Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 17

บทที่ 2

การกําหนดปญหาและวัตถุประสงคของการวิจัย

ในการวิจัยไมวาจะเปนสาขาใดก็ตามจุดเริม่ ตนของการวิจัยคือการกําหนดปญหาเพราะ
ปญหาวิจยั จะเปนประเด็นหรือขอสงสัยหรือคําถามที่ผูวิจัยตองการเพือ่ หาคําตอบให ถูกตอง
และจะแตกตางไปตามสาขาวิชานั้น ซึ่งจะมีลักษณะทีแ่ ตกตางกันไปจากปญหาทั่ว ๆ ไปคือ
ปญหาวิจยั ควรจะเขียนในรูปของคําถามที่แสดงถึงความสัมพันธระหวางปรากฏการณหรือตัว
แปรตั้งแตสองตัวขึ้นไป ดังนั้นปญหาวิจยั ตองแสดงใหเห็นชัดวาสามารถหาคําตอบไดโดยวิธี
เชิงประจักษ (นงลักษณ วิรชั ชัย, 2537) ที่ผูวิจัยสามารถแสวงหาขอมูลหรือหลักฐานตาง ๆ ได
เพื่อใหขอสรุปที่เปนคําตอบที่เชื่อถือได ซึ่งในบทนี้จะเปนการกลาวถึงการกําหนดปญหา
วัตถุประสงคของการวิจยั และการศึกษาเอกสารงานวิจยั ที่เกีย่ วของ ดังตอไปนี้

1. แหลงทีม่ าของปญหาวิจัย

ในการวิจัยผูว จิ ัยจะมีปญหาอยางมากวาจะหาปญหาวิจัยไดจากสถานทีใ่ ด อยางไร


ดังนั้นถาเรารูแหลงที่มาของปญหาจะทําใหผูวิจยั สามารถกําหนดปญหาวิจยั ไดรวดเร็วขึ้น ซึ่งก็มี
อยูหลายวิธีดังนี้
1.1 จากประสบการณของผูวิจัยที่เกิดจากการสังเกตสภาพการทํางาน เชน ความพึง
พอใจ ความไมพอใจในผลผลิตและผลิตภัณฑ หรือการดํารงชีวิตประจําวัน สิ่งแวดลอมตาง
ๆ ที่อยูรอบ ๆ ตัวเรา ที่ทําใหเกิดการขัดแยงหรือขอสงสัย ก็สามารถนํามา สรางปญหาการวิจยั
ได
1.2 จากทฤษฎีหรือแนวคิดที่สนใจทฤษฎี หรือแนวคิดจะชวยใหรวู า จะตองทําอะไร
เพิ่ม หรือเมื่อผูวิจัยมีขอสงสัยในทฤษฎีนนั้ ก็จะทําใหเกิดปญหาวิจัยใหม ๆ ขึ้นมาได
1.3 จากการอานหนังสือ วารสารที่เกี่ยวของกับการวิจัย บทคัดยองานวิจยั ทําให
ทราบขอคนพบของงานวิจยั และขอเสนอเเนะที่ผูวจิ ัยไดเสนอไว โดยการนําความคิดเห็น
ขอเสนอแนะนั้นมาเปนปญหาวิจยั ได

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


24

1.4 จากการสอบถามจากผูรู ผูเชี่ยวชาญที่คลุกคลีกับงานวิจยั ในสาขานั้น ๆ ทําให


ทราบรายละเอียด จุดออน ขอบกพรอง ในศาสตรของตน แลวนําความคิดเห็น ขอเสนอแนะ
ของทานเหลานั้นมาเปนแนวทางในการตัง้ ปญหาการวิจยั
1.5 จากความตองการขององคกร แหลงทุน หรือหนวยงานตาง ๆ ที่มีการวางกรอบ
ของงานวิจยั ไววาตองการศึกษาอะไร ตองการแกปญหาหรือตองการหาคําตอบ ซึ่งอาจจะ ทํา
ใหไดทนุ วิจัยดวย
1.6 จากการเขารวมประชุมสัมมนาทางวิชาการที่องคกรหรือหนวยงานตาง ๆ จัดขึ้น
เพราะในการประชุมทางวิชาการซึ่งอาจมีการเสนอทฤษฎีหรือองคความรูใหม ๆ ที่นาสนใจ
และนํามาสูปญ  หาการวิจยั ได

2. การเลือกปญหาในการวิจัย

ในการตัดสินใจวาจะเลือกปญหาวิจยั ผูว จิ ัยควรพิจารณาหรือศึกษาใหรอบคอบกอนวา


ในการวิจัยในเรื่องนั้น ๆ มีความเปนไปได เหมาะสมกับความรูความสามารถของผูวิจัย และ
สามารถทําได มีคุณคา หรือมีประโยชนตอ สังคม ดังนัน้ ในเลือกปญหาการวิจัยจึงควรพิจารณา
จากองคประกอบตอไปนี้ (ยุทธพงษ กัยวรรณ, 2543, หนา 40) ดังแสดงในภาพที่ 2.1
2.1 ปญหาที่เลือกมาจะตองมาจากความสนใจของผูวิจัย ถาเปนปญหาที่ผูอื่น
กําหนดใหหรือไดมาจากผูอนื่ ผูวิจยั จะตองสรางจิตสํานึก แรงจูงใจและทัศนคติทดี่ ีในสิ่งที่จะ
ทํานั้นใหได นอกจากผูว ิจยั สนใจแลว ปญหาวิจยั ที่จะเลือกมาศึกษาวิจัยนัน้ ตอง
2.1.1 เปนประโยชนตอตนเองและสวนรวม
2.1.2 ทันตอเหตุการณและอยูในความสนใจของคนทัว่ ไป
2.1.3 อยูในสาระหรือผลงานวิจัยในเรื่องนั้น ๆ เพียงพอ
2.1.4 ตองทราบถึงสิ่งที่ตองการศึกษาได เชน ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
2.1.5 ไมมีผูใดทํามากอน ถามีผูทําวิจัยไว ทําไวในแงมุมใด และเหลือสิ่ง
ใดที่ยังไมไดทาํ
2.2 เมื่อสนใจปญหานัน้ แลว ตอไปก็ตองมาวางแนวคิดวา จะดําเนินการศึกษา
อยางไร ในการวิจัยนั้น ผูวิจัยจะทําเรื่องอะไร ผูวิจัยจะตองมองเห็นแนวทางที่จะทําการวิจัย
ตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดกระบวนการวิจยั ของเรื่องนั้น ๆ ไวอยางมีระบบทั้งนี้เพราะงานวิจยั มีวิธี
การศึกษาหลากหลายวิธีการซึ่งแตละวิธีก็มรี ะเบียบวิธี (methodology) แตกตางกัน วิธีการจะ

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


25

ชวยใหผูวจิ ัยเขาใจมองเห็นวิธีการตั้งแตตน จนสิ้นสุดกระบวนการวิจัยนั้น ผูวิจยั จะตองอาน


จะตองศึกษางานวิจยั ในลักษณะคลาย ๆ กับที่ตนเองกําลังจะทําใหมาก ๆ

ตอบปญหาวิจยั ผลการวิจัย

เวลาที่ทํา
การเลือกปญหา ดําเนินการวิจยั

g มีเวลามาก –
นอย

งบประมาณ
ในการวิจัย
g ทุนในการทําวิจัย
g เพียงพอหรือไม
- มาจากความสนใจ
ตองมองเห็นแนว
- เปนประโยชน
ทางในการดําเนินการ
- ทันตอเหตุการณ
- อยูในความสนใจของคนทัว่ ไป
- อยูในสาขาที่ศกึ ษา g จะทําอยางไร
- ไมซ้ําผูอื่น g ใชระเบียบวิจยั แบบใด
- เปนสิ่งใหม
- ไมกวาง - ไมแคบเกินไป

ภาพที่ 2.1 แสดงการเลือกปญหาประกอบการตัดสินใจ


ที่มา (ยุทธพงษ กัยวรรณ, 2543, หนา 40)

2.3 เมื่อไดปญหาและมั่นใจในกระบวนการในการศึกษาแลว ขั้นตอนตอไปก็จะตอง


พิจารณาดูวางบประมาณที่มอี ยูมากนอยเพียงใด เพียงพอหรือไมและมีแหลงทุนทีใ่ ดบางที่จะ
สนับสนุน (subsidise)

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


26

2.4 องคประกอบที่สําคัญตอนหนึ่ง คือ เวลาที่จะทํามาก – นอยเพียงใด โดยเฉพาะ


อยางยิ่งงานวิจยั ระดับบัณฑิตศึกษานัน้ เวลาทําวิจยั เหลืออยูกี่ภาคเรียน กี่ป จะเพียงพอหรือไม
ดังนั้นจึงพิจารณาสวนนี้ใหรอบคอบ หลังจากที่เขาใจวิธีการดําเนินการวิจัยแลวเวลาที่เหลืออยู
จะนําไปเปนขอมูลในการวางแผนการวิจัยตอไป
รวีวรรณ ชินะตระกูล (2538, หนา 17) ไดกลาวถึงการกําหนดประเด็นปญหาทีจ่ ะ
ศึกษาในการวิจัยจะตองชัดเจนจึงจะเปนตัวบงชี้แนวทางในการวิจัยได โดยมีหลักการกําหนด
ปญหาในการวิจัยดังนี้
2.4.1 ศึกษาเรื่องที่เกีย่ วของกับปญหาที่จะศึกษา
2.4.2 เปนประเด็นทีน่ าสนใจ
2.4.3 พยายามเลือกปญหาใหมที่ไมซ้ํากับปญหาที่มีผูวจิ ัยแลว แตถาจําเปน
และสนใจเรื่องที่มีผูวิจัยทําไวแลว ก็อาจศึกษาซ้ําโดยเปลี่ยนระเบียบวิธีวิจัยใหมกไ็ ด
2.4.4 กําหนดขอบเขตของปญหาใหชดั เจน
2.4.5 ใชภาษาที่เปนราชการ ไมใชภาษาพูดมีความกระทัดรัด ใชคําถูกตอง
2.4.6 มีขอมูลอางอิงทําใหนาเชื่อถือ เพือ่ ใหผูอานจะไดเขาใจวาเปนปญหาที่
มีพื้นฐานมาจากขอมูลเชิงประจักษ มิใชเกิดจากความรูสึกหรือจินตนาการของผูเขียน
2.2.7 ไมยืดยาวจนนาเบื่อหนาย
2.4.8 จัดลําดับประเด็นของปญหาใหเปนขั้นตอนตอเนื่องกัน โดยมีวิธีการ
เขียน “การชักแมน้ําทั้งหา” วาการวิจัยเรื่องนี้มีความสําคัญตอการนําผลการวิจัยไปใช การเขียน
สวนนี้ทวั่ ไปจะเริ่มจากปญหาที่กวาง ๆ จากภูมิหลังทั่วไปของปญหาและจบดวยขอความที่
กลาวถึงปญหาอยางรัดกุม
2.4.9 เปนประเด็นทีน่ าจะเปนประโยชนเมื่อทําการวิจัยเสร็จแลว
ผลการวิจัยสามารถนําไปใชประโยชนไดจริง ๆ
2.4.10 อยูในวิสยั ที่ผูวิจยั นาจะทําไดทั้งในแงของเวลา คาใชจายตาม
ความสามารถของผูวิจัย

3. การกําหนดปญหาการวิจัย

เมื่อกําหนดหัวขอปญหา (determination of research problems) ในการวิจัยได


ตามความเหมาะสมแลว ขั้นตอไปจะตองกําหนดประเด็นปญหาของการทําวิจัยใหชดั เจนหรือ ตี

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


27

กรอบปญหาใหอยูในวงจํากัด ซึ่งการตีกรอบปญหาใหชดั เจนนีจ้ ะชวยทําใหผวู ิจัยกําหนด


วัตถุประสงคของการวิจยั (determination of research objective) ออกมาไดเดนชัดเพื่อจะ
เปนแนวทางในการออกการแบบวิจยั (research design) และวางแผนงานของการวิจัยในขั้น
อื่น ๆ ตอไป
โดยทั่วไปแลวหัวขอวิจัยหนึง่ ๆ จะมีสภาพทั่ว ๆ ไปทีห่ ลากหลาย อันอาจจะเปนตัว
สงผลตอการเกิดปญหา บางครั้งจึงเรียกสภาพทั่ว ๆ ไปที่กอใหเปดปญหานี้วา สภาพปญหา
หรือสภาพปจจุบันของปญหากับปญหาวิจยั เปนคนละอยางกันสภาพปญหาจะเกิดกอนปญหา
วิจัย กลาวคือ ปญหาวิจัยจะเปนมโนภาพ (concept) ของสภาพปญหา สภาพปญหาอาจจะ
ตองกลาวถึงหรือบรรยายเปนขอความยาวเปนเรื่องเปนราวอยางตอเนื่อง บอกถึงที่มาของปญหา
วากอนเกิดปญหานั้น มีที่มาอยางไร แตปญ  หาวิจยั เปนการสรุปหรือสังเคราะหภาพรวมทั้งหมด
ของสภาพปญหาและปญหาวิจัยที่สังเคราะหไดมานี้ถือวาเปนมโนภาพของการวิจยั และกําหนด
เปนหัวขอวิจยั หรือหัวเรื่องวิจัยตอไป มโนภาพของปญหาวิจยั นี้จะมีตัวแปรในปญหามาเกี่ยว
กันที่จะนําไปสูการศึกษาวิจยั ตอไป (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538, หนา 27 อางถึง
ใน ยุทธพงษ กัยวรรณ, 2543, หนา 41) ไดเสนอวา การกําหนดปญหาวิจยั คือการคนหา
ปญหาที่ตองการหาคําตอบ (discovery of a problem in need of solution) นอกจากนี้
ไอแซก (Isaac, 1974, pp. 2 อางถึงใน ยุทธพงษ กัยวรรณ, 2543, หนา 41) ยังไดกลาว
สนับสนุนวาการกําหนดปญหาวิจยั ก็คือการกําหนดประเด็นที่สามารถหาคําตอบไดดงั นั้นใน
การกําหนดปญหาในการวิจยั ยุทธพงษ กัยวรรณ จึงไดสรุปวา การกําหนดปญหาในการวิจัย
เปนการวิเคราะห สภาพปญหาตาง ๆ หรือสภาพตาง ๆ ที่เปนอยูในปจจุบันที่เปนปญหาแลว
สังเคราะห (synthesis) เพือ่ ใหไดประเด็น (issue) ของปญหา ซึ่งมีตัวแปร (variable) เขา
มาเกี่ยวพันและจะนําไปสูการกําหนดหัวขอวิจัยหรือหัวเรื่องตอไป ดังภาพที่ 2.2

สภาพปญหา
หัวขอปญหาวิจัยคราว ๆ
หรือหัวขอที่สนใจ
ปญหาวิจยั
หัวขอปญหา / หัวขอวิจยั ที่แนนอน

ภาพที่ 2.2 แสดงการกําหนดปญหาการวิจัย


ที่มา (ยุทธพงษ กัยวรรณ, 2543, หนา 41)

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


28

เมื่อผูวิจัยไดศกึ ษาสภาพปญหาหรือสภาพในปจจุบนั ของปญหาในทุกดานอยาง


กวางขวางเพียงพอ ปญหาวิจัยชัดเจน มีหลักการ ทฤษฎีหรืออุดมการณที่เปนตัวบงชี้ และถา
ดําเนินการวิจยั จะดําเนินการในลักษณะใด หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ คําถามวิจัยนั่นเอง จากนั้น
ใหดําเนินการเขียนขอความเปนมาหรือภูมหิ ลังของการวิจัย ซึ่งการเขียนภูมหิ ลังของการวิจยั นั้น
จะตองเขียนประเด็นที่เปนปญหาจริง ๆ ตรงประเด็น มีขอมูลอางอิงที่นาเชื่อถือและสามารถ
ตรวจสอบได จัดลําดับประเด็นเปนขั้นตอนตอเนื่องตลอด โดยการเขียนภูมหิ ลังของการวิจยั
ผูวิจัยจะตองเขียนจากกวางไปหาแคบอยางตอเนื่อง และควรมีสวนประกอบ ตาง ๆ ดังภาพที่
2.3

สภาพปญหา กวาง

ปญหาการวิจัย

หลักการ / ทฤษฎี

คําถามวิจัย

ชื่อหัวขอวิจัยที่สนใจ
แคบ

แนวทางการเขียนความเปนมาของการวิจยั

ภาพที่ 2.3 แสดงกรอบการเขียนความเปนมาของการวิจัย


ที่มา (ยุทธพงษ กัยวรรณ, 2543, หนา 42)

ขอเสนอแนะกอนที่จะไปเขียนความเปนมาของการเขียนความเปนมาของการวิจยั
ผูวิจัยควรจะตอบตัวเองใหชดั เจนดวยคําตอบสั้น ๆ ในประเด็นปญหา คําถามการวิจัยและชื่อ
หัวขอที่จะศึกษา ดังตัวอยางในภาพที่ 2.4

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


29

สภาพปญหา กาบกลวยจากลําตนกลวย ทีต่ ัดเอาเครือกลวย แลวตองตัด


ตนทิ้งไป ซึ่งมีจํานวนมาก

ปญหา ภาชนะบรรจุภณ
ั ฑที่ใชโฟม พลาสติก ยอยสลายทําลายยาก

ถาจะนํากาบกลวยจากลําตนกลวย ที่ตดั ทิ้งมาทําเปนภาชนะ


คําถาม
บรรจุภัณฑจะไดหรือไม

ชื่อเรื่อง ศึกษาการบรรจุภณ
ั ฑจากกาบกลวย

สภาพปญหา ผูสูงอายุอาศัยในบานพักคนชรา มีอัตราความเครียดเพิ่มขึ้น

ผูสูงอายุที่อาศัยในบานพักชนชรามีความเครียด เหงา ไมมี


ปญหา
ความสุข สงผลตอสุขภาพและอายุสั้นลงในที่สุด

คําถาม จะนําเอาชีวะมาบําบัดปญหาของกลุมผูสูงอายุนี้อยางไร

การวิเคราะหองคประกอบ เพื่อสรางหลักสูตรอาชีวะบําบัด
ชื่อเรื่อง
สําหรับผูสูงอายุ

ภาพที่ 2.4 แสดงแนวการคิดหาคําตอบสั้น ๆ ในประเด็นปญหา


คําถามวิจัย และชื่อหัวขอที่จะศึกษา
ที่มา (ยุทธพงษ กัยวรรณ, 2543, หนา 43)

ตอไปนี้เปนการนํากรอบการเขียนความเปนมาของการวิจัยมาขยายขอความ (ยุทธ
พงษ กัยวรรณ, 2543, หนา 45-46) ดังตัวอยางการขยายกรอบการเขียนความเปนมาของการ
วิจัยตอไปนี้

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


30

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับปจจุบนั
สภาพปจจุบนั (2540-2544) ไดกลาวถึง การเสริมสรางโอกาสใหกับ
ประชาขนผูดอ ยโอกาสกลุมใหญ ๆ อยางทัว่ ถึงกัน ใน
จํานวนกลุมผูดอยโอกาสนี้ กลุมผูสูงอายุที่ยากจน ไมมี
ญาติ ขาดคนดูแล เปนอีกกลุมหนึ่งที่ตองไดรับความ
ชวยเหลือ คุมครองและไดรบั บริการทุกดานอยางทั่วถึงและ
เปนธรรม สงเสริมใหเห็นความสําคัญและตองเอาใจใส
ดูแลผูสูงอายุอยางถูกตองในประเทศไทยมีบานพักคนชรา
6 แหง แตละแหงนี้มีผูสูงอายุรวมกันประมาณ 1,800 คน
และมีแนวโนมจะเพิ่มขึน้ ทุกป
ผูสูงอายุซึ่งเปนวันที่ผานการทํางานหนักมาแลวเกือบ
อุดมการณ / หลักการ
ตลอดชั่วอายุ ควรจะไดรับการเอาใจใสดแู ลจากสังคมเปน
อยางดี ใหมีความสุขทั้งทางดานรางกายและจิตใจ
ผูสูงอายุที่อาศัยในบานพักคนชราแตละวันไมมกี ิจกรรม
ปญหาวิจยั /
ทําแตละวันมีแตนั่ง ๆ นอน ๆ เพราะคนสวนใหญคิดวา
กําหนดปญหาวิจัย
ผูสูงอายุวัยทํางาน คนเหลานั้นจึงไมไดทํากิจกรรมอะไรใน
แตละวัน ทําใหวางมาก คิดมาก เกิดความกลัดกลุม ขาด
ความอบอุน เกิดความเครียด ซึ่งเปนปญหาทางดานจิตใจ
ซึ่งจะสงผลตอสุขภาพดานรางกาย
คําถามวิจัย จะนําเอาชีวะมาบําบัดปญหาของกลุมวันสูงอายุ ใหมี
ความสุขคลายความเครียดและเพื่อเพิ่มผลผลิตไดอยางไร
อาจตั้งไดหลายชื่อ เชน
1. การวิเคราะหองคประกอบ เพื่อสรางหลักสูตรอาชีวบําบัด
หัวขอวิจัย
สําหรับคนชราที่อาศัยอยูในบานพักคนชรา หรือ
หรือหัวขอปญหา
2. การสรางหลักสูตรอาชีวบําบัดที่เหมาะสม สําหรับคนชราที่
อาศัยอยูในบานพันคนชรา หรือ
3. การสรางหลักสูตรอาชีวบําบัด สําหรับผูสูงอายุ เพื่อใหเพิ่ม
ผลผลิตเฉพาะผูที่อาศัยอยูในบานพักคนชรา เปนตน

4. ลักษณะของปญหาการวิจัยที่ดี

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


31

ในการวิจัยในดานตาง ๆ ที่ผูวิจัยจะทําการวิจัยนั้นผูวจิ ัยจะตองคํานึงถึงวาปญหาที่เลือก


นั้นเปนปญหาวิจัยที่มีลกั ษณะอยางไร ดังนั้นในผูว ิจัยควรจะทราบวาปญหาวิจยั ที่ดีควร มี
ลักษณะที่สําคัญอยางไร ซึ่งในที่นี้จะขอกลาวถึงวาปญหาวิจัยทีด่ ีควรมีลักษณะที่สําคัญ อยางไร
ดังนี้
4.1 เปนปญหาที่สามารถทําการวิจัยได (researchable problem) ดวย
กระบวนการวิจัย ขอบเขตของปญหาการวิจัยมีความเปนไปไดสําหรับผูวิจัยที่จะหาคําตอบได
โดยวิธีการเชิงประจักษ ในขอบเขตของความรูความสามารถของผูวิจัย และทรัพยากรที่มีอยู
4.2 เปนทรัพยากรที่มีผลกระทบตอคนหรือสังคมสวนใหญ ลักษณะของปญหาจะสั่ง
สมเปนเวลานาน หรือมีการขยายในวงกวางมากขึ้นเรื่อย ๆ ไมสามารถแกไข หรือขจัดใหหมด
ไปไดงาย ๆ เชน ปญหายาเสพติด ปญหาการทุจริต หรือคอรัปชั่น ปญหาการซื้อสิทธิ์ขาย
เสียง ปญหาสิ่งแวดลอมเปนพิษ ปญหาความยากจนของประชาชน ปญหาคุณภาพการศึกษา
เปนตน
4.3 เปนปญหาที่มีความสําคัญ (significance) เปนปญหาตอสังคมและชวย
เสริมสราง หรือขยายพรมแดนขององคความรู ที่ทําใหศาสตรสาขาตาง ๆ มีความกาวหนาทาง
วิชาการและมีความเขมแข็งมากยิ่งขึ้น
4.4 เปนปญหาที่ไมเหมือนหรือซ้ําซอนกับผูอื่น (uniqueness) เปนเรื่องที่ริเริ่มใหม
ที่ผูวิจัยตองแสดงไดวาการตอบปญหาวิจยั นั้น มีสวนที่ยังไมเคยมีผใู ดทํามากอน ในกรณีที่
ปญหาวิจยั ที่มผี ูทําวิจัยไวแลว ผูวิจัยตองมีเหตุผลที่มีความจําเปนที่ตอ งทําวิจัยในปญหานั้นอีก
เชน ยังมีคําตอบที่เปนขอขัดแยง หรือยังไมไดขอสรุปสุดทายที่ชัดเจน
4.5 เปนปญหาที่วิธีการไดมาซึ่งคําตอบของปญหาวิจัยนั้นจะตองเปนไปตามหลัก
จริยธรรม (ethics) หรือจรรยาบรรณนักวิจัย ไมกระทบกระเทือนหรือเกิดผลเสียหายตอผูอื่น
4.6 เปนปญหาที่แสดงถึงความสัมพันธระหวางตัวแปรตั้งแตสองตัวขึ้นไป ซึ่งจะทํา
ใหเกิดแนวทางที่ชัดเจนในการดําเนินงานวิจัย
4.7 เปนปญหาที่มีความชัดเจนในประเด็นและขอบเขตที่ศึกษา ประเด็นปญหาวิจยั ที่
มีความชัดเจนจะทําใหผูวิจยั ทราบขอบเขตของการวิจยั ทีช่ ัดเจนวาจะศึกษาปญหาเรื่องใดและไม
ศึกษาเรื่องใดบาง ปญหาวิจัยนัน้ มีขอบเขตกวาง หรือแคบมากนอยเพียงใด ซึ่งจะชวยใหการ
วิจัยมุงคนหาคําตอบไดครอบคลุมและตรงประเด็นปญหาที่ศึกษามากยิ่งขึ้น
การเรียนรูลักษณะปญหาวิจยั ที่ดีดังกลาวขางตนจะชวยใหผูวิจยั เลือกปญหาที่จะวิจยั ได
อยางรอบคอบ สามารถดําเนินการวิจัยใหเกิดประโยชนไดอยางคุมคา

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


32

5. ขอบกพรองในการเลือกปญหาการวิจัย

ในการเลือกปญหาการวิจยั แมวาผูวิจยั ไดใชเกณฑในการคัดเลือกปญหาวิจยั แลวก็ตาม


ก็ยังพบวามีขอบกพรองเกิดขึน้ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นจากผูว ิจยั ดังนี้
5.1 เลือกปญหาวิจยั ตามผูอ ื่น หรือตามความสําคัญตามสถานการณ โดยขาดการ
พิจารณาไตรตรองดวยความรอบครอบวา ปญหาวิจยั นั้นสอดคลองกับความสนใจ และ
ความสามารถของตนเองหรือไม
5.2 กําหนดปญหาวิจยั กวางเกินไป ทําใหขาดความชัดเจนในประเด็นปญหาที่ตองการ
คนหาคําตอบ และแนวทางดําเนินการวิจยั
5.3 ผูวิจยั ไมไดวิเคราะหปญหาใหถูกตองชัดเจน ทําใหไดปญหาวิจัยในประเด็น
ปญหาที่ตองการคนหาคําตอบ และแนวทางดําเนินการวิจยั ผิดพลาด
5.4 ผูวิจัยไมไดศึกษาเอกสาร และงานวิจัยทีเ่ กีย่ วของอยางเพียงพอที่จะกําหนด
ประเด็นปญหาวิจัยและกรอบแนวคิดในการดําเนินการวิจัยไดอยางชัดเจน
5.5 ผูวิจัยไมมีความรูความสามารถในเรื่องที่จะทําการวิจัย ทั้งนี้เพราะไมได ประเมิน
ศักยภาพของตนเองใหสอดคลองเหมาะสมกับระดับปญหาวิจัย ทําใหเกิดปญหาและอุปสรรค
ในการดําเนินการวิจยั
5.6 ผูวิจัยเลือกปญหาวิจัย โดยขาดการวางแผนและการดําเนินการวิจัยที่ดี

6. หลักในการเขียนปญหาการวิจัย

การเขียนปญหาการวิจยั เปนการแสดงใหเห็นถึงประเด็นปญหาที่ตองการคนหาคําตอบ
จึงตองใหมีความครอบคลุมและชัดเจน ซึง่ อาจเขียนได 4 รูปแบบ ดังนี้
6.1 การเขียนในรูปประโยคคําถาม การเขียนตามแบบนี้เปนการเขียนปญหาวิจยั เปน
ประโยคคําถามที่ใหชัดเจนและเขาใจงาย เขียนได 3 ลักษณะคือ
6.1.1 การเขียนเปนประโยคคําถามเดียว
6.1.2 การเขียนเปนประโยคคําถามหลายประโยค โดยการเขียนเปนประโยค
คําถามยอยหลาย ๆ ประโยค
6.1.3 การเขียนเปนประโยคคําถามหลักแลวตามดวยประโยคคําถามยอย

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


33

6.2 การเขียนในรูปประโยคบอกเลา การเขียนตามรูปแบบนี้เปนการเขียนปญหา


วิจัยเปนประโยคบอกเลา ซึ่งอาจเขียนเปนประโยคเดียว หรือประโยคยอยหลายประโยคก็ได
เขียนได 4 ลักษณะ
6.2.1 การเขียนเปนประโยคบอกเลาเดียว
6.2.2 การเขียนประโยคบอกเลาเดียวแตมีหลายตอน
6.2.3 การเขียนประโยคบอกเลาหลาย ๆ ประโยค
6.2.4 การเขียนเปนประโยคบอกเลาหลักแลวตามดวยประโยคบอกเลายอย
6.3 การเขียนในรูปประโยคบอกเลาแลวตามดวยประโยคคําถาม การเขียนตาม
รูปแบบนี้เปนการเขียนปญหาวิจัยเปนประโยคบอกเลาแลวตามดวยประโยคคําถาม
6.4 การเขียนในรูปสมมติฐานที่เปนกลาง (null hypothesis) การเขียนตาม
รูปแบบนี้ เปนการเขียนปญหาวิจยั ในลักษณะสมมติฐานที่เปนกลาง ซึ่งอาจเขียนเปน
สมมติฐานเดียวหรือหลายสมมติฐานก็ได

7. การกําหนดวัตถุประสงคของการวิจัย

ในการวิจัยการกําหนดวัตถุประสงคของการวิจัยเปนขั้นตอนที่มีความสําคัญขั้นตอน
หนึ่ง เพราะจะเปนการบอกวาในการวิจยั ในเรื่องนั้นเราตองการศึกษาเรื่องใด ดังนั้นในการ
กําหนดวัตถุประสงคจะตองสอดคลองกับเรื่องที่เราจะศึกษา โดยจะตองกําหนดใหชัดเจนและ
ตองสัมพันธกับขอบเขตของปญหาที่จะศึกษาดวย เพื่อเปนแนวทางในดําเนินการวิจยั ตอไป ใน
การกําหนดวัตถุประสงคของงานวิจยั สิ่งที่ควรคํานึงมีดังนี้
7.1 วัตถุประสงคของการวิจัยตองสอดคลองกับปญหาวิจัยหรือคําถามวิจัย
7.2 การเขียนวัตถุประสงคของการวิจยั จะตองกําหนดในลักษณะของสิ่งที่จะ
กระทําเพื่อใหไดมาในสิ่งที่อยากรูอยากเห็น หรือตอบคําถามมากกวาจะไดผลลัพธของสิ่งที่
อยากรูอยากเห็นมาตั้งเปนวัตถุประสงค
7.3 การเขียนวัตถุประสงคของการวิจัยตองสอดคลองกับรูปแบบของการวิจยั
7.4 การเขียนวัตถุประสงคของการวิจัยตองระบุใหชดั เจน ครอบคลุมปญหาการ
วิจัยหรือคําถามการวิจยั ครบทุกขอในรูปของประโยคบอกเลา

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


34

8. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ภายหลังจากการที่ผูวิจัยสามารถระบุปญหาการวิจยั แลวขั้นตอนที่มีความสําคัญอีก
ขั้นตอนหนึ่งก็คือการศึกษาเอกสาร ทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกี่ยวของ เพราะในขั้นนี้จะทําใหผูวจิ ัย
เห็นแนวทางในการดําเนินการวิจัย โดยจะทราบวาเรื่องที่เราจะทําวิจยั นั้นมีใครทําไว อยางไร
มีตัวแปรเปนอยางไร ระเบียบวิธีวจิ ัยทําอยางไร พบอะไรบาง และมีขอเสนอแนะอยางไร
ดังนั้นการศึกษาเอกสารอางอิงและงานวิจยั ที่เกีย่ วของก็คือการที่ผูวิจัยไดอานหรือศึกษาเก็บ
ประเด็นตาง ๆ แนวคิดและทฤษฎี วิธีการ จากตํารา งานวิจัย ตลอดจนเอกสารตาง ๆ ที่
สามารถนํามาอางอิงได ซึ่งในหัวขอนี้จะกลาวถึงพอสังเขปดังนี้
8.1 ประโยชนของการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วของ ในการศึกษาเอกสารและ
งานวิจยั ที่เกีย่ วของ มีประโยชนดังนี้ (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2543, หนา 65)
8.1.1 สําหรับผูที่ไมไดหวั ขอวิจยั เมือ่ อานเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวของ
แลว จะชวยใหสามารถเลือกปญหาและหัวของานวิจัยทีไ่ มซ้ําซอนกับผูอื่น
8.1.2 สําหรับผูที่ไดหัวของานวิจยั แลว จะทําใหไมเกิดสภาพตายตอน
จบ กลาวคือนักวิจัยบางทานไมสนใจอานเอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วของ เมื่อดําเนินการวิจัย
ไปเเลวพบวางานวิจยั ที่ทํานัน้ มีคําตอบเปนที่รูจักกันอยูแ ลว เนื่องจากมีผูวิจยั แลว ดังนัน้
การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วของจึงมีความสําคัญและเปนประโยชนตอผูว ิจยั พอสรุปได
ดังนี้
1) ชวยใหมองปญหาที่จะทําวิจัยใหเเจมชัดขึ้น
2) ชวยใหไดแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับตัวแปรที่จะ
ศึกษา
3) ชวยใหกําหนดวิธีการวิจัยไดเหมาะสมกับปญหาวิจยั
4) ชวยใหนยิ ามปญหา นิยามตัวแปร และกําหนดขอบเขตของงานวิจยั
ไดแจมชัดและเหมาะสมมากขึ้น
5) ชวยสรางกรอบความคิดในการวิจยั
6) ชวยใหตั้งสมมุติฐานไดสมเหตุสมผล
7) ชวยใหเลือกเทคนิคตัวอยางไดเหมาะสม
8) ชวยใหเลือกเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลไดอยางเหมาะสม
9) ชวยใหใชสถิติวิเคราะหขอมูลไดอยางถูกตองเหมาะสม
10) ชวยใหไดแนวทางในการแปลผลและอภิปรายผล

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


35

11) ชวยใหไดแนวทางในการเขียนรายงานการวิจัย
8.2 แหลงของเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ แหลงที่ใชประโยชนมากทีส่ ุด
สําหรับการศึกษาคนควาก็คือหองสมุดของทุกสถาบันการศึกษา ที่เปนทั้งเอกสารและบริการ
สืบคนขอมูลโดยผานทางเครือขายคอมพิวเตอร สําหรับเอกสาร หนังสือที่มขี อมูลอยูใน
หองสมุดมีดังนี้
8.2.1 บทคัดยองานวิจยั
8.2.2 รายงานการวิจยั หรือวิทยานิพนธ การใชวิทยานิพนธ ผูใชจะตอง
เลือกใชอยางระมัดระวัง ทั้งนี้เพราะคุณภาพของวิทยานิพนธแตกตางกัน เนื่องจากอาจารยแตละ
คณะ แตละสถาบัน มีนโยบายเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธไมเหมือนกัน คุณภาพของ
วิทยานิพนธจงึ แตกตางกัน หากผูวจิ ัยนําวิทยานิพนธที่มีคุณภาพต่ํามาเปนตัวอยาง มาศึกษาอาจ
พบกับอุปสรรคและปญหาตาง ๆ ในการทําวิจัยได
8.2.3 วารสารที่เกี่ยวของกับสาขาที่ทําการวิจัย
8.2.4 หนังสือหรือตําราที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับระเบียบวิธวี ิจัย
8.2.5. พจนานุกรม ศัพทานุกรมและปทานุกรม ที่รวบรวมศัพทเพื่ออธิบาย
ความหมายของศัพททางดานตาง ๆ ไว เชนทางการศึกษา ทางวิทยาศาสตร เปนตน
8.2.6 คูมือที่จัดทําขึ้นเปนครั้งคราว เพื่อเสนอหรือสังเคราะหงานวิจัยหรือ
บทความทางวิชาการในสาขาใดสาขาหนึ่งที่เขียนโดยผูทรงคุณวุฒิ
8.2.7 รายงานประจําป เปนเอกสารที่หนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐเเละเอกชน
จัดทําขึ้นเพื่อรวบรวมขาวสาร เหตุการณตา ง ๆ ที่เปนความกาวหนาของหนวยงานนัน้ ในรอบป
ที่ผานมา
8.2.8 การสืบคนจากสื่ออิเล็กทรอนิกส เชน ซีดีรอม อินเทอรเนต เปนตน
8.3 หลักเกณฑในการเลือกเอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วของ ในการเลือกเอกสารและ
งานวิจยั ที่เกีย่ วของมีขอที่ควรคํานึงถึงดังนี้
8.3.1 พยายามเลือกเอกสารที่มีเนื้อหาสาระที่เกีย่ วของกับปญหาวิจัย และ
หัวขอในการวิจัย และประโยชนตองานวิจัยของตนเอง
8.3.2 พิจารณาเนื้อหาสาระของเอกสารในแงที่ทันสมัย ความถูกตอง ความ
ชัดเจนและความเชื่อถือได
8.3.3 วางแผนการคัดเลือกเอกสาร โดยพยายามเริม่ ศึกษาเอกสารที่เปน
ผลงานวิจัยที่ศกึ ษาตัวแปร หรือปญหาเดียวกันกอนทีละตัวแปร เพื่อจัดระบบเอกสารใหงายใน
การ คนควาเพิม่ เติมและงายตอการอาน

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


36

8.3.4 การเลือกงานวิจยั ที่เกี่ยวของควรวิเคราะหคณ


ุ ภาพของงานวิจัย กอน
แลวพยายามเลือกงานวิจัยที่เกี่ยวของโดยตรงกอน หากมีงานวิจัยที่เกี่ยวของโดยตรงมากพอก็
ไมจําเปนตองศึกษางานวิจยั ที่เกี่ยวของทางออม
8.3.5 ศึกษาเอกสารและผลงานวิจยั แบบวิเคราะห ดูความสัมพันธระหวาง
เรื่องที่ศึกษา ผูเขียนเขียนขอความขัดแยงกับตนเองหรือไม ขอมูลไดมาอยางไร ประชากรหรือ
กลุมตัวอยางมีมากนอยเพียงไร เพียงพอตอการตอบคําถามหรือไม ความนาเชื่อถือเปนอยางไร
นาเชื่อถือหรือไม ขอสรุปผลอยางเปนเหตุเปนผลหรือไมอยางไร เปนตน

9. สรุป

งานวิจยั จะเริ่มตนไดหรือไมนั้นสิ่งที่สําคัญคือปญหาการวิจัยและการกําหนดหัวขอวิจัย
ซึ่งในการที่จะไดมาของปญหานั้นผูว ิจัยจะตองทราบที่มาของแหลงปญหาการวิจัย วิธีการเลือก
ปญหา ลักษณะของปญหาที่ดี แลวเลือกปญหาที่สนใจ และสามารถดําเนินการวิจัยใหเกิด
ประโยชนไดอยางคุมคา และจะตองกําหนดวัตถุประสงคของการวิจัยใหชัดเจน สอดคลองกับ
ปญหาวิจยั หรือคําถามวิจัย ตองกําหนดในลักษณะของสิ่งที่จะกระทําเพื่อใหไดมาในสิ่งที่อยาก
รูอยากเห็นหรือตอบคําถามมากกวาจะไดผลลัพธของสิ่งที่อยากรูอยากเห็นตอง สอดคลอง
กับรูปแบบของการวิจยั ครอบคลุมปญหาการวิจยั หรือคําถามการวิจัยครบทุกขอในรูปของ
ประโยคบอกเลา และสามารถตอบคําถามของปญหาได
การศึกษาจากเอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วของ นั้นศึกษาไดจากสื่อตาง ๆ ที่อยูใ น
หองสมุด ดังนี้
9.1 บทคัดยองานวิจยั
9.2 รายงานการวิจยั หรือวิทยานิพนธ
9.3 วารสารที่เกี่ยวของกับสาขาที่ทําการวิจัย
9.4 หนังสือหรือตําราที่มีเนื้อหาเกีย่ วกับระเบียบวิธีวิจยั
9.5 พจนานุกรม ศัพทานุกรมและปทานุกรม
9.6 คูมือ
9.7 รายงานประจําป
9.8 การสืบคนจากสื่ออิเล็กทรอนิกส

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


37

จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วของจะทําใหผูวจิ ัยมองเห็นปญหาที่จะทําวิจัย


ใหเเจมชัดขึ้น ทั้งในแงแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับตัวแปรที่จะศึกษา ชวยให
กําหนดวิธีการวิจัยไดเหมาะสมกับปญหาวิจัย ชวยใหนยิ ามปญหา นิยามตัวแปร และกําหนด
ขอบเขตของงานวิจยั ชวยสรางกรอบความคิดในการวิจัย ชวยในการตั้งสมมุติฐานได ชวยให
เลือกเทคนิคตัวอยาง ชวยใหเลือกเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล สามารถใชสถิติวิเคราะหขอมูล
รวมทั้งไดแนวทางในการแปลผลและอภิปรายผล และการเขียนรายงานการวิจยั ได

แบบฝกหัดทายบท

1. จงบอกถึงแหลงที่มาของการวิจัย
2. จงอธิบายถึงวิธีการเลือกปญหาการวิจัย

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


38

3. จงเขียนแผนภูมิในการกําหนดปญหาการวิจัย พรอมทั้งอธิบายมาพอสังเขป
4. ใหเขียนและอธิบายกรอบความเปนมาของการวิจยั ในเรื่องที่สนใจหรือในสาขาวิชาที่กาํ ลัง
ศึกษาอยู โดยใหอางอิงที่มาของขอมูลใหชัดเจนและสามารถตรวจสอบได
5. จงบอกถึงหลักการของปญหาที่จะนําไปสูการวิจัยได
6. ในการกําหนดวัตถุประสงคของงานวิจยั ควรคํานึงถึงอะไรบาง
7. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วของมีผลตอการวิจยั อยางไรบาง
8. หลักเกณฑในการเลือกเอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วของเปนอยางไร อธิบายมาพอสังเขป
9. จงเขียนตัวอยางการขยายกรอบการเขียนความเปนมาของการวิจยั จากแนวคิด หรือปญหาที่
เห็นในชีวิตประจําวันมาสัก 1 ตัวอยาง

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


39

เอกสารอางอิง

นงลักษณ วิรชั ชัย. (2537). ความสัมพันธโครงสรางเชิงเสน (LISREL) สถิติวิเคราะหสําหรับ


การวิจัยทางสังคมศาสรและพฤติกรรมศาสตร. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2543). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพมหานคร : สถาบัน
ราชภัฏพระนคร.
ยุทธพงษ กัยวรรณ. (2543). พื้นฐานการวิจัย. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาสน.
รวีวรรณ ชินะตระกูล (2538). วิธีวิจัยการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สถาบันเทคโนโลยีพระ
จอมเกลาเจาคุณทหาร ลาดกระบัง.
Koul, L. (1983). Methodology of Education in Social Research. 3rd Newyork : Harper
& Row Publishers,Inc.
Schuessler. Karl F. (1964). Social Research Method. Bangkok : Thammasart
University Thailand.

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam

You might also like