจน
อาจมี ทั้ ง เป า หมายระยะสั้ น และ
ระยะยาวก็ได

19 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
1. กําหนดเปาหมาย :

เปาหมายทางการเงิน
กําหนดเปาหมายทางการเงินดวยหลัก SMART
S Specific

Time bound T M Measurable

Realistic R A Accountable
20 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
1. กําหนดเปาหมาย :

เปาหมายทางการเงิน ตอ...
S : ชัดเจน รูวาตองการอะไร และจะบรรลุเปาหมายตอนไหน
M : วัดผลได รูวาใกลจะถึงเปาหมายแลวหรือยัง
A : ทํ า สํ า เร็ จ ได รู ว า จะทํ า อย างไรให บ รรลุ ผ ลตามเป า หมาย
ที่วางไว และมีความรับผิดชอบในการทําใหสําเร็จ
R : สามารถบรรลุผลได ตั้งเปาหมายอยางสมเหตุสมผล และ
สามารถทําใหเกิดผลขึ้นจริงได
T : มีกําหนดเวลา มีกําหนดเวลาที่ชัดเจน แนนอน
21 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

7
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของกับการวางแผนทางการเงิน

• ชวงอายุ (Life
(Life Cycle)

• รายไดที่จะไดรับ (Revenue)
(Revenue)

• รายจาย (Expenses)

22 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ :

ชวงอายุ (Life Cycle)


รายได

ชวงที่มีรายไดสูง

รายจาย

ชวงใชจายเงินหลังเกษียณ

ชวงหารายไดและสะสมทรัพย
อายุ
วัยศึกษา วัยทํางาน วัยเกษียณ
23 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ :

รายไดที่จะไดรับ (Revenue)

24 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

8
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ :

รายจาย (Expenses)
คาใชจายที่สําคัญ ไดแก
คาใชจายเพื่อการอุปโภคบริโภค
เงินสํารองเผื่อฉุกเฉิน
ภาระหนี้สิน
คาใชจายเพื่อประกันความเสี่ยง
จากภัยตางๆ
เงินสําหรับแผนการในอนาคต
25 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ : รายจาย

คาใชจายเพื่อการอุปโภคบริโภค
คือ คาใชจายในชีวิตประจําวันของแตละครอบครัว เชน
• คาไฟฟา / น้ําประปา / โทรศัพท
• คาอาหาร
• คาพาหนะ / คาเดินทาง
• คาใชจายเบ็ดเตล็ดในบาน
• คาเสื้อผา / เครื่องแตงตัว / เครื่องประดับ
• คาพักผอน / บันเทิง ฯลฯ
26 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ : รายจาย

เงินสํารองเผื่อฉุกเฉิน
ควรมีเงินสํารองเผื่อฉุกเฉินประมาณ 3 – 6 เทาของ
เงินคาใชจายประจําที่เปนอยูในขณะนั้น
เก็บเงิ นสํารองเผื่อฉุ กเฉินไวในรูปของเงิ
ของเงิ นฝากธนาคาร
หรื อ ลงทุ น ใน กองทุ น รวมตราสารหนี้ ทีท่ ีมี อ ายุ เ ฉลี่ ย
สั้นที่สุดและความเสี่ยงต่ําที่สุด เชน กองทุนรวมตลาดเงิน
(Money Market Fund)
Fund) เปนตน

27 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

9
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ : รายจาย

ภาระหนี้สิน
รูหรือไม...อย
...อยางไรจึงจะเรียกวาไมกูเกินตัว
• จํานวนหนี้ที่ตองชําระไมควรเกิน 10% ของรายไดสุทธิ
ตอเดือน หรือไมเกิน 20% ของรายไดสุทธิตอป
• ไมนับรวมสินเชื่อเพือ่ ทีอ่ ยูอ าศัยไวในการคํานวณ
ใหคิดแตหนี้สินสวนอื่นๆ เชน บัตรเครดิต คาผอนรถยนต

28 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ : ภาระหนี้สิน

แหลงที่มาของหนี้ที่กอใหเกิดปญหา
1. หนี้จากบัตรเครดิต
2. การผอนบาน / รถยนต
3. สินเชื่อสวนบุคคล
4. การซื้อสินคาเงินผอน
5. การใชจายโดยไมวางแผนลวงหนา
6. การเมินเฉยตอแผนการเงินที่วางไว
29 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ : รายจาย

คาใชจายเพื่อประกันความเสี่ยงจากภัยตางๆ
การประกันชีวิต (Life insurance)
ƒ คือ วิธีการที่คนกลุมหนึ่งรวมตัวกันขึ้น เพื่อชวยกัน
เฉลี่ยภัย อันเนื่องมาจากการตาย การสูญเสียอวัยวะ
และการพิการ
ƒ การทดแทนการสูญเสียรายได

30 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

10
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ : ประกัน

การประกันชีวิต VS ประกันวินาศภัย

1. การประกันชีวิต ใชเงินจํานวนหนึ่ง
ให ตามจํานวนทุนประกัน
2. การประกั น วิ น าศภั ย ใช ค า สิ น ไหม
ทดแทนให ตามความเสี ย หายจริ ง
แตไมเกินทุนประกันฯ

31 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ : ประกัน

ประเภทกรมธรรมประกันชีวิต
แบ ง ตามลั ก ษณะการคุ ม ครอง และผลประโยชน
ออกเปน 4 ประเภท ไดแก
1. แบบชั่วระยะเวลา (Term
(Term Insurance)
2. แบบตลอดชีพ (Whole
(Whole--life Insurance)
3. แบบสะสมทรัพย (Endowment
(Endowment Insurance)
4. แบบเงินไดประจํา (Annuity Insurance)
32 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ : ประกัน

การประกันชีวิตกับการฝากเงินในธนาคาร
การประกันชีวิต
การฝากเงิน
แบบสะสมทรัพย
การออม +
ประโยชนของผูออม การออม
ความคุมครอง
สภาพคลอง สูง ต่ํา

วิธีคิดอัตราดอกเบี้ย ทบตน คงที่


(ปรับตามอัตราดอกเบี้ยในตลาด)
ในตลาด) (ตลอดอายุกรมธรรม)

33 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

11
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ : รายจาย

เงินสําหรับแผนการในอนาคต
เปนเงินออมที่จะทําใหเปาหมายในอนาคตบรรลุผล โดย
จะเปนเงินออมคนละสวนกับเงินสํารองเผื่อฉุกเฉิน เชน
• การศึกษาบุตร / ตนเอง
• ซื้อบาน / รถยนต
• คาใชจายเลี้ยงชีพเมื่อยามชราหรือเกษียณอายุ
• เงินออมเพื่อใชลงทุนในกิจการสวนตัว ฯลฯ
34 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ : แผนการในอนาคต
ตัวอยาง คาใชจายเพื่อการศึกษา
ในประเทศ *
ระดับชั้น ตางประเทศ **
รัฐบาล เอกชน นานาชาติ
กอนประถมศึกษา เสียเฉพาะ 105,000 -
ประถมศึกษา คาหนังสือ 270,000 -
คาอุปกรณ และ
มัธยมตน 400,000
คาบํารุงการศึกษา
มัธยมปลาย / ประมาณ 378,000 1,200,000
อาชีวศึ
วศึกษา
กษา 45,000 บาท
ปริญญาตรี 96,000 270,000 307,000
1,500,000
ปริญญาโท 220,000 300,000 317,000
* อัตราคาเลาเรียนในประเทศ เปนอัตราคาเลาเรียนจนสําเร็จการศึกษาในแตละระดับชั้น (รวมคาหนังสือ คาอุปกรณการเรียน
และคาบํารุงการศึกษา )
** อัตราคาเลาเรียนตางประเทศ ไมรวมคาใชจายสวนตัว
35 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
2. ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ : แผนการในอนาคต
ตัวอยาง คาใชจายเพื่อการศึกษา
คอรสปกติ * คอรสติว/
เรียนพิเศษ/กวดวิชา
สอนสด วิดีโอ เอนทรานซ *
ฟสิกส 2,900 2,500 4,700
เคมี 1,900 n.a 4,000
ชีววิทยา 4,000 3,600 3,800
อังกฤษ 2,800 2,250 4,000
คณิตศาสตร 2,900 2,650 5,900
ไทย-
ไทย-สังคม 3,150 3,000 4,200
ศิลปะ 2,750 - 5,000
* อัตราคาเรียนเฉลี่ยของสถาบันกวดวิชาตางๆ
36 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

12
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

3. ลงมือวางแผนทางการเงินเปนลายลักษณอักษร

• การวิเคราะหมูลคาทรัพยสินสุทธิ
(Net Worth Analysis)
Analysis)
• การวิเคราะหกระแสเงินสด
(Cash Flow Analysis)
Analysis)

37 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
3. ลงมือวางแผนทางการเงิน :

การคํานวณมูลคาทรัพยสินสุทธิ (Net Worth Analysis)


• เปนการวิเคราะหสถานะทางการเงิน
ของบุคคล
• บอกถึ งมู ล ค า ทรั พย สิ น ที่ มี เ หลื อ อยู
ทั้งหมดเมื่อหักหนี้สินเรียบรอยแลว
• ใชในการวางแผนทางการเงิน เพื่อให
บรรลุเปาหมายที่วางไวได
38 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
3. ลงมือวางแผนทางการเงิน :
สินทรัพย (Asset) หนี้สิน (Debt)
หลักทรัพย รายไดรับลวงหนา ……..
…….. บาท
เงินสด เงินฝาก ……..
…….. บาท คาใชจายคางจาย ……..
…….. บาท
เงินออมเพื่อภาระผูกพันในอนาคต ……..
…….. บาท สินเชื่อที่อยูอาศัย/อสังหาริมทรัพย …..…
..… บาท
หุน/พันธบัตร/ ร/กองทุนรวม ……..
…….. บาท สินเชื่อรถยนต ….…. บาท
อสังหาริมทรัพย ……..
…….. สินเชื่อบุคคล/
คล/บัตรเครดิต ….…. บาท
บาน/
น/ที่อยูอาศัย (ราคาประเมิน) ……..
…….. บาท สินเชื่อเพื่อการศึกษา ….…. บาท
เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย ……..
…….. บาท สินเชื่ออื่นๆ บาท
ธุรกิจสวนตัว ……..
…….. หนี้สินรวม บาท
หุนสวน ……..
…….. บาท
ลูกหนี้/ดอกเบีย้ คางรับ/รายไดคางรับ ……..
…….. บาท มูลคาสินทรัพยสุทธิ (Net worth)
สินทรัพยสวนตัว ……..
…….. สินทรัพยรวม ( – ) .…….
……. บาท
เงินลงทุนประกันชีวิต ……..
…….. บาท หนี้สินรวม บาท
รถยนต/รถจักยานยนต ……..
…….. บาท สินทรัพยสุทธิของคุณ บาท
ของสะสม บาท
สินทรัพยรวม บาท
39 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

13
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
3. ลงมือวางแผนทางการเงิน :

การวิเคราะหกระแสเงินสด
(Cash Flow Analysis)
• เป น การคาดการณ ก ระแสเงิ น สดทั้ ง รายรั บ และรายจ า ย
ในปจจุบันและอนาคต
การวางแผนการเงินโดยการประมาณการกระแสเงินสด
อยางงายๆ โดยใชตัตวั อยางแบบฟอรมตอไปนี้ จะชวยวิเคราะห
กระแสเงินสดของคุณในชวงเวลา 3 ป

40 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
3. ลงมือวางแผนทางการเงิน :

ขั้นตอนที่ 1 รวมรายไดที่ไดรับทั้งหมด
รายเดือน รายป ประมาณการ
รายได
(บาท) (บาท) ระยะเวลา 3 ป
1. เงินเดือน/
น/คาจาง/
ง/รายไดสุทธิจากการคาขายของคุณ
2. เงินเดือน/
น/คาจาง/
ง/คาขายของคูสมรส (ถามี)
3. เงินโบนัส
4. เงินปนผลจากการลงทุนในหุน
5. ดอกเบี้ยรับจากเงินฝาก/
ฝาก/พันธบัตร/ ร/หุนกู
6. รายไดอื่นๆ (คาเชา คาเลี้ยงดูจากลูกหลาน ฯลฯ)
ฯลฯ)
7. รายไดรวม ( = 1 + 2 + …. + 6)

41 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
3. ลงมือวางแผนทางการเงิน :

ขั้นตอนที่ 2 เงินที่มีการจัดสรรไวเพื่อเก็บออมและลงทุน
รายเดือน รายป ประมาณการ
เงินที่มีการจัดสรรไวเพื่อเก็บออมและลงทุน
(บาท) (บาท) ระยะเวลา 3 ป
8. เงินฝากธนาคาร (ฝากออมทรัพย/ประจํา)
9. เงินลงทุนในหุน หุนกู พันธบัตร หรือหลักทรัพยอื่น
10.
10. เงินลงทุนในกิจการสวนตัว
11. เงินที่เก็บออมและลงทุนรวม ( = 8 + 9 + 10)

42 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

14
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
3. ลงมือวางแผนทางการเงิน :

ขั้นตอนที่ 3 หักคาใชจายประจํา
รายเดือน รายป ประมาณการ
คาใชจายประจํา
(บาท) (บาท) ระยะเวลา 3 ป
12.
12. คาเชาบาน
13.
13. คาน้ําประปา
14. คาไฟฟา
15. คาโทรศัพท (โทรศัพทบาน เพจเจอร และมือถือ)
16. คาอาหาร
17. คาพาหนะ/
พาหนะ/คาเดินทาง (คาน้ํามัน/คาผานทาง
พิเศษ)
ศษ)
18. คาใชจายเบ็ดเตล็ดในบาน (สบู ผงซักฟอก เปนตน)
43 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
3. ลงมือวางแผนทางการเงิน :

ขั้นตอนที่ 3 หักคาใชจายประจํา ตอ...


รายเดือน รายป ประมาณการ
คาใชจายประจํา
(บาท) (บาท) ระยะเวลา 3 ป
19. คาเสื้อผาเครื่องแตงตัว เครื่องประดับ เครื่องสําอาง
20.
20. คาพักผอน (ดูหนัง ฟงเพลง ทองเที่ยว เปนตน)
21.
21. คาหนังสือพิมพ นิตยสาร สิ่งพิมพตางๆ
22.
22. คาเหลาสุรา บุหรี่ ลอตเตอรี่ หวย และ...
และ... เปนตน
23.
23. คาเลาเรียนบุตร/ ร/การศึกษาตอของตนเอง
24.
24. คาเลี้ยงดูบุพการี
25.
25. คาใชจายอื่นๆ
26. คาใชจายรวม ( = 12 + 13 + …. + 25)
44 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
3. ลงมือวางแผนทางการเงิน :

ขั้นตอนที่ 4 ภาระหนี้สินที่จําเปน (ถามี)


รายเดือน รายป ประมาณการ
ภาระหนี้สิน
(บาท) (บาท) ระยะเวลา 3 ป
27. คาผอนบาน คอนโด ที่ดิน
28.
28. คาผอนรถยนต/รถจักรยานยนต
29.
29. คาผอนชําระหนี้เงินกูซื้อสินคาผอนสง
30.
30. คาผอนชําระหนี้บัตรเครดิต
31.
31. คาผอนชําระหนี้เงินกูสวนตัว ที่ไมไดกูจากธนาคาร
32.
32. หนี้สินอื่นๆ
33. หนี้สินรวม ( = 27 + 28 + …. + 32)

45 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

15
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
3. ลงมือวางแผนทางการเงิน :

ขั้นตอนที่ 5 คาเบี้ยประกันภัยตางๆ (ถามี)


รายเดือน รายป ประมาณการ
คาใชจายเพื่อประกันความเสี่ยงจากภัยตางๆ
(บาท) (บาท) ระยะเวลา 3 ป
34.
34. คาเบี้ยประกันอัคคีภัย
35. คาเบี้ยประกันภัยรถยนต/รถจักรยานยนต/พ.ร.บ.
36. คาเบี้ยประกันชีวิตตนเอง/
ตนเอง/คูสมรส/
มรส/บุตร
37. คาเบี้ยประกันภัยอื่นๆ
38. คาใชจายเพื่อการประกันภัยรวม
( = 34 + 35 + …. + 37)

46 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
3. ลงมือวางแผนทางการเงิน :

ขั้นตอนที่ 6 เช็คสถานะทางการเงิน
รายเดือน รายป ประมาณการ
สถานะ
(บาท) (บาท) ระยะเวลา 3 ป
39.
39. รายได (7)
40. หัก เงินออมและเงินลงทุน (11)
41. หัก คาใชจายประจํา (26)
42. หัก ภาระหนี้สิน (33)
43. หัก คาประกันภัยตางๆ (38)
44. เงินเหลือใช ( = 39 - 40 - 41 - 42 - 43)

47 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
3. ลงมือวางแผนทางการเงิน :

ขั้นตอนที่ 7 แผนการเก็บออมเงินเพื่อใชจายในอนาคต
รายเดือน รายป ประมาณการ
แผนการเก็บออมเงินเพื่อใชจายในอนาคต
(บาท) (บาท) ระยะเวลา 3 ป
45.
45. เงินดาวน/เงินเพื่อซื้อบาน คอนโด ที่ดิน
46.
46. เงินดาวน/เงินเพื่อซื้อรถยนต/รถจักรยานยนต
47.
47. คาเลาเรียนตอของบุตร/ ร/ตนเอง
48.
48. คาใชจายเลี้ยงชีพเมื่อยามชราหรือเกษียณอายุ
49.
49. คาใชจายในการทองเที่ยวตางประเทศ
50.
50. เงินเก็บออมเพื่อใชลงทุนในกิจการสวนตัว
51. แผนการเก็บออมเพื่ออนาคตรวม
( = 45 + 46 + … + 50)
48 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

16
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
3. ลงมือวางแผนทางการเงิน :

ขั้นตอนที่ 8 ตรวจสอบความเปนไปได
ของเปาหมายที่วางแผนไว
รายเดือน รายป ประมาณการ
ความเปนไปไดของเปาหมายที่วางแผนไว
(บาท) (บาท) ระยะเวลา 3 ป
52. ตองหารายไดเพิ่มเติม
53. ตองลดรายจายบางสวนแลวนําไปลงทุน
54.
54. ตองกูยืมเงินมาใชกอนและผอนชําระคืนภายหลัง
55. รายไดเพื่อบรรลุเปาหมายรวม ( = 52 + 53 +
54)
ความสมดุลของรายไดรายจายทั้งสิ้น (เทากับศูนย)
( = 44 - 51 + 55 = 0)
49 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

4. นําแผนการเงินไปปฏิบัติ และทบทวนอยางสม่ําเสมอ
กรณีรายรับ < รายจาย
รายรับ รายจาย
30,000 บาท - 45,000 บาท = - 15,000 บาท

ทบทวนพฤติกรรมการใชจาย
จายใหนอยลง
เรียนรูการออม
เพิ่มรายได
50 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

4. นําแผนการเงินไปปฏิบัติ ตอ...
กรณีรายรับ > รายจาย

นําเงินออมไปหาดอกผลให
เพิ่มพูนงอกเงย ดวยวิธกี าร
ออม / ลงทุน

51 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

17
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

การลงทุนคืออะไร......???

การลงทุ น หมายถึ ง การเลื่ อ นอํ า นาจการบริ โ ภค


(ทรั พ ย สิ น เงิ น ทอง)
ทอง) ที่ มี อ ยู ใ นป จ จุ บั น บางส ว น เอาไปใช
บริ โ ภคในอนาคต เพื่ อ ให เ กิ ด ความสามารถที่ จ ะบริ โ ภค
ในอนาคต แทนที่จะบริโภคหรือใชทรัพยสินเงินทองที่มีอยู
ทั้งหมดในวันนี้

52 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

ประเภทของการลงทุน
การลงทุนแบงออกเปน 3 ประเภท คือ
1. การลงทุนในทรัพยสินที่แทจริงและมีตัวตนจับตองได
(Consumer investing)
2. การลงทุนในการทําธุรกิจ (Business
(Business investing)
3. การลงทุนในทรัพยสินทางการเงิน (Financial
(Financial investing)

53 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
ประเภทของการลงทุน :

1. การลงทุนในทรัพยสินที่แทจริงและมีตัวตนจับตองได
(Consumer investing)

54 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

18
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
ประเภทของการลงทุน :

2. การลงทุนในการทําธุรกิจ
(Business investing)
• ทําในสิ่งที่คนอื่นทํา แตทําใหดีกวา ทั้งในดานสินคา บริการ
และตนทุน
• เสนอผลิตภัณฑใหมหรือปจจุบัน ใหลูกคากลุมใหม
• สรางโอกาสจากเทคโนโลยีใหม
จากประสบการณที่ทํางานเดิม งานอดิเรก
ความบังเอิญ หรือจากการเสาะแสวงหา
55 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
ประเภทของการลงทุน :

3. การลงทุนในทรัพยสินทางการเงิน
(Financial investing)

56 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
ประเภทของการลงทุน :

ตลาดเงิน ตลาดทุน

ฝากเงิน, ซื้อสลากออมสิน, ตราสารทุน, ตราสารหนี้,


ตั๋วเงิน ตราสารอนุพันธ, กองทุนรวม

ผลตอบแทน ผลตอบแทน

เงินฝาก ดอกเบี้ย, สวนลดรับ, ลงทุน ดอกเบี้ย, เงินปนผล


ผลตอบแทนอื่น (ถามี) สวนลดรับ และ
กําไรสวนเกินทุน
57 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

19
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

ทําไมคุณถึงตองลงทุน
Figure : Wealth indexes of investments in the U.S capital markets from
1925 to 1999 (year-
(year-end 1925 = $1)

Source : Investments, Fifth Edition. Bodie Kane Marcus.


58 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

มูลคาเงินตามเวลา
แบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ
1. มูลคาในอนาคต (Future value : FV)
FV = (1+I)n
PV x (1+I
2. มูลคาปจจุบัน (Present value : PV)
PV = FV / (1+I)n

59 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
มูลคาเงินตามเวลา :

มูลคาในอนาคต (Future value : FV)


มูลคาในอนาคตของเงิน 100 บาท ในอีก 2 ปขางหนา
ปที่ 0 1 2

ผลตอบแทน 4% ผลตอบแทน 4% ผลตอบแทน 4%


100 บาท 104 104+ (104*0.04) = 108.16
100+ (100*0.04) = 104
หรือ 100(1+
100(1+ 0.04) 100(1+ 0.04)2
หรือ 100(1+
60 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

20
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
มูลคาเงินตามเวลา :

มูลคาในปจจุบนั (Present value : PV)


มูลคาในปจจุบันของเงิน 100 บาท
ปที่ 0 1 2

100 = 92.45
(1 + 0.04)2 ปรับมูลคาอนาคตใหเปนมูลคาปจจุบัน

61 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
มูลคาเงินตามเวลา :

ตารางที่ 1 มูลคาทบตนของเงิน 100,000 บาท


ที่จายลงทุนเพียงครั้งแรกครั้งเดียว
ปลายปที่ 1% 2% 4% 6% 8%
1 101,000 102,000 104,000 106,000 108,000
2 102,010 104,040 108,160 112,360 116,640
3 103,030 106,120 112,486 119,101 125,971
4 104,060 108,243 116,985 126,247 136,048
5 105,101 110,408 121,665 133,822 146,933

62 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
มูลคาเงินตามเวลา :

ตารางที่ 2 มูลคาทบตนสะสมของเงิน 100,000 บาท


ที่จายลงทุนเปนรายปตอเนื่องกัน
ปลายปที่ 1% 2% 4% 6% 8%
1 201,000 202,000 204,000 206,000 208,000
2 303,010 306,040 312,160 318,360 324,640
3 406,040 412,161 424,646 437,462 450,611
4 510,100 520,404 541,632 563,709 586,660
5 615,202 630,812 663,298 697,532 733,593

63 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

21
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
ออม/
ออม/ลงทุนกอนรวยกวา
เพื่อมีเงิน …........ ลานบาท เมือ่ อายุ 60 ป ฉันจะออม/
จะออม/ลงทุนเดือนละ …….
…….… บาท
เปาหมาย : 1 ลานบาท เมื่ออายุ 60 ป
อัตราผลตอบแทนจากเงินออม/ลงทุน 8% 6% 4% 2%
อายุเมื่อเริ่ม ระยะเวลา
เงินออม/ลงทุนตอเดือน
ออม/ลงทุน ออม/ลงทุน
20 40 308.00 522.00 858.00 1,365.00
25 35 464.00 724.00 1,108.00 1,649.00
30 30 705.00 1,021.00 1,455.00 2,032.00
35 25 1,093.00 1,471.00 1,959.00 2,574.00
40 20 1,746.00 2,195.00 2,739.00 3,393.00
45 15 2,943.00 3,469.00 4,074.00 4,767.00
50 10 5,516.00 6,125.00 6,795.00 7,529.00
55 5 13,621.00 14,322.00 15,061.00 15,842.00
64 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

มหัศจรรยของเลข 72
หากคุณตองการทราบวาจะตองใชระยะเวลานานเทาใดในการที่จะไดรับเงิ
เงิน
เพิ่มเปน 2 เทา? ลองหาร 72 ดวยอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนตอปของคุณ
ดู
อัตราผลตอบแทน ระยะเวลาที่จะไดรับเงินเพิ่มเปน 2 เทา
2% 36.0 ป
4% 18.0 ป
6% 12.0 ป
8% 9.0 ป
10% 7.2 ป
12% 6.0 ป

65 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

คุณเปนผูลงทุนแบบไหน?
สามารถวิเคราะหไดจาก 2 วิธี
1. วิเคราะหจากความเสี่ยง
งานวิวิจัยของ Marilyn MacGruder Barnewall แหง
MacGruder Agency
2. วิเคราะหจากการตัดสินใจ
Bailard, Biehl & Kaiser Five-
บทวิเคราะหของ Bailard, Five-Way
Model (BB&K)
66 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

22
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
คุณเปนผูลงทุนแบบไหน?
แบบไหน? :

1. วิเคราะหจากความเสี่ยง
แบ ง แยกออกเป น ลั ก ษณะใหญ ๆ ได 2 ลั ก ษณะตาม
ความเสี่ยง ไดดังนี้
1.1 ผูลงทุนประเภทรอรับผล (Passive
(Passive Investors) มักจะ
หลีกเลี่ยงความเสี
งความเสี่ยงหรือยอมรับความเสี่ยงไดต่ํากวา
1.2 ผูลงทุนประเภทมุงหวังผล (Active
(Active Investors) มักจะ
ชมชอบความเสี่ ยงมากกวาความมั่ นคงของเงิ นลงทุน โดยมี
ความเห็นวาถาเงินลงทุนตองสูญไปก็สามารถสรางใหมได
67 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
คุณเปนผูลงทุนแบบไหน?
แบบไหน? :

2. วิเคราะหจากการตัดสินใจ
แบบฉบั บ ของผู ล งทุ น จะ
แบ ง ออกเป น เป น 5 ประเภท
โดยดูจาก
ƒ ระดับ ความมั่นใจ และความ
วิตกกังวล
ƒ แนวปฏิบัติของบุคคลนั้นๆ

68 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
คุณเปนผูลงทุนแบบไหน?
แบบไหน? :

2. วิเคราะหจากการตัดสินใจ ตอ…
Bailard,
Bailard, Biehl & Kaiser (BB&K) เสนอวามีแกนจิตวิทยา
มนุษย 2 แกน ไดแก
1. แกนตั้ง ดานบนสุด แสดงความมั่นใจสูง
และดานลางสุดแสดงความวิตกกังวล
2. แกนนอน ดานซายสุด แสดงความระมัดระวัง
และดานขวาสุดแสดงความหุนหันพลันแลน

69 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

23
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

ลักษณะเฉพาะสวนบุคคลของผูลงทุน

มั่นใจ

เปนตัวของตัวเอง นักผจญภัย
รอบคอบ หุนหันพลันแลน
ผูพทิ ักษ พวกชอบตามแห

วิตกกังวล
70 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

ขอควรคํานึงของการลงทุนที่ตองพิจารณาประกอบ
1. เงินลงทุน
2. อายุและสุขภาพ
3. ภาระผูกพันสวนบุคคล
4. การศึกษาและประสบการณ
5. เวลา
6. ความเสี่ยงที่รับได
7. กฎระเบียบจากภาครัฐ
71 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

ความเสี่ยงในการลงทุนคืออะไร???

72 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

24
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

ประเภทของความเสี่ยงในการลงทุน

1. ความเสี่ยงจากปจจัยมหภาค
มหภาค

2. ความเสี่ยงจากปจจัยจุลภาค

73 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
ประเภทของความเสี่ยงในการลงทุน :

ความเสี่ยงจากปจจัยมหภาค
• Purchasing Power Risk (ความเสี่ยงในการมีอํานาจซื้อลดลง)
ลดลง)
• Political Risk (ความเสี่ยงที่เกิดเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทาง
การเมือง หรือนโยบายเกี่ยวกับเศรษฐกิจและการเงิน)
• Currency Risk (ความเสี่ยงที่เกิดจากความผันแปรของอัตรา
แลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ)
งประเทศ)
• Interest Rate Risk (ความเสี่ยงที่เกิดจากความผันแปรของอัตรา
ดอกเบี้ย)
• Market Risk (ความเสี่ยงที่เกิดจากภาวะตลาด)
จากภาวะตลาด)
74 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
ประเภทของความเสี่ยงในการลงทุน :

ความเสี่ยงจากปจจัยจุลภาค
• Business Risk เกิดจากการดําเนินงานของบริษัท (Operating
(Operating
Leverage) เชน การบริหารตนทุน
• Financial Risk เกิดจากโครงสรางทางการเงินของบริษัท
(Financial Leverage) เชน การระดมทุนจากแหลงเงินทุน
แตกตางกัน

75 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

25
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

วิธีวัดผลตอบแทนจากการลงทุน
1. ผลตอบแทนรวมจากการลงทุน
(Total Return)
2. ผลตอบแทนสุทธิ (Net
(Net Return
หรือ Nominal Return)
Return)
3. ผลตอบแทนที่แทจริง
(Real Return)

76 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
วิธีวัดผลตอบแทนจากการลงทุน :

1. ผลตอบแทนรวมจากการลงทุน (Total Return)


คํานวณจาก...
นวณจาก...

เงินปนผล +
ดอกเบี้ยรับ +
กําไร/ขาดทุนจากการขายหลักทรัพย
ผลตอบแทนรวมจากการลงทุน

77 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
วิธีวัดผลตอบแทนจากการลงทุน :

2. ผลตอบแทนสุทธิ (Net Return หรือ Nominal Return)


คํานวณจาก...
นวณจาก...

ผลตอบแทนรวม -
คาใชจายที่เกิดขึ้นจากการลงทุน
ผลตอบแทนสุทธิ

78 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

26
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
วิธีวัดผลตอบแทนจากการลงทุน :

3. ผลตอบแทนที่แทจริง (Real Return)


คํานวณจาก...
นวณจาก...

ผลตอบแทนสุทธิ -
ผลของเงินเฟอ
ผลตอบแทนที่แทจริง

79 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
รายงานผลการวิเคราะหองคประกอบที่มีผลตอ
การกระจายความเสี่ยงของการลงทุน
94%
100%
80%
60%
40%
20% 4% 2%
0%
Asset Allocation Stock Selection Market Timing
80 Source : Harry Markowitz.
Markowitz. ©Secrets of theSecurities
2003 Thailand Investment All-
All-Stars
Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
องคประกอบที่มผี ลตอการกระจายความเสี่ยง :

การจัดสรรเงินลงทุน (Asset Allocation)


กระจายเงิ น ลงทุ น ลงในสิ
ลงในสิ น ทรั พ ย ป ระเภทต า งๆ เช น
เงินสด หุน ตราสารหนี้ อสังหาริมทรัพย ฯลฯ
Other
5%
Properties Cash
15% 15%
Debt
Stocks Securities
40% 25%
81 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

27
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
องคประกอบที่มผี ลตอการกระจายความเสี่ยง :

การคัดเลือกหลักทรัพยที่ลงทุน (Securities Selection)


การคั ด เลื อ กหลั ก ทรั พ ย ที่ ล งทุ น โดยคั ด เลื อ กจากที่ มี
ปจจัยพื้นฐานที่ดี

82 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน
องคประกอบที่มผี ลตอการกระจายความเสี่ยง :

การจับจังหวะของตลาด (Market Timing)


เปนการจับจังหวะขึ้นลงของตลาด และซื้อขายหลักทรัพย
ตามจังหวะนั้นไดอยางถูกตอง

83 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

ความสัมพันธของความเสี่ยงและผลตอบแทน
• ระดับความเสี่ยงนั้นมีความสัมพันธใน ทิศทางเดียวกัน กับระดับ
ผลตอบแทนทีค่ าดหวังจากการลงทุนในหลักทรัพยหรือทรัพยสินใดๆ

ความเสี่ยงสูง / โอกาสไดผลตอบแทนสูงมีมาก
แตโอกาสทีจ่ ะสูญเสียก็มมี าก

ความเสี่ยงต่ํา / โอกาสไดผลตอบแทนสูงมีนอย
แตโอกาสทีจ่ ะสูญเสียก็มนี อย
84 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

28
สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

หลักการทั่วไปของการจัดสรรสัดสวนเงินลงทุนในรูปแบบป
แบบปรามิ
รามิด
สูง ตราสารอนุพันธ, หุน/หุนกูของบริษัทที่ลมละลาย,
ละลาย,
9 การซื้อขายหลักทรัพยโดยใชมาร
มารจิจ้นิ

8 อสังหาริมทรัพยที่มีหนี้สูงๆ,
ๆ, หุนกูดอยสิทธิ์

7 ธุรกิจเหมืองแร, สํารวจทรัพยากรธรรมชาติ

6 ของสะสม,
ของสะสม, โบราณวัตถุ, รูปวาด

ความเสี่ยง 5 ทองคํา อัญมณี โลหะมีคา


หุนที่มีปจจัยพื้นฐานรองรับ, อสังหาริมทรัพยที่มีหนี้ต่ํา,
4 ที่อยูอาศัยที่มีหนี้สูง, หุนกูมีหลักประกัน
หุนที่มีปจจัยพื้นฐานดีมาก, าก, หนวยลงทุน,
3 ที่อยูอาศัยที่มีหนี้ต่ํา
ตั๋วเงิน/หุนกูที่ออกโดยบริษัทที่มีฐานะมั่นคง,
คง,
2 อสังหาริมทรัพยที่ปลอดหนี้สิน
กองทุนตราสารระยะสั้น, พันธบัตร/ ร/ตั๋วเงินคลัง,
ต่ํา 1 เงินฝากธนาคารพาณิชย

85 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

สถาบันพัฒนาความรูต ลาดทุน

Q&A
86 © 2003 Thailand Securities Institute (TSI) , The Stock Exchange of Thailand

29

You might also like