Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

งานวิจัยในชัน้ เรียน

ชื่อเรื่อง รายงานวิจยั เชิงปฏิบัติการ เรื่องการใชการสอนแบบ Reciprocal teaching เพื่อ


พัฒนาทักษะการอานของนักศึกษาศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรชั้นสูง 2/8 แผนกภาษาตางประเทศ
โรงเรียนเทคโนโลยีชนะพลขันธ นครราชสีมา

ชื่อผูวิจัย นางวิภา ชะวางกลาง


อาจารยผูสอนภาษาอังกฤษ
โรงเรียนเทคโนโลยีชนะพล-ขันธ นครราชสีมา
สังกัดกรมอาชีวศึกษา
ปที่ทําการวิจัย พ.ศ. 2548
การวิจัยในชั้นเรียน
บทคัดยอ

ชื่อเรื่อง รายงานวิ จั ย เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร เรื่ อ งการใช ก ารสอนแบบ


Reciprocal teaching เพื่อพัฒนาทักษะการอานของ
นักศึกษาศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรชั้นสูง 1/8 แผนก
ภาษาต า งประเทศ โรงเรี ย นเทคโนโลยี ช นะพลขั น ธ
นครราชสีมา
ชื่อผูวิจัย นางวิภา ชะวางกลาง อาจารยผูสอนภาษาอังกฤษ โรงเรียน
เทคโนโลยีชนะพล-ขันธ นครราชสีมา
สังกัดกรมอาชีวศึกษา

ปที่ทําการวิจัย พ.ศ. 2548

วิจัย ในชั้นเรียนนี้ เป นวิ จัยเชิงทดลอง ผูวิจัยไดดําเนินการวิจัยเพื่ อแกป ญหาและพัฒนา


ศักยภาพดานการอานภาษาอังกฤษของผูเรียน โดยดําเนินการวิจัยกับกลุมประชากรตัวอยางของ
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นสูง ปที่ 1 /8 โรงเรียนเทคโนโลยีชนะพลขันธ นครราชสีมา ภาค
เรียนที่1 ปการศึกษา 2548 จํานวน 25 คน
ใหนักศึกษาเรียนวิชาการอานและตีความภาษาอังกฤษธุรกิจโดยใชวิธีการสอน 2 แบบคือ
การสอนการอานโดยการแปลเปนภาษาไทย(Translation technique) 8 สัปดาห กอนสอบกลางภาค
และใชการสอนโดยใชเทคนิคReciprocal technique 8 สัปดาห หลังจากนั้นนําผลการทดสอบกอน
เรียนและหลังเรียนของแตละเทคนิคมาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนของนักศึกษา และจาก
การตอบคําถามจากแบบสอบถาม
วัตถุประสงคการวิจัย เพื่อพัฒนาทักษะการอานภาษาอังกฤษโดยใชการสอนแบบเทคนิค
ประสม Reciprocal technique ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นสูง ปที่ 1 /8 โรงเรียน
เทคโนโลยีชนะพลขันธ นครราชสีมา
ผลการวิจัยพบวาจากการใหนักศึกษาเรียนโดยการใช การสอนแบบ Reciprocal technique
มีผลสัมฤทธิ์ในการอานภาษาอังกฤษสูงกวาการสอนโดยใช Translation technique และจากการ
ตอบแบบสอบถามนักศึกษามีทัศนคติที่ดีตอ การเรียนวิชาการอานภาษาอังกฤษโดยการสอนแบบ
Reciprocal teaching สูงกวาการสอนแบบการแปล (Reciprocal teaching)และสามารถใช
ภาษาอังกฤษขัน้ พื้นฐานในการสื่อสารในชีวิตประจําวันไดมากขึ้น
บทที่ 1
บทนํา

ปญหาและความเปนมา
จากการสอนวิชาทักษะพัฒนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 รหัสวิชา 3000-1202 ระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หลักสูตร พุทธศักราช 2546 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชา
ภาษาตางประเทศธุรกิจ ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2548 ซึ่งหนึ่งในจุดประสงครายวิชาคือ
“เพื่อใหสามารถอานขอความและบทความภาษาอังกฤษธุรกิจได” จากการสอนวิชาดังกลาวขาพเจา
พบวานักศึกษาระดับชั้น ปวส. 1/8 จํานวนนักศึกษาทั้งหมด 25 คน มีปญหาเรื่องทักษะการอานซึ่งดู
ไดจากคะแนนสอบกอนเรียนภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2548 ซึ่งผลคะแนนจากตารางที่ 1 (ปรากฏ
ในภาคผนวก) อยูในเกณฑต่ําหรือไมผานเกณฑ คน ซึ่งคิดเปนรอยละ ของนักเรียนทั้งหมด
จากการวิเคราะหปญหาเบื้องตนที่พบจากแบบฝกหัดเกี่ยวกับการอานและการสอบ พบวา
นักศึกษามีปญหาเรื่องการแปลความและตีความที่ไมถูกตอง โดยเฉพาะการแปลความหมายโดยการ
ใชพจนานุกรมชวยนักศึกษาจะแปลความหมายทุกคําเมื่อนํามารวมกันจะทําใหการตีความหมาย
ผิ ด เพี้ย นไป ซึ่งปญหานี้ เ กิ ด ขึ้น บอ ยและทํา ใหนั ก ศึก ษาเขา ใจผิดพลาดไปซึ่ งสงผลต อการอ า น
ภาษาอังกฤษไดอยางมาก เพราะฉะนั้น ปญหาดังกลาว ควรไดรับการแกไข ซึ่งเปนที่มาของการทํา
วิจัยครั้งนี้
จากการศึ ก ษาข อมู ล จากวรรณกรรมและงานวิจั ย ตา งๆ พบว า การสอนโดยใช เ ทคนิ ค
Reciprocal teaching technique เปนวิธีหนึ่งที่ชวยใหผูเรียนสามารถฝกทักษะดานการอานได เพราะ
เปนการใหผูเรียนไดเรียนรูรวมกัน

วัตถุประสงคในการวิจัย
1. เพื่อศึกษาผลของวิธีการสอนแบบ Reciprocal teaching technique ที่มีตอทักษะการอานและ
ตีความภาษาอังกฤษของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาตางประเทศ โรงเรียนเทคโนโลยีชนะพล
ขันธ นครราชสีมา
2. เพื่อลดขอผิดพลาดในการอานและตีความของนักศึกษาภาษาตางประเทศ โรงเรียน
เทคโนโลยีชนะพลขันธ นครราชสีมา
3. เพื่อหาเจคติตอ การเรียนโดยใชการเรียนทั้งสองแบบ Translation techniqueและ Reciprocal
technique
ขอบเขตการวิจัย
1. กลุ ม นั ก ศึ ก ษาที่ ใ ช ใ นการทํ า วิ จั ย คื อ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปวส.1/8 แผนกภาษาต า งประเทศ
โรงเรียนเทคโนโลยีชนะพลขันธ นครราชสีมา จํานวน 25 คน
2. เครื่องมือในการทําวิจัยคือ รูปแบบการสอนทั้งสองแบบ Translation techniqueและ
Reciprocal technique
3. ระยะเวลาในการวิจัย 16 สัปดาห คือตั้งแตวันที่ 5 มิถุนายน 2548 –18 กันยายน 2548
4. การประเมินผลจากคะแนนสอบกอนเรียนและหลังเรียน
บทที่ 2

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

เนื่องจากการวิจัยในครั้งนี้ใชการสอนโดยสองแบบในการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการ
เรียนของนักศึกษาเปนเครื่องมือในการทําวิจัยคือการสอนโดย Translation techniqueและ
Reciprocal technique ซึ่งรายละเอียดของการสอนทั้งสองรูปแบบมีดังนี้
การสอนโดยใชภาษาแมหรือภาษาที่ 1มีการใชกันอยางแพรหลายในการสอนภาษาอังกฤษ
การสอนโดยการแปล หรือ Grammar-Translation method (Piascecka, 1986:29). It ให
ความหมายไววา :
The act of replacing text material in the source language (SL) by an equivalent
text material in the target language (TL) where not only superficial semantic
equivalents are south but also a maximum of implied meanings and emotional
and authentic effects are transferred. (Costa, 1988: 9).
การแทนที่ความหมายของแหลงภาษาโดยการใหมีความหมายเดียวกันในภาษาเปาหมาย
โดยการคงไวซึ่งความเปนจริงซึ่งความหมายของขอความเดิม
การสอนโดยการแปล The Grammar-Translation method ซึ่ง (Lado, 1988:12). Boey (1970:6
ไดอธิบายขั้นตอนไววา :
The students learn to memorize vocabulary lists consisting of L2 words on one
side and L1 equivalents on the other. The L1 is used in explaining
grammatical rules of the L2. The student is then given practice exercises
which consist in translating L1 sentence into the L2 by a process of applying
the grammatical rules to the memorized vocabulary. In this method the L1 is
used to give the meaning of L2 words and also as a stimulus of producing L2
sentences.
นักศึกษาเรียนโดยการจําคําศัพทในภาษาที่ 2 และแปลความหมายเปนภาษาที่ 1โดยการ
เรียนกฏไวยกรณทางภาษา และเรียนโดยการทําแบบฝกหัดโดยการแปลประโยคจากภาษาที่ 1 เปน
ภาษาที่ 2 โดยการประยุกตใชกฏไวยกรณที่จําไดจากคําศัพย
Del Mar, et al (1982) แนะวาการใชการแปลความหมายเหมาะกับนักศึกษาที่เริ่มเรียนถึง
ระดับกอนทีจ่ ะสื่อสารไดเทานั้น
แต Titford (1983:52-57) กลาวไววาวิธีการแปลก็เหมาะสําหรับระดับเชี่ยวชาญเชนกันถา
นักเรียนรูจักใชภาษาที่ 1เชื่อมโยงกันใหเกิดความหมายในภาษาที่ 2
นักวิจัยหลายคนไดทําการวิจยั หาประโยชนของการแปล ( translation and the native
language) เชน Kharma and Hajjaj (1989) ทดลองการใชภาษาแมหรือภาษาที่ 1 ในชัน้ เรียนกับ
อาจารยอาราบิค 200 คนและนักศึกษา 293 คน ผลการทดลองปรากฏวา 93 % ที่ใชการแปลเขาใจ
การอานไดไมดี
ในป 1992, Tajan ไดทําการวิจัยโดยการใชการอานโดยมีบทความภาษาไทย ขนานกับ
ภาษาอังกฤษ เปนสองสดมภ ใหนกั ศึกษาอานผลการทดลองปรากฏวานักศึกษาอานไดกวาการ
อานบความทีไ่ มมี ภาษาอังกฤษคูขนาน
ในป 1998, Rattanakul ใช การสอนโดยการแปลมาเปรียบเทียบกับการสอนโดยใชเทคนิค
ประสม Recipocal teaching technique ซึ่งผลการวิจัยสนับสนุนการสอนแบบหลัง ซึงการสอนโดย
เทคนิคประสมมีคําจํากัดความดังนี้ Palinscar & Brown (1985:148) ใหแนวทางการสอนโดยมี
ขั้นตอนดังนี้
Model of reciprocal teaching
a) Summarizing การสรุปใจความสําคัญของการอานกระตุนใหนักศึกษาหาใจความสําคัญของ
บทความที่ไดอานไปแลว
Summarizing (also know as self-review) allows students to integrate the information in the
text. This stage encourages the students to identify the main idea or topic sentence, then
motivates them to summarize a paragraph from the main idea or the topic sentence (Bos &
Vaughn, 1994: 198). The students generate summaries by deleting trivia or redundancy, and
selecting or inventing a main idea or topic sentence. The students may summarize by asking
themselves a question like “What is the passage about?” (Conley, 1995: 224). Writing a
summary from the main idea is one of the strategies used by professional writers (Taylor,
1984: 695).
b) Questioning การตั้งคําถามเพื่อหาคําตอบวาทําไมหรืออะไร
This stage requires the students to generate teacher-like questions. The students may ask
themselves “What is happening?” or “Why is this happening?” in each paragraph.
c) Clarifying การทําใหการอานมีความชัดเจนโดยการซักถามกับเพื่อนรวมหองและอาจารย
เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกัน
a) Students monitor their comprehension when they attempt to clarify what they have read
(Wiseman, 1992: 162).
d) Predicting การทํานายวาขอความในยอหนาตอไปจะเปนเชนไรชวยใหนักศึกษาอานแลวเขาใจ
ดีขึ้นโดยการใชพื้นความรูหลัง
ขั้นตอนในการสอน
ขั้นตอนในการสอนแบบ Reciprocal teaching โดย Palinscar and Brown (1984: 124) มี
ดังนี้
อาจารยอธิบายถึงวัตถุประสงคในการสอนแบบ Reciprocal teaching.
ใหนกั ศึกษาอานทีละยอหนาโดยไมใหดใู นยอหนาถัดไปหรืออาจารยอาจขะใหบทรวามทีละยอ
หนาแลวสรุปใจความสําคัญในยอหนานัน้ ๆใหนักศึกษาทํางานเปนกลุม แลว
- ตั้งคําถามเกี่ยวกับยอหนานั้นๆ
- ถามคําถาม
คาดเดาเนื้อเรื่องในยอหนาถัดไปโดยอาจารยทําใหนักศึกษาดูเปนตัวอยางกอนแลวให
นักศึกษาทําเองหลังจากนัน้
Richek et al (2002:233-234) แนะวาการสอนแบบนั้ทําใหกระตันใหเกิการทํางานเปนกลุม
และทําใหนักศึกษาไดมีความกระตือรือรนในการเรียนอยูเสมอ
งานวิจัย reciprocal teaching technique
งานวิจยั การใช reciprocal teaching techniques มีผูที่ทําการวิจัยไวดังนี้
Palinscar and Brown (1984: 117-175). ใชการสอนนี้กบั นักศึกษาเกรด 7 ซึ่งผลสัมฤทธิ์ใน
การอานต่ํา ผลการทดลองหลังจากการใชการสอนแบบ reciprocal teaching technique 20 วัน
นักเรียนเหลานี้มีผลสัมฤทธิ์ในการอานทีด่ ขี ึ้น .
Gilroy and Moore (1988) ใชการสอนนี้กบั นักศึกษาระดับประถมศึกษา ซึ่งผลสัมฤทธิ์ใน
การอานต่ํา ผลการทดลองหลังจากการใชการสอนแบบ reciprocal teaching technique นักเรียน
เหลานี้มีผลสัมฤทธิ์ในการอานที่ดีขึ้น .
Rattanakul (1998) ใชการสอนนี้กับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ซึ่งผลสัมฤทธิ์ในการอานต่ํา
ผลการทดลองหลังจากการใชการสอนแบบ reciprocal teaching technique เปรียบเทียบกับการสอน
โดยใชการแปล ผลปรากฏวานักเรียนทีใ่ ชการสอนโดยวิธี Reciprocal teaching technique มี
ผลสัมฤทธิ์ในการอานที่ดีขนึ้ กวากลุมที่ใชการสอนแบบการแปล
จากผลงานวิจยั ที่ผานมาจะเห็นวาการสอนโดยใช Reciprocal teaching technique มีผลตอ
การผลสัมฤทธิ์ในการอานของนักศึกษา มันเปนการนาสนใจที่ดูผลสําเร็จของการสอนกับนักศึกษา
ที่มีปญหาของโรงเรียนเทคโนโลยีชนะพลขันธนครราชสีมา
บทที่ 3
เครื่องมือและวิธกี ารดําเนินการ

เครื่องมือ
เครื่องมือที่ใชในการทําวิจัยครั้งนี้คือการสอนแบบการแปลและการสอนแบบประสมมา
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการอานของนักศึกษา

วิธีการดําเนินการ
1. ให นั ก ศึ ก ษาจํ า นวน 25 คนเรี ย นโดยการใช ก ารสอนแบบการแปล 8 สั ป ดาห ทํ า การ
ทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
2. ใหนักศึกษาจํานวน 25 คนเรียนโดยการใชการสอนแบบประสม 8 สัปดาห ทําการทดสอบ
กอนเรียนและหลังเรียน
3. ผูสอนตรวจขอสอบแลวนําคะแนนมาวิเคราะห
4. ใหนักศึกษาทําแบบสอบถามแลวนําคะแนนนักศึกษา 25 คนนําผลมาวิเคราะห

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอ มูล
ผูวิจัยใชสถิติในการวิเคราะหขอมูลดังนี้
1. คาเฉลี่ย
2. คารอยละ
3. t-test
4. คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน

การวิเคราะหขอมูล
ดูจากคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษาของการเรียนทัง้ สองแบบ คือแบบ การ
แปล(Translation technique) และแบบ Reciprocal teaching technique และการวิเคราะหการตอบ
แบบสอบถาม
บทที่ 4
การวิเคราะหขอมูล
ผลการวิเคราหการสอนโดยใชเทคนิคการแปล (Translation technique)
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนของการสอนโดยใชเทคนิคการแปล
Translation technique
การสอบ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบน คา t Two-tail
มาตรฐาน Prob.
แบบทดสอบ 21.3000 4.7430
กอนเรียน
แบบทดสอบ 23.7667 4.1160 8.27 <0.05
หลังเรียน
N= 25

จากตารางที่1 แสดงใหเห็นวา มีความแตกตางอยางเปนนัยสําคัญระหวางคะแนนกอนสอบ


และหลังสอบโดยใชการสอนแบบการแปล ซึ่งแสดงวาการสอนโดยเทคนิคนี้ทําใหนักศึกษาพัฒนา
ทักษะการอานไดในระดับหนึ่ง

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนของการสอนโดยใชเทคนิค Reciprocal


teaching
การสอบ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบน คา t Two-tail
มาตรฐาน Prob.
แบบทดสอบ 21.3000 4.6620
กอนเรียน
แบบทดสอบ 25.5333 4.2000 10.65 <0.05
หลังเรียน
N= 25

จากตารางที่ 2 แสดงใหเห็นวา มีความแตกตางอยางเปนนัยสําคัญระหวางคะแนนกอนสอบ


และหลังสอบโดยใชการสอนแบบการแปล ซึ่งแสดงวาการสอนโดยเทคนิคนี้ทําใหนักศึกษาพัฒนา
ทักษะการอานไดดี ซึ่งชี้ใหเห็นวาการสอนการอานดวยวิธีนี้ชว ยใหนักศึกษาเรียนรูการอาน
ภาษาอังกฤษไดดียิ่งขึ้น
ตารางที่ 3 เปรียบเทียบคะแนนที่เพิ่มขึ้นของการทําแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนของการ
สอนทั้งสองแบบ
การสอบ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบน คา t Two-tail
มาตรฐาน Prob.
การสอนโดย
ใชเทคนิคการ
อานแบบการ 2.4667 1.6340 4.38 <0.05
แปล
การสอนโดย
ใชเทคนิคการ 4.2333 2.1760
อานแบบ
Reciprocal
N= 25

จากตารางที่ 3 จะเห็นไดวามีความแตกตางอยางเปนนัยสําคัญระหวางคะแนนเฉลี่ยของ
คะแนนทดสอบหลังเรียนของการของการสอนทั้งสองแบบ จากการวิเคราะหขอมูลในครั้งนี้แสดง
ใหเห็นวาคะแนนของนักศึกษาในชวงที่เรียนดวยการสอนแบบ Reciprocal teaching สามารถทํา
คะแนนไดสูงกวาในชวงทีเ่ รียนดวยการเรียนแบบการแปล Translation technique
ในชวงสิ้นการสอนในแตละแบบผูทําการวิจัยใหนกั ศึกษาทําแบบสอบถามเกี่ยวกับความ
คิดเห็นของการสอนทั้งสองแบบซึ่งจากการตอบแบบสอบถามนักศึกษาชอบการสอนแบบ
Reciprocal teaching technique มากกวาการสอนแบบการแปล Translation technique
บทที่ 5
สรุปผล
จากการทําวิจยั ในชัน้ เรียนในครั้งนี้คนพบผลการวิจัย 4 ประการคือ
แผนภาพที่ 1 การเปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนของการสอนแบบการแปล

24
23
22 Series1
21
20
1 2

Translation technique

ประการแรกจากการคนพบผลความแตกตางระหวางคะแนนสอบการอานกอนเรียน(1)และ
คะแนนสอบการอานหลังเรียน(2) จากผลแตกตางนี้จะเห็นไดวาการสอนการอานโดยการแปลทําให
นักศึกษาเรียนไดดีในระดับหนึ่ง
แผนภาพที่ 2 การเปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนของการสอนแบบ Reciprocal
teaching

26
24
22 Series1
20
18
1 2
ประการที่ 2 จากการคนพบผลความแตกตางระหวางคะแนนสอบการอานกอนเรียน(1)และ
คะแนนสอบการอานหลังเรียน(2) จากผลแตกตางนี้จะเห็นไดวาการสอนการอานโดยใช Reciprocal
teachingทําใหนักศึกษาเรียนไดดีในระดับที่ดี

5
4
3
Series1
2
1
0
1 2

แผนภาพที่ 3 การเปรียบเทียบคะแนนหลังเรียนที่เพิ่มขึ้นของการสอนแบบทั้ง 2 แบบ

ประการที่ 3 จากการคนพบผลความแตกตางระหวางคะแนนสอบการอานหลังเรียนของ
การสอนแบบการแปล (1)และคะแนนสอบการอานหลังเรียนของการสอนแบบ Reciprocal
teaching(2) จากผลแตกตางนี้จะเห็นไดวา การสอนการอานแบบ Reciprocal teaching ทําให
นักศึกษาทําคะแนนไดสูงกวาการสอนแบบการแปล
ประการที่ 4 จากการตอบแบบสอบถามนักศึกษาทําแบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็น
ของการสอนทั้งสองแบบซึ่งจากการตอบแบบสอบถามนักศึกษาชอบการสอนแบบ Reciprocal
teaching technique มากกวาการสอนแบบการแปล Translation technique
จากการทําวิจยั ครั้งนี้แสดงใหเห็นวาการสอนแบบ Reciprocal teaching สามารถทําให
นักเรียนการอานไดดกี วาการสอนโดยใชเทคนิคการแปล ดังนั้นจึงเปนสิ่งที่ควรจะสนับสนุนให
ครูผูสอนใชการสอนแบบ Reciprocal teaching ในชั้นเรียน
เอกสารอางอิง

Boey,L. (1970). The Use of the First Language in Second Language Teaching and Learning
RELC Journal,1 (1),66-67.

Costa, S. (1988). Adding Variety in Translation Courses. English Teaching Forum, 16 (1), 9-12.

Gilroy, A. and Moore, D. (1988). Reciprocal Teaching of Comprehension-Fostering and


Comprehension-Monitoring Activities with Ten Primary Schools Girls. Educational
Psychology, 8 (1), 2.

Khama, N. and Hajjai, A. (1989). Use of the Mother Tongue in the ESL Classroom. IRAL, 27(3),
233-234.

Lado, R. (1988). Teaching English Across Cultures. New York: McGraw-Hill Book Company.

Palinscar A.S. and Bronwn A.L.(1984). Reciprocal teaching of comprehension-fostering and


comprehension-monitoring activities. Cognitive and Instruction 12 (1984),pp. 117-175.

Piasecka, Krystyna. (1986). Using mother tongue in teaching adult immigrants. Language Issues,
No.1 Spring, 29-34.

Rattanakul, Sompratana, (1998). An Experimental Study of the Use of The Reciprocal Teaching
Technique in Teaching English Reading Comprehension. Unpublished Master Thesis.
Mahidol Unversity.

Richek, M.A.,Caldwell,J.S., Jennings,J.H. and Lerner,J.W. (2002). Reading Problems:


Assessment and Teaching Strategies.USA: Allyn and Bacon.

Tajan, Varaporn (1992). An Experimental Study of the Use of Thai Text in Parallel with English
Text in Teaching English Reading Comprehension. Unpublished Master’s Thesis. Mahidol
University.
Taylor, K.K. (1984). The Different Summary Skills of Inexperienced and Professional Writers.
Journal of Reading, May, 691-699.

Tifford, C. (1983). Translation for Advanced Learners. English Language Teaching Journal,
37(1). 52-57.

Wiseman, D. L. (1992), Learning to Read with Literature. USA: Allyn and Bacon.

You might also like