สถิติเพื่อการวิจัย เอกสารประกอบการเรียน สัปดาห์ที่ 1

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 11

เอกสารประกอบการสอน วิชา สถิติ

เพือ
่ การวิจัย ฉบับที ่ 01 :stat01

สถิติ (STATISTICS)
ขอบข่ายของความหมายของคำาว่า “สถิติ” มีหลาย
ประเด็นและได้ขยายกว้างขวางออกไปอย่างรวดเร็วจนถึง
ศตวรรษที ่ 20 จากสถิติทีม
่ ีความหมายถึงข้อมูลเกีย
่ วกับ
การบริหารของรัฐแล้ว สถิติได้พัฒนาเป็ นข้อมูลแสดง
สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ข้อมูลทีเ่ ป็ นตัวชีว้ ัดให้เห็น
ถึงการเปลีย
่ นแปลงของสิง่ ทีส
่ นใจ แนวทางในการดำาเนิน
ธุรกิจ เช่น ข้อมูลเกีย
่ วกับการอากาศยาน ซึง่ จะมีข้อมูลที ่
จำาเป็ นมากมาย ได้แก่ เกีย
่ วกับภูมิอากาศ เกีย
่ วกับสภาพ
ภูมิประเทศ เกีย
่ วกับสภาพของผู้โดยสาร หรือข้อมูล
ทางการแพทย์ เหล่านีเ้ ป็ นต้น จนกระทัง่ ถึงปั จจุบัน
วิวัฒนาการทางสถิติศาสตร์ก็มีการพัฒนามากยิง่ ขึน
้ และ
เกีย
่ วข้องกับเรือ
่ งต่าง ๆ เกือบทัง้ หมด สถิติศาสตร์จึงมี
ความสำาคัญมากขึน
้ พร้อม ๆ กับการเปลีย
่ นแปลงของ
สังคมในปั จจุบันทีม
่ ีความสลับซับซ้อน เพราะยิง่ สังคมมี
ความสลับซับซ้อนมากขึน
้ เพียงไร ก็ยงิ ่ มีความจำาเป็ นต้อง
ทำาการเก็บข้อมูลเกีย
่ วกับสังคมมากขึน
้ นัน
่ เอง เพือ

ทำาความเข้าใจในสังคมนัน
้ อย่างลึกซึง้ ด้วยเหตุผลดังกล่าว
ทำาให้เราต้องทราบข้อเท็จจริง และความเป็ นไปของสังคม
จึงจำาเป็ นต้องใช้เครือ
่ งมืออย่างใดอย่างหนึง่ ช่วยในการ
ตัดสินใจ เครือ
่ งมือนีก
้ ็คอ
ื สถิติ ตัวอย่างเช่น เทคนิคว่า
ด้วยการสุ่มตัวอย่าง และการประมาณข้อมูลจากตัวอย่าง
ได้ถก
ู นำามาใช้อย่างกวางขวางในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ระดับชาติและการรวบรวมข้อมูลเพือ
่ การวิเคราะห์วิจัยใน
ส่วนทีส
่ นใจ
สถิติจัดได้ว่าเป็ นทัง้ วิทยาศาสตร์ และศิลปะ เช่น
เดียวกับคณิตศาสตร์ โดยจะประกอบด้วย กระบวนการที ่
จะทำาให้ได้ข่าวสารต่าง ๆ ในเรือ
่ งทีต
่ ้องการจะศึกษา การ
จัดเป็ นหมวดหมู่และการนำาเสนอ ซึง่ มีส่วนของศิลปะมา
ผสมผสานด้วย และในส่วนทีเ่ ป็ นกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ จะประกอบด้วยขัน
้ ตอนทีจ
่ ะทำาให้ได้ค่า
สังเกตต่าง ๆ ทีเ่ ราต้องการศึกษาอย่างเหมาะสม มีเหตุมี
ผลสามารถตรวจสอบได้ ดังนัน
้ จึงมีรูปแบบในการวัด หรือ
การสังเกตมากมาย

ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ส ถิ ติ
นักคณิตศาสตร์ได้แบ่งสถิติในฐานะทีเ่ ป็ นศาสตร์ออก
เป็ นสาขาใหญ่ ๆ 2 สาขาด้วยกัน คือ สถิติเชิงพรรณนา
(Descriptive Statistics) และการอนุมานเชิงสถิติ หรือ
สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ซึง่ แต่ละสาขามี
รายละเอียดดังนี ้
1.สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) หมายถึง
การบรรยายลักษณะของข้อมูล (Data) ทีผ
่ ู้วิจัยเก็บ
รวบรวมจากประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างทีส
่ นใจ ซึง่ อาจจะ
แสดงในรูป ค่าเฉลีย
่ มัธยฐาน ฐานนิยม ร้อยละ ส่วน
เบีย
่ งเบนมาตรฐาน ความแปรปรวน เป็ นต้น
2.สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) หมายถึง
สถิติทีว
่ ่าด้วยการวิเคราะห์ขอ
้ มูลทีร
่ วบรวมมาจากกลุ่ม
ตัวอย่าง เพือ
่ อธิบายสรุปลักษณะบางประการของ
ประชากร โดยมีการนำาทฤษฎีความน่าจะเป็ นมาประยุกต์
ใช้ สถิติสาขานี ้ ได้แก่ การประมาณค่าทางสถิติ การ
ทดสอบสมมุติฐานทางสถิติ การวิเคราะห์การถดถอยและ
สหสัมพันธ์ เป็ นต้น

ข้ อ มู ล
ข้อมูล(Data) หมายถึง ข้อมูลหรือตัวเลขทีแ
่ สดง
คุณสมบัติทีผ
่ ู้วิจัยต้องการศึกษา เช่น อายุ รายได้ ยอด
ขาย เป็ นต้น

ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ข้ อ มู ล
ข้อมูลทีเ่ ก็บรวบรวมมา ไม่ว่าจะใช้ในงานวิจัย หรือ
วัตถุประสงค์อืน
่ ใดก็ตาม ย่อมมีลักษณะแตกต่างกันไป
โดยการจำาแนกข้อมูล อาจจำาแนกตามเกณฑ์ใหญ่ ๆ ได้ 3
ประการ คือ จำาแนกตามแหล่งข้อมูล จำาแนกตามลักษณะ
ของข้อมูล และจำาแนกตามมาตรการวัด เป็ นต้น

จำาแนกตามแหล่งข้อมูล
1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูลที ่
ผู้วจ
ิ ัยเป็ นผู้เก็บรวบรวมข้อมูลทีส
่ นใจเอง โดยทีอ
่ าจจะใช้
วิธีเก็บแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การทดลอง เป็ นต้น
2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง
ข้อมูลทีผ
่ ู้วิจัยไม่ได้เป็ นผู้เก็บรวบรวมข้อมูลทีส
่ นใจเอง โดย
นำาข้อมูลทีผ
่ ู้อืน
่ ๆ เก็บมาใช้ เช่น ข้อมูลเกีย
่ วกับการจ้าง
งานทีก
่ ระทรวงแรงงานรวบรวมไว้ เป็ นต้น

จำาแนกตามลักษณะของข้อมูล
1.ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) หมายถึง
ข้อมูลทีส
่ ามารถแสดงในรูปตัวเลขได้ เช่น นำา
้ หนัก อายุ
คะแนน จำานวนสินค้า งบประมาณ จำานวนพนักงานใน
บริษัท เป็ นต้น ข้อมูลเชิงปริมาณยังแบ่งได้ ๒ ประเภท คือ
1.1 ข้อมูลแบบต่อเนือ
่ ง (Continuous Data)
หมายถึงข้อมูลทีม
่ ีค่าต่าง ๆ ทุกค่าต่อเนือ
่ งกัน โดยแสดง
ได้ทงั ้ เศษส่วนหรือตัวเลขทีเ่ ป็ นจำานวนเต็ม เช่น ส่วนสูง
นำา
้ หนัก ความยาวของโต๊ะ
1.2 ข้อมูลแบบไม่ต่อเนือ
่ ง (Discrete Data)
หมายถึงข้อมูลทีม
่ ีค่าเป็ นจำานวน
เต็มหรือจำานวนนับ เช่น ค่าใช้จ่าย จำานวนสินค้า งบ
ประมาณ จำานวนพนักงานในบริษัท
2.ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) หมายถึง
ข้อมูลทีไ่ ม่สามารถแสดงในรูปตัวเลขได้ หรือ อาจจะแสดง
ในรูปตัวเลขได้แต่ไม่สามารถคำานวณในเชิงปริมาณได้
เนือ
่ งจากตัวเลขเหล่านัน
้ ไม่สามารถอธิบายได้ เช่น เพศ
สถานภาพ วุฒิการศึกษา เป็ นต้น

จำาแนกตามมาตรการวัด
1. นามบัญญัติ (Nominal Scales) คือระดับของ
ข้อมูลทีเ่ ป็ นการกำาหนดชือ
่ หรือแบ่งแยกประเภทของสิง่ ต่าง
ๆ เช่น เบอร์โทรศัพท์ ห้องเรียน อาคารเรียน บ้านเลขที ่
เป็ นต้น
2. เรียงลำาดับ (Ordinal Scales) คือระดับของข้อมูลที ่
สามารถจัดลำาดับความสำาคัญของข้อมูลตามความแตกต่าง
ได้ เช่น ชอบมาก ชอบปานกลาง ชอบน้อย ไม่ชอบ
เป็ นต้น
3. อันตรภาค (Interval Scales) คือระดับของข้อมูล
ทีส
่ ามารถบอกถึงปริมาณของความแตกต่างของข้อมูลได้
แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น อุณหภูมิ คะแนนสอบวัดความรู้
ความสูง เป็ นต้น
4. อัตราส่วน (Ratio Scales) คือระดับของข้อมูลที ่
เป็ นการบอกถึงปริมาณความแตกต่างของข้อมูลทีม
่ ีราย
ละเอียดมากทีส
่ ุดและมีศูนย์แท้ เช่น ระยะทาง นำา
้ หนัก
ความเร็ว เป็ นต้น

ลักษณะของข้อมูลทีเ่ ก็บแบ่งเป็ น 2 ลักษณะ


1. ข้อมูลทีไ่ ม่ได้แบ่งกลุ่ม (ungrouped Data) เป็ น
ข้อมูลทีเ่ ก็บจากลักษณะของแต่ละหน่วยประชากร หรือ
หน่วยตัวอย่าง เช่นข้อมูลอายุของคนกลุ่มหนึง่ 15 , 18 ,
20 , 25 , 23 , 14 , 22 ปี เป็ นต้น
2. ข้อมูลทีแ
่ บ่งกลุ่ม (grouped Data) เป็ นข้อมูลทีจ
่ ัด
แบ่งเป็ นกลุ่ม ๆ เป็ นอันตรภาคชัน
้ เช่น อายุของคนกลุ่ม
หนึง่ คือ 15-20,21-26,27-32 ปี เป็ นต้น

ค่าเฉลีย
่ (x)
n

กรณีขอ
้ มูลทีไ่ ม่ได้แบ่งกลุ่ม ∑x
i=1 i หรือ
x=
n
x=
∑x
n
n

กรณีขอ
้ มูลทีแ
่ บ่งกลุ่ม ∑ fix i หรือ
i=1
x=
n
x=
∑ fx
n

มัธยฐาน(median)
กรณีขอ
้ มูลทีไ่ ม่ได้แบ่งกลุ่ม ให้เรียงข้อมูลจากน้อยไป
มากแล้วพิจารณาข้อมูลทีอ
่ ยู่ตรงกลาง
N
กรณีขอ
้ มูลทีแ
่ บ่งกลุ่ม Med = L + i[ 2
−F
]
f
ฐานนิยม(mode)
กรณีขอ
้ มูลไม่ได้แบ่งกลุ่ม ให้พิจารณาข้อมูลทีม
่ ี
ความถีส
่ ูงทีส
่ ุด

กรณีขอ
้ มูลทีแ
่ บ่งกลุ่ม Mo = L + i[ d1 ]
d1 + d2
การวัดการกระจายของข้อมูล (Measures of Variation)
-พิสัย (Range) = MAX – MIN
Q3 − Q1
-ส่วนเบีย
่ งเบนควอไทล์ (Quartile Deviation) =
2
-ส่วนเบีย
่ งเบนเฉลีย
่ (Mean Deviation)
กรณีขอ
้ มูลทีไ่ ม่ได้แบ่งกลุ่ม MD. = ∑x − x
n
กรณีขอ
้ มูลทีแ
่ บ่งกลุ่ม MD. = ∑f x − x
n

-ส่วนเบีย
่ งเบนมาตรฐาน(Standard Deviation ) และ
ความแปรปรวน (Variance)
-ส่วนเบีย
่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
2
กรณีขอ
้ มูลทีไ่ ม่ได้แบ่งกลุ่ม SD. = ∑( x −x ) ,
n −1
S =
2 2
∑ x − nx
n −1 n −1
2
กรณีทีข
่ อ
้ มูลแบ่งกลุ่ม SD. = ∑f ( x −x ) ,
n −1
S =
2 2
∑ fx − n x
n −1 n −1

-ความแปรปรวน (Variance)
2
กรณีขอ
้ มูลทีไ่ ม่ได้แบ่งกลุ่ม ∑( x −x ) ,
S =
2
n −1

S
2 2 2
= ∑ x − nx
n −1 n −1

กรณีขอ
้ มูลทีแ
่ บ่งกลุ่ม

S
∑f ( x −x )
2
2 2 2

S =
2
, =∑ fx
n −1

nx
n −1
n −1

กระบวนการทางสถิติ
การนำาสถิติไปใช้ประโยชน์มีกระบวนการโดยทัว
่ ไป
คือ
1. การวางแผน (Planning) ก่อนจะมีการวางแผนต้อง
มีหว
ั ข้อเรือ
่ งทีจ
่ ะศึกษา อาทิ การแก้ไขปั ญหาเกีย
่ วกับเรือ
่ ง
ใดเรือ
่ งหนึง่ สมมติเป็ นปั ญหาเกีย
่ วกับการขาดแคลนทีจ
่ อด
รถในมหาวิทยาลัย ผู้ทีเ่ ป็ นเจ้าของปั ญหา คือ ผู้บริหาร
ของมหาวิทยาลัย ต้องวางแผนการแก้ปัญหา โดยจัดหา
สถานทีใ่ ห้เพียงพอ โดยต้องมีการวางแผนการสำารวจทีว
่ ่าง
ซึง่ จะปรับปรุงเป็ นทีจ
่ อดรถได้ ในขัน
้ ตอนนีต
้ ้องกำาหนดว่า
จะกำาหนดวิธก
ี ารสำารวจอย่างไรจะใช้อะไรเป็ นข้อมูล
ประกอบการพิจารณาบ้าง ถ้ามีข้อมูลเกีย
่ วกับคนเข้ามา
เกีย
่ วข้องด้วย ก็ต้องกำาหนดว่าจะกำาหนดให้ผู้คนประเภท
ใดบ้างทีจ
่ ะไปสอบถามรายละเอียด จะใช้จำานวนเท่าใดจึง
จะพอดีทีจ
่ ะต้องใช้ในขัน
้ ตอนนีท
้ ัง้ หมด รวมถึงวิธีการ
รวบรวมข้อมูล และกำาหนดวิธีการทดสอบข้อมูลด้วย ขัน

ตอนนีถ
้ ือว่าเป็ นขัน
้ ตอนทีส
่ ำาคัญ ถ้าวางแผนงานได้ดีก็นับ
ว่าทำาสำาเร็จไปครึง่ หนึง่ แล้ว
2. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of Data) เมือ

กำาหนดในขัน
้ ตอนที ่ 1 แล้วว่าจะนำาอะไรมาเป็ นข้อมูลก็จะ
ทำาการรวบรวมตามวิธีทางสถิติซึง่ จะได้กล่าวต่อไป
3. การนำาเสนอข้อมูล (Presentation of Data) เมือ

รวบรวมได้แล้วก็จะนำามาแสดงให้คนเข้าใจ ซึง่ อาจจะ
แสดงในรูปตารางสถิติ เป็ นรูปภาพ หรือเป็ นแบบเส้นโค้ง
ฯลฯ
4.การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of Data) เมือ
่ ได้
ข้อมูลตามต้องการแล้วก็จะนำามาวิเคราะห์ ซึง่ อาจอยู่ในรูป
ค่าเฉลีย
่ ค่าร้อยละ ค่าสัดส่วน หรือค่าใด ๆ ตามแต่จะ
กำาหนดไว้ในขัน
้ ตอนที ่ 1
5. การตีความ (Interpretation of Data) เป็ นขัน
้ ตอน
สุดท้าย คือ การสรุปผลการวิเคราะห์ในขัน
้ ตอนที ่ 4 รวม
ถึงการนำาเอาผลทีไ่ ด้ไปอ้างอิงใช้กับส่วนอืน
่ ด้วย อาทิ นำา
ผลการวิเคราะห์เกีย
่ วกับการเจริญเติบโตของเด็กในวัย 5-7
ขวบ ของข้อมูลตัวอย่างไปใช้กับเด็กวัย 5-7 ขวบ ทัว

ประเทศ เป็ นต้น

กิจกรรม
1. จากข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง 25,15,28,45,20,34
จงหา 1. ค่าเฉลีย

2.มัธยฐาน
3.ฐานนิยม
4.ส่วนเบีย
่ งเบนมาตรฐาน
2.ในการศึกษาค่าใช้จ่ายของกลุ่มตัวอย่างนักศึกษา 50 คน
ได้ข้อมูลดังนี ้
ค่าใช้จ่าย(บาท) จำานวน
28 - 32 2
33 - 37 2
38 - 42 2
43 - 47 4
48 - 52 5
53 - 57 7
58 - 62 4
63 - 67 7
68 - 72 9
73 - 77 8
จงหา 1.ค่าเฉลีย

2.มัธยฐาน
3.ฐานนิยม
4.ส่วนเบีย
่ งเบนมาตรฐาน และความแปรปรวน

-----------------------------------------------------------------------
---------------------

You might also like