Radiation

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 15

Effects of Radiation Therapy on the Lung :

Radiologic Appearances and Differential


Diagnosis

หลังจากการรักษาด้วย Radiation therapy มักทำาให้เกิด


Radiation-induced lung disease (RILD)
Histopathologic Features
Radiation pneumonitis เริม
่ เกิดใน 4-12 สัปดาห์ หลัง
จากเสร็จสิ้นการรักษาด้วย radiation therapy และจะเห็นชัด
มากที่สุด 4 เดือน หลังจากรักษาด้วย radiation therapy
ลักษณะทางจุลพยาธิวิทยาจะพบ diffuse alveolar damage,
intra-alveolar proteinaceous exudate
Radiation fibrosis เกิดใน 6-12 เดือน หลังจากรักษา
ด้วย radiation therapy เสร็จสิ้น และจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง
หลังจากรักษาเสร็จสิ้น 2 ปี

Factors influencing the radiologic appearance


1. Age
2. Volume of lung irradiated : แสดงอาการเมื่อบริเวณ
ของปอดที่ถูกฉายแสง > 50%
3. Shape of the radiation fields
4. Total dose of radiation : แสดงอาการเมื่อได้รบ

มากกว่า 40 Gy
5. Number of fractions of radiation : แสดงอาการเมื่อ
Daily dose fraction มากกว่า 2.67 Gy
6. Prior or concomitant chemotherapy เช่น
Actinomycin D, Adriamycin, Bleomycin, Busulfan
7. Withdrawal of corticosteroid

Radiologic manifestations
1. Radiation pneumonitis
- Homogeneous or patchy ground-glass opacity or
consolidation ในบริเวณ port ที่ฉายแสง
- Ipsilateral pleural effusion, atelectasis
- Edges correspond to radiation ports
- Abnormalities outside of ports in 20%

รูปที่ 1 Radiation pneumonitis ผู้ป่วยหญิง อายุ 60 ปี


เป็ น stage IIIb non-small cell lung cancer 2 เดือน หลัง
จากรักษาด้วย radiation therapy เสร็จสิ้น พบ diffuse
ground-glass opacity in the left lung.

a.
b.

c.
รูปที่ 2 ผู้ป่วยหญิง อายุ 53 ปี เป็ น adenocarcinoma (a)
CT scan ก่อนการรักษาพบ mass in LLL. (b) CT scan 1
เดือน หลังจากรักษาด้วย radiation therapy เสร็จสิ้น แสดง
mass มีขนาดเล็กลง และพบ ground-glass opacity เป็ น
ลักษณะของ radiation pneumonitis. (c) CT scan 5 เดือน
หลังจากรักษาด้วย radiation therapy เสร็จสิ้น แสดง
radiation pneumonitis เริม
่ เปลี่ยนเป็ น radiation fibrosis มี
air bronchograms, consolidation.

a.
b.

c.
รูปที่ 3 ผู้ป่วยหญิง อายุ 65 ปี เป็ น adenocarcinoma of
LLL (a) CT scan ก่อนการรักษาพบ mass in LLL. (b)
CT scan 5 เดือน หลังจากรักษาด้วย radiation therapy
เสร็จสิ้น แสดง mass มีขนาดเล็กลง และ new nodular
area of increased attenuation in the LLL ลักษณะของ
radiation pneumonitis. (c) CT scan 9 เดือน หลังจาก
รักษาด้วย radiation therapy เสร็จสิ้น แสดง radiation
fibrosis และ residual tumor.

2. Radiation fibrosis
- Linear scarring
- Ipsilateral volume loss
- Dense consolidation
- Traction bronchiectasis
- Pleural thickening
- Sharp demarcation
a
b
รูปที่ 4 ผู้ป่วยหญิง อายุ 62 ปี เป็ น poorly differentiated
non-small cell lung cancer. (a) CT scan ก่อนการรักษา
พบ mass in LLL. (b) CT scan 12 เดือน หลังจาก
รักษาด้วย radiation therapy เสร็จสิ้น แสดง radiation
fibrosis, bronchiectasis, volume losss and sharp
demarcation.

รูปที่ 5 ผู้ป่วยชาย อายุ 67 ปี เป็ น squamous cell


carcinoma CT scan หลังจากรักษาด้วย radiation therapy 14
เดือน แสดง consolidation และ bronchiectasis of fibrosis.
รูปที่ 6 ผู้ป่วยหญิง อายุ 60 ปี เป็ น poorly differentiated
non-small cell lung cancer CT scan หลังจากรักษาด้วย
radiation therapy 5 ปี แสดง linear band fibrosis คล้าย
scar

Radiation therapy techniques


การรักษาด้วย radiation therapy ในแต่ละโรคมีวิธีการและ
port ที่แตกต่างกัน ดังนี้
• Non small cell lung cancer
ฉายแสงบริเวณ primary tumor , รอบขอบของ tumor 2
เซนติเมตร และ รอบขอบของ reginal lymph node 1
เซนติเมตร หาก tumor ลุกลามไปยัง mediastinal จะต้องฉาย
ipsilateral supraclavicular area ด้วย
• Small cell lung cancer
Port ที่ใช้ในการฉายแสงมี 2 ประเภท
1. Extensive portals encompassing ฉายบริเวณ hila,
mediastinum, both supraclavicular areas
2. Limited portals encompassing ฉายบริเวณ primary
tumor and adjacent nodal stations
• Breast cancer
ใช้ tangential-beam radiation portals ลักษณะของ
RILD พบบริเวณ periphery of the lung และ
Supraclavicular portals ทำาให้เห็นลักษณะ apical RILD ซึ่ง
ต้องแยกจากการติดเชื้ อ tuberculosis

a
b
รูปที่ 7 ผู้ป่วยหญิง อายุ 42 ปี เป็ น adenocarcinoma of
the right breast. (a) CT scan หลังจากรักษาด้วย radiation
therapy 4 เดือน แสดง radiation pneumonitis พบ
ground-glass opacity and nodule เห็นชัดบริเวณ peripheral
aspect of the right upper lobe. (b) CT scan หลังจาก
รักษาด้วย radiation therapy 26 เดือน แสดง subpleural
radiation fibrosis in lung tissue
a
b
รูปที่ 8 Apical RILD จาก supraclavicular radiation
therapy ในผู้ป่วยหญิง อายุ 42 ปี เป็ น adenocarcinoma of
the right breast (ผู้ป่วยรายเดียวกันกับรูปที่ 7). (a) CT scan
หลังจากรักษาด้วย radiation therapy 4 เดือน แสดง
radiation pneumonitis พบ ground-glass opacity and
nodular area บริเวณ right upper lobe. (b) CT scan
หลังจากรักษาด้วย radiation therapy 16 เดือน แสดง apical
radiation fibrosis.

• Esophageal cancer
ฉายแสงเหนื อและล่างต่อ tumor 5-6 เซนติเมตร ทำาให้
เห็นลักษณะ paramediastinal opacities in lower lobes
รูปที่ 9 ผู้ป่วยชาย อายุ 53 ปี เป็ น adenocarcinoma of
the distal esophagus . CT scan หลังจากรักษาด้วย
radiation therapy 3 เดือน แสดง bilateral paramediastinal
early radiation fibrosis and prominent in the LLL.

• Head and neck cancer


การฉายแสงจะถูกบริเวณ apical aspect of the thorax
ทำาให้เห็นลักษณะ bilateral apical RILD

a
b
รูปที่ 10 Biapical RILD ในผู้ป่วยหญิง อายุ 72 ปี เป็ น
squamous cell carcinoma of the tonsil. (a) Chest
radiograph แสดง bilateral apical radiation fibrosis และ
pleural thickening. (b) CT scan แสดง radiation fibrosis
in the lung apices.

• Hodgkin or non-Hodgkin lymphomas


พบลักษณะ radiation pneumonitis and fibrosis
บริเวณ paramediastinal areas และ apices

a
b
รูปที่ 11 Paramediastinal RILD ในผู้ป่วยหญิง อายุ 27 ปี
เป็ น nodular sclerosing Hodgkin lymphoma. (a) CT
scan หลังจากรักษาด้วย radiation therapy 16 สัปดาห์
แสดง radiation pneumonitis พบ subtle paramediastinal
ground-glass opacities in the upper lobes. (b) CT scan
หลังจากรักษาด้วย radiation therapy 11 เดือน แสดง
paramediastinal radiation fibrosis in the upper lobes.
Differential diagnosis
1. Infection
2. Local recurrent neoplasm
3. Lymphangitic carcinomatosis

1. Infection
Chest radiograph มีการเปลี่ยนแปลง pulmonary
opacities เร็ว ก่อนการรักษาด้วย radiation therapy เสร็จสิ้น
และอยู่นอก port ที่รก
ั ษา
การฉายแสงบริเวณ supraclavicular ทำาให้เกิด RILD in
the lung apices และอาจสับสนกับ pulmonary tuberculosis
ซึ่งสามารถกระตุ้นได้จาก radiation และถ้าผล CT scan
พบ centrilobular nodules or branching linear structures
น่าจะเกิดจาก tuberculosis มากกว่า RILD
หากพบ cavity ในบริเวณของ radiation fibrosis น่าจะ
เกิดการ superimposed infection
a
b
รูปที่ 12 Pulmonary infection ในผู้ป่วยชาย อายุ 52 ปี
เป็ น poorly differentiated non-small cell lung cancer.
(a) CT scan ก่อนการรักษา แสดง a large mass in LLL
. (b) CT scan หลังจากรักษาด้วย radiation therapy 12
สัปดาห์ แสดง numerous poorly defined nodules อยู่นอก
port ที่ฉายแสง

2. Local tumor recurrent


การวินิจฉัย Local tumor recurrent ค่อนข้างยากใน
ช่วยที่มีการเปลี่ยนแปลง RILD อย่างไรก็ตามหากไม่มีการ
เปลี่ยนแปลง RILD แต่เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของ
fibrosis, เกิด homogeneous opacity โดยไม่มี air
bronchogram มีลักษณะ convex border หรือมี filling in
of bronchi ในบริเวณ radiation fibrosis ให้สงสัยว่าอาจมี
recurrent tumor
a
b
รูปที่ 13 Recurrent tumor ในผู้ป่วยหญิง อายุ 68 ปี เป็ น
stage IIIb adenocarcinoma of the right upper lobe. (a)
CT scan หลังจากรักษาด้วย radiation therapy 15 เดือน
แสดง radiation fibrosis in the right upper lobe. (b) CT
scan หลังจากรักษาด้วย radiation therapy 20 เดือน แสดง
radiation fibrosis มีลักษณะ convex contour บ่งบอกถึง
recurrent tumor.

a
b
รูปที่ 14 Recurrent tumor ในผู้ป่วยหญิง อายุ 61 ปี เป็ น
large cell carcinoma of the right upper lobe. (a) CT
scan หลังจากรักษาด้วย radiation therapy 7 เดือน แสดง
radiation fibrosis in the right upper lobe. (b) CT scan
หลังจากรักษาด้วย radiation therapy 11 เดือน แสดง soft
tissue filling the bronchi (ลูกศร) บ่งบอกถึง recurrent
tumor.

3. Lymphangitic carcinomatosis
มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วทั้งอาการของผู้ป่วย และลักษณะ
ทาง radiograph (septal lines, ground-glass opacities,
pleural effusion)

Reference
Choi YW, Munden RF, Erasmus JJ, et al. Effects of radiation
therapy on the lung: radiologic appearances and differential
diagnosis. RadioGraphics 2004; 24:985-998.

Park KJ, Chung JY, Chun MS, Suh JH. Radiation-induced


lung disease and the impact of radiation methods on
imaging features. RadioGraphics 2000; 20:83-98.

You might also like