มอเตอร์ยูนิเวอร์แซล

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 17

มอเตอร์ยน

ู ิ เวอร์แซล
วัตถุประสงค์ทัว
่ ไป
1.ทราบถึงโครงสร้างและสว่นประกอบของยูนิเวอร์แซลมอเตอร์
2.เข้าใจคุณสมบัติและหลัการทำางานของยูนิเวอร์แซลมอเตอร์

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกความหมายและส่วนประกอบของยูนิเวอร์แซลมอเตอร์
ได้
2. อธิบายคุณสมบัติของยูนิเวอร์แซลมอเตอร์ได้
3. อธิบายหลักการทำางานของอยู่นิเวอร์แซลมอเตอร์ได้

เนื้ อหาสาระ
ยูนิเวอร์แซลมอเตอร์

เป็ นมอเตอร์ขนาดเล็กมีขนาดกำาลังไฟฟ้ าตั้งแต่


1/200 แรงม้าถึง 1/30 แรงม้า
นำาไปใช้ได้กับแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรง และใช้ได้
กับแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสสลับ
ชนิ ด 1 เฟส มอเตอร์ชนิ ดนี้ มีคณ
ุ สมบัติท่ีโดดเด่น คือ
ให้แรงบิดเริ่มหมุนสูง
นำาไปปรับตวามเร็วได้ท้ังปรับความเร็วได้ง่ายทั้ง
วงจรลดแรงดันและวงจรควบคุม
อิเล็กทรอนิ กส์ นิ ยมนำาไปใช้เป็ นตัวขับเครื่องใช้
ไฟฟ้ าภายในบ้าน เช่น
เครื่องบดและผสมอาหาร มีดโกนหนวดไฟฟ้ า
เครื่องนวดไฟฟ้ า มอเตอร์จักรเย็บผ้า
สว่านไฟฟ้ า เป็ นต้น
ลักษณะของของยูนิเวอร์แซ
ลมอเตอร์

โครงสร้างของยูนิเวอร์แซลมอเตอร์

ส่วนประกอบของยูนิเวอร์แซลมอเตอร์
1. ฝาปิ ดหัวท้าย (End Plate) ลักษณะเหมือนกับมอเตอร์
ไฟฟ้ ากระแสตรงทั่วไป
ตรงกลางมีร่องสำาหรับใส่เพลาของมอเตอร์ และมีลก ู ปื น
รองรับเพลาทั้งสองด้าน
2. โครงสร้าง(Frame) เป็ นเปลือกหุ้มมอเตอร์ ทำาด้วยเหล็ก
เหนี ยวและเหล็กหล่อ มีรูปร่างหลายแบบ
ส่วนใหญ่จะมีลกั ษณะทรงกระบอกกลม
3. ขั้วสนามแม่เหล็ก(Field Pole) จะมี 2 ขั้ว โดยทำาจากแกน
เหล็กบาง ๆ อัดซ้อนกัน (Laminated Core)
4. อาร์เมเจอร์ (Armature) มีโครงสร้างเกี่ยวกับอาร์เมเจอร์ของ
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง
คือ เป็ นแท่งกลมีร่องสำาหรับพันขดลวดอาเมเจอร์
5.แปรงถ่าน(Brush) ทำาด้วยคาร์บอนติดตั้งในซองแปรงถ่าน มีส
ปริกดแปรงถ่าน ให้แน่ น
กับคอมมิวเนเตอร์เพื่อนำากระแสไฟฟ้ าเข้าและออกจากมอเตอร์

ขั้วสนามแม่เหล็ก(Field Pole) จะมี 2 ขั้ว


โดยทำาจากแกนเหล็กบาง ๆ อัดซ้อนกัน
(Laminated Core)

อาร์เมเจอร์ (Armature)
มีโครงสร้างเกี่ยวกับอาร์เมเจอร์ของมอเตอร์
ไฟฟ้ ากระแสตรง คือ
เป็ นแท่งกลมีร่องสำาหรับพันขดลวดอาเมเจอร์
1. มอเตอร์ยูนิเวอร์แซล
มอเตอร์ยูนิเวอร์แซลเป็ นการพัฒนาที่สำาคัญในวงการมอเตอร์
ไฟฟ้ า มันมีขนาดเล็กเป็ นมอเตอร์อนุ กรมที่สามารถทำางานได้ท้ ังแหล่ง
จ่ายไฟกระแสตรงและกระแสสลับ การทำางานของมอเตอร์จะเหมือนกัน
ไม่ว่าจะใช้งานแบบใด จึงมีช่ ือว่ายูนิเวอร์แซล (universal มีความหมาย
ว่าแห่งจักรวาล สากลทัว่ ตลอดไป และครอบจักรวาล)
สนามแม่เหล็กของมอเตอร์ยูนิเวอร์แซลก่อกำาเนิ ดโดยใช้กระแสไฟ
ตรงไหลผ่านขดลวดสเตเตอร์ และถ้าส่งกระแสไฟตรงผ่านเข้าโรเตอร์จะ
เกิดสนามแม่เหล็กรอบ ๆ โรเตอร์ เป็ นผลทำาให้เกิดแรงกระทำาที่โรเตอร์
จนโรเตอร์หมุน
เมื่อพิจารณาว่าโรเตอร์เป็ นเส้นลวดวงหนึ่ ง กระแสไฟตรงไหลเข้า
ทางด้านหนึ่ งของวงเส้นลวดและไหลออกที่อีกด้านหนึ่ ง ดังนั้ นถึงแม้ว่า
จะเป็ นไฟตรงแต่เรามีกระแสไฟสลับไหลผ่านวงเส้นลวด เมื่อโรเตอร์
หมุน กระแสจะเปลี่ยนทิศทางตลอดเวลาในสนามแม่เหล็กที่เกิดจากขด
ลวดโรเตอร์ สิ่งนี้ ทำาให้เกิดสนามแม่เหล็กกลับไปมาในโรเตอร์เหมือนการ
ทำางานในกระแสสลับทำาให้มอเตอร์หมุนต่อไปได้
2. คอมมิวเตชัน
มอเตอร์ยูนิเวอร์แซลที่ใช้เพียงขดลวดวงหนึ่ งจะไม่มีประสิทธิภาพ
มากนั กโรเตอร์อาจจะหยุดหมุนเมื่อหมุนได้เพียงรอบเดียวก็ได้ เพราะ
เมื่อขั้วเหนื อของโรเตอร์เข้ามาใกล้ข้ ัวใต้ของสเตเตอร์ จะทำาให้ไม่มีแรง
บิดต่อตัวโรเตอร์จึงไม่มีการหมุน ปรากฎการณ์น้ ี เอาชนะได้โดยการใช้
โรเตอร์ชนิ ดพิเศษที่เรียกว่า อาร์มาเจอร์ อาร์มาเจอร์ประกอบด้วยแผ่น
โลหะบาง ๆ ซ้อนกันอยู่ โลหะแผ่นวงกลมแต่ละแผ่นมีรูเล็ก ๆ ประกอบ
หมายเลขไว้ 1 ถึง 12 หมายเลข ใกล้เส้นรอบวงมีช่องว่างเรียกว่า
สล็อต (slot) เมื่อนำาแผ่นวงกลมหลาย ๆ แผ่นมาซ้อนกัน สล็อตเหล่านี้
จะเรียงตัวกันเป็ นร่องยาวสำาหรับพันขดลวดอาร์มาเจอร์ดังนั้ นจึงได้วง
เส้นลวดหลายวง ตามรูปที่ 4 ในวงกลมส่วนเล็ก ๆ ด้านในถูกเจาะออก
เป็ น 12 ส่วนเท่า ๆ กัน กำาหนดตัวอักษรไว้เป็ น A ถึง L ส่วนเล็ก ๆ
เหล่านี้ เรียกว่าส่วนอาร์มาเจอร์ (armature segment)
เพื่อให้อาร์มาเจอร์หมุน อุปกรณ์ท่ีเรียกว่าคอมมิวเทเตอร์ได้ถูกนำา
มาใช้ คอมมิว-เทเตอร์จะกลับทิศการไหลของกระแสในวงเส้นลวด เมื่อ
อาร์มาเจอร์หมุน ปลายแต่ละข้างของวงเส้นลวดจะต่อเข้ากับคอมมิวเท
เตอร์แต่ละส่วน และแต่ละส่วนของคอมมิวเทเตอร์จะแยกกันด้วยฉนวน
ส่วนที่ถูกติดกับคอมมิวเทเตอร์ด้วยแรงกดของสปริงจะเป็ นหน้า
สัมผัสที่เรียกว่า แปรงถ่าน เพื่อใช้เป็ นตัวจ่ายกระแสให้ไหลผ่านตัวนำาที่
ปลายด้านหนึ่ งและไปออกที่ปลายอีกด้านหนึ่ ง โดยที่จะมีกระแสไหลอยู่
ในทิศทางเดียวผ่านแปรงถ่าน
3. การทำางานของคอมมิวเทเตอร์ในมอเตอร์ยูนิเวอร์แซล
ให้วงจรภายนอกที่ A มีแรงดันทำาให้กระแสไหลในวงเส้นลวดขอ
งอาร์มาเจอร์ โดยแสดงทิศทางไหลด้วยลูกศร เมื่อสนามอาร์มาเจอร์มีข้ ัว
เหนื อและใต้ในทิศทางตั้งฉากกับแนวระนาบของอาร์มาเจอร์ ขั้ว S ของ
สนามสเตเตอร์จะดูดขั้วเหนื อของอาร์มาเจอร์ ในขณะเดียวกันขั้ว N
ของสนามสเตเตอร์จะดูดขั้วใต้ของอาร์มาเจอร์ เนื่ องจากอาร์มาเจอร์
หมุนได้คล่องมันจึงหมุน
ถ้าขั้วเหนื อของอาร์มาเจอร์มาใกล้กับขั้ว S ของขดลวดสนาม
อาร์มาเจอร์จะวิ่งช้ามาก แรงดูดระหว่างขั้ว N และ S จะเพียงพอที่จะ
หยุดอาร์มาเจอร์ไว้กับที่ แต่ในขณะเดียวกันส่วนของคอมมิวเทเตอร์จะ
หมุนไปอยู่ท่ีตำาแหน่งที่ทำาให้เกิดกระแสไฟฟ้ าไหลกลับทิศทางทำาให้เกิด
ขั้วใต้ใกล้กับขั้ว S และเกิดแรงผลักกันขึ้น อาร์มาเจอร์ก็จะหมุนต่อไป
จนครบวงจรและหมุนตลอดไปตราบเท่าที่มีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านอาร์มา
เจอร์และขดลวดสนาม ลักษณะเช่นนี้ ก็เกิดขึ้นในมอเตอร์ยูนิเวอร์แซล
กระแสสลับเช่นกัน เมื่อจ่ายกระแสไฟสลับจะมีกระแสไฟฟ้ าเปลี่ยน
ทิศทางในขดลวดสนาม ขณะเดียวกันกระแสไฟสลับก็เปลี่ยนทิศทางใน
อาร์มาเจอร์ด้วยเช่นกัน ทั้งอาร์มาเจอร์และขดลวดสนามมีกระแสไฟฟ้ า
ไหลกลับไปมาที่สอดคล้องกันทำาให้เกิดปรากฎกาารณ์ท่ีเหมือนกับการมี
กระแสไฟตรงไหลผ่านคอมมิวเทเตอร์ หลักการทำางานของคอมมิวเท
เตอร์จึงยังคงเหมือนเดิม
4. ความเร็วของมอเตอร์ยูนิเวอร์แซล
มอเตอร์ยูนิเวอร์แซลเป็ นมอเตอร์ท่ีพันลวดแบบอนุ กรม เมื่อไม่มี
โหลดจะมีความเร็วที่สูงมาก มอเตอร์ยูนิเวอร์แซลเป็ นมอเตอร์ท่ีปรับ
ความเร็วได้อยู่ในตัว ถ้าเพิ่มโหลดความเร็วจะลดลง มอเตอร์ยูนิเวอร์
แซลควรจะทำางานที่ความเร็วเหมือนเดิมถ้าโหลดและแรงดันที่ต่อคร่อม
มอเตอร์มีค่าคงที่โดยไม่คำานึ งถึงแม้ว่าแหล่งจ่ายไฟจะเป็ นแบบ
กระแสสลับหรือกระแสตรง เป็ นสิ่งที่ลำาบากมากที่จะทำามอเตอร์แรงม้า
ตำ่าและมีความเร็วรอบตำ่ามอเตอร์ยูนิเวอร์-แซลส่วนมากจะออกแบบให้
ทำางานที่ความเร็วสูงที่ 3,500 รอบต่อนาที หรือสูงกว่า ถ้าทำางานที่
ความเร็วรอบตำ่าจะไม่ใช่มอเตอร์ยูนิเวอร์แซลที่แท้จริง
ความเร็วของมอเตอร์ยูนิเวอร์แซลจะปรับเปลี่ยนได้ โดยเพิ่มความ
ต้านทานแบบปรับค่าได้อนุ กรมกับวงจรเพื่อควบคุมปริมาณกระแสไฟฟ้ า
ในวงจร เช่น ในจักรเย็บผ้า
5. ชนิ ดของมอเตอร์ยูนิเวอร์แซล
มอเตอร์ยูนิเวอร์แซลแบ่งได้เป็ นสองชนิ ดใหญ่ ๆ คือ
1. ชนิ ดคอมเพนเซต (compensated type หรือ distributed field)
2. ชนิ ดนอนคอมเพนเซต (noncompensated type หรือ
concentrated pole)
คอนเพนเซตแปลว่าชดเชย ดังนั้ นมอเตอร์ชนิ ดดนี้ จะมีขด
ลวดพิเศษฝั งในขั้วมอเตอร์เพิ่มขึ้นมาอีกขั้วละชุดโดยต่ออนุ กรมกับอาร์ม
าเจอร์ เพื่อหักล้างสนามแม่เหล็กที่ไม่ต้องการอันเนื่ องมาจากอาร์มาเจอร์
ทำาให้มอเตอร์ชนิ ดคอมเพนเซตมีความเร็วเกือบคงที่ จึงมีความเร็วที่
คงที่กว่าแบบชนิ ดนอนคอมเพนเซต
มอเตอร์ยูนิเวอร์แซลชนิ ดนอนคอมเพนเซตมีอีกชื่อหนึ่ งว่าคอน
แซนเตรตโพล ซึ่งมีความหมายว่าขั้วมอเตอร์ท่ีหนาแน่น ดังรูปที่ 8 ซึ่งมี
ลักษณะคล้ายมอเตอร์อนุ กรมกระแสตรง สเตเตอร์จะประกอบด้วยแผ่น
โลหะบาง ๆ ซ้อนกันเพื่อป้ องกันการสูญเสียเส้นแรงแม่เหล็กอันเนื่ องมา
จากผลของกระแสเอ็ดดี้ (eddy current effects) โดยสร้างแบบคอนเซน
เตรตโพลใช้กับมอเตอร์แรงม้าตำ่าแต่ทำางานที่ความเร็วสูง
6. มอเตอร์ยูนิเวอร์แซลชนิ ดคอนเซนเตรตโพล
ส่วนประกอบภายในมอเตอร์ยูนิเวอร์แซลชนิ ดคอนเซนเตรด-โพล
ซึ่งมีโครงสร้างเหมือนมอเตอร์อนุ กรมกระแสตรง ยกเว้นที่สเตเตอร์ 1
ซึ่งทำาจากแผ่นโลหะบาง ๆ ซ้อนกัน มีข้ ัวสนามอยู่สองขั้วคือหมายเลข 2
และ 3 ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่ งของสเตเตอร์ด้วย ขดลวดสเตเตอร์ 4 และ 5
วางไว้บนขั้วมอเตอร์ 2 และ 3 และยึดติดอยู่ด้วยสลักหมุด หรือแถบผ้า
ฝ้ าย แต่ละขดลวดจะมีเส้นลวดโผล่ออกมาขดละสองเส้น
เส้นลวดหมายเลข 6 ต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟสลับเส้นหนึ่ ง เส้น
ลวดหมายเลข 7 ต่อเข้ากับแปรงถ่านหมายเลข 8 เส้นลวดหมายเลข 9
ต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟสลับอีกเส้นหนึ่ ง เส้นลวดหมายเลข 10 ต่อเข้า
กับแปรงถ่านหมายเลข 11 แปรงถ่านหมายเลข 8 และแปรงถ่าน
หมายเลข 11 สัมผัสกับหน้าคอมมิวเทเตอร์หมายเลข 12 หมายเลข 13
แทนเส้นผ่าศูนย์กลางด้านนอกของอาร์มาเจอร์ เส้น 00′ แทนเส้นที่ทำา
มุม 90° กับจุดกึ่งกลางของขั้วสนามหมายเลข 2 และ 3 จะเห็นได้จาก
รูปว่าแปรงถ่าน 8 และ 11 จะอยู่ในแนวเส้น 00′
เมื่อมอเตอร์ยูนิเวอร์แซลทำางานในแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับทั้ง
อาร์มาเจอร์และขดลวดสนามจะได้รบ
ั กระแสไฟฟ้ าที่กลับทิศไปมา
เหมือน ๆ กันในเวลาเดียวกัน การทำางานจะเหมือนกับว่ามอเตอร์
ทำางานในกระแสตรงแต่สลับขั้วของแหล่งจ่ายไฟไปมาเท่านั้ น
ถ้ามอเตอร์ยูนิเวอร์แซลวิ่งที่ความเร็วตำ่ากว่า 5,000 รอบต่อนาที
จะต้องเพิ่มความต้านทานต่ออนุ กรมกับปลายด้านหนึ่ งของแหล่งจ่ายไฟ
เพื่อป้ องกันการทำางานที่ผิดปกติของมอเตอร์ยูนิเวอร์แซล ไม่ว่าจะจาก
แหล่งจ่ายไฟกระแสตรงหรือกระแสสลับที่ความถี่ตำ่า ทั้งนี้ เนื่ องจากความ
ต้านทานของขดลวดในกระแสสลับขึ้นอยู่กับความถี่ ตามสูตรทาง
คณิ ตศาสตร์ท่ีว่า
XL = 2π FL หน่วยเป็ นโอห์ม
เมื่อ XL คือความต้านทานของขดลวด
π คือ 22/7
F คือความถี่ มีหน่วยเป็ นรอบต่อวินาที
L คือ ค่าเหนี่ ยวนำาของขดลวด มีหน่วยเป็ นเฮนรี่
ตัวอย่างเช่น ถ้า L = 10 เฮนรี่ จะได้ความต้านทาน XL
ที่ความถี่ 25 และ 60 รอบต่อวินาที ดังนี้
ที่ความถี่ 25 XL = 2(22/7) (25) (10) = 1,570

ที่ความถี่ 60 XL = 2(22/7) (60) (10) = 3,768

ถ้าค่า XL ยิ่งสูงความเร็วของมอเตอร์จะลดลง และถ้า XL ยิ่ง
มีค่าตำ่าความเร็วจะยิ่งสูง ที่แหล่งจ่ายไฟกระแสตรงค่า XL จะเป็ นศูนย์
เนื่ องจากความถี่เป็ นศูนย์ ดังนั้ นจึงต้องเพิ่มความต้านทานพิเศษต่อ
อนุ กรมกับแหล่งจ่ายไฟเพื่อรักษาความเร็วของมอเตอร์ให้มีค่าเท่ากับที่
กำาหนดไว้เมื่อทำางานในกระแสไฟฟ้ าสลับ

7. มอเตอร์ยูนิเวอร์แซลชนิ ดคอนเซนเตรตโพลที่ความเร็วตำ่า
มอเตอร์ยูนิเวอร์แซลขนาดเล็กบางตัวมีการต่อความต้านทานคร่อม
ระหว่างแปรงถ่านเป็ นการต่อขนานกับอาร์มาเจอร์เรียกว่า ซันต์ (shunt)
ทั้งนี้ เพื่อต้องการเพิ่มกระแสให้ไหลผ่านขดลวดสนามมากขึ้นในขณะที่
ไหลผ่านอาร์มาเจอร์คงเดิม
อัตราส่วนกระแสไหลผ่านขดลวดสนามต่ออาร์มาเจอร์มีค่าเพิ่มขึ้น
ทำาให้ความเร็วขณะไม่มีโหลดลดลง เป็ นการป้ องกันความเร็วขณะไม่มี
โหลดไม่ให้สูงเกินไป มอเตอร์ชนิ ดนี้ มีใช้ในเครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้ าและ
เครื่องคิดเลขไฟฟ้ า ถ้าไม่มีความต้านทานต่อขนานมอเตอร์อาจจะไหม้ได้
ในขณะที่ไม่มีโหลด
8. การควบคุมความเร็วขณะไม่มีโหลดของมอเตอร์ยูนิเวอร์แซล
มอเตอร์ยูนิเวอร์แซลชนิ ดนอนคอมเพนเซตมีการใช้น้ ำาหนั กถ่วง
เพื่อควบคุมปริมาณของกระแสในการควบคุมความเร็วมอเตอร์ขณะไม่มี
โหลด โดยมีแนวคิดอยู่ท่ีการเปิ ดปิ ดวงจรของสเตเตอร์เมื่อความเร็วของ
มอเตอร์อยู่ท่ีค่า ๆ หนึ่ งที่ได้ต้ ังไว้ โดยอาศัยแรงเหวี่ยงหนี ศูนย์และนำ้า
หนั กถ่วงเพื่อเปิ ดปิ ดหน้าสัมผัส
การตั้งหน้าสัมผัสทำาได้โดยการปรับสกรูเพื่อปรับความดึงหย่อน
ของหน้าสัมผัสที่ทำาด้วยโลหะสปริง การปรับหน้าสัมผัสนี้ เป็ นการปรับค่า
ของความเร็วขณะไม่มีโหลดของมอเตอร์ด้วย
สมมติว่าตั้งหน้าสัมผัสให้ทำางานที่ความเร็วถึง 3,000 รอบต่อนาที
เมื่อต่อจุดที่ 1 และ 2 เข้ากับแหล่งจ่ายไฟ มอเตอร์จะเริม
่ ทำางานเมื่อ
ความเร็วถึง 3,000 รอบต่อนาที แรงเหวี่ยงหนี ศูนย์จะทำาให้หน้าสัมผัส
เปิ ดออกเป็ นการต่อความต้านทานอนุ กรมเข้ากับขดลวดสเตเตอร์ทาง
ด้านจุดที่ 2 ทำาให้เกิดแรงดันตกคร่อมความต้านทาน มีผลทำาให้มอเตอร์
วิ่งช้าลง หน้าสัมผัสจะปิ ด ความเร็วจะเพิ่มขึ้น และเกิดการทำางานเป็ น
วัฏจักร ดังนั้ นความเร็วขณะไม่มีโหลดจะไม่เกิน 3,000 รอบต่อนาที ถ้า
นำ้าหนั กถ่วงทำางานเป็ นปกติ ตัวคาปาซิเตอร์ท่ีต่อเข้าไปเพื่อช่วยป้ องกัน
หน้าสัมผัสไหม้จากการอาร์ก อีกวิธีหนึ่ งในการควบคุมความเร็วเรียกว่า
วิธีการเลื่อนแปรงถ่าน (brush-shift method) ใช้สำาหรับควบคุมความเร็ว
ของมอเตอร์ ไม่ว่าจะใช้กระแสตรงหรือไฟกระแสสลับเมื่อโหลดอยู่ใน
ค่าที่กำาหนดค่าใดค่าหนึ่ งก็ได้
เส้นสะเทินของมอเตอร์มีอยู่สองเส้นคือทางกลและทางไฟฟ้ า เส้น
สะเทินทางกลอยู่ในแนวเส้นผ่านศูนย์กลางที่ลากผ่านจุดศูนย์กลางขอ
งอาร์มาเจอร์มาตั้งฉากกับแกนอาร์มาเจอร์ เส้นสะเทินทางไฟฟ้ าหาได้จา
กการต่ดขดลวดอาร์มาเจอร์เข้ากับคอมมิวเทเตอร์ จากรูปจะอยู่ในแนวที่
ผ่านจุดศูนย์กลางของขั้วทำามุม 90° กับเส้นสะเทินทางกล
เส้นสะเทินทางไฟฟ้ ายังแบ่งออกเป็ นสองอย่าง คือ เส้นสะเทินที่
ทำาให้มีแรงบิดเป็ นศูนย์เรียกว่า เส้นสะเทินสทอลล์ (stalled neutral)
และเส้นสะเทินโหลด (load neutral) ที่ซ่ึงมอเตอร์ทำางานที่ความเร็วที่
กำาหนดภายใต้โหลดที่กำาหนด โดยมีการอาร์กระหว่างแปรงถ่านกับหน้า
คอมมิวเทเตอร์น้อยที่สุดหรือไม่มีการอาร์กเลย
ในการใช้วิธีการเลื่อนแปรงถ่านเพื่อควบคุมความเร็วขณะไม่มีโหลด
จะต้องเลื่อนแปรงถ่านไปในทิศการหมุนของคอมมิวเทเตอร์ แต่จะต้อง
ระวัง เพราะเมื่อเลื่อนออกจากแนวเส้นสะเทินโหลดแล้วการอาร์กจะมาก
ขึ้นจนอาจจะมากเกินไปและอาจจะถึงจุดที่อาร์มาเจอร์หยุดหมุนเลยก็ได้
ความเร็วของมอเตอร์จะเป็ นศูนย์เมื่อแปรงถ่านเคลื่อนที่ไปทำามุม 90°
จากจุดเส้นสะเทินสทอลล์ และถ้าเลื่อนแปรงถ่านต่อไปอาร์มาเจอร์จะ
หมุนกลับทางหลักการนี้ เป็ นหลักการของการทำามอเตอร์ยูนิเวอร์แซลให้
กลับทิศได้ แต่วิธีน้ ี ไม่มีการใช้กันในทางปฏิบัติ วิธีท่ีใช้กันในทางปฏิบัติ
คือการเปลี่ยนแปลงการต่อแปรงถ่านให้ทำามุมกัน 180° จากจุดเริม
่ ต้น
โดยการใช้สวิตช์สับเปลี่ยนทิศทางของลวดตัวนำาก่อนเข้าแปรงถ่านเพื่อ
เปลี่ยนทิศทางการหมุนของมอเตอร์
มอเตอร์ยูนิเวอร์แซลกลับทิศทางได้ มีใช้ในเครื่องขันสกรู เครื่องขันนอต
และพัดลมระบายอากาศ
9. มอเตอร์ยูนิเวอร์แซลชนิ ดคอมเพนเซต
มอเตอร์ยูนิเวอร์แซลชนิ ดคอมเพนเซตมีสเตเตอร์ท่ีทำาด้วยแผ่น
โลหะบาง ๆ ซ้อนกันอยู่เหมือนมอเตอร์เหนี่ ยวนำาทัว่ ๆ ไป แต่ขดลวด
สนามจะมีลักษณะคล้ายกับมอเตอร์สปลิต-เฟส มอเตอร์ยูนิเวอร์แซล
คอมเพนเซตใช้สำาหรับแรงม้าที่สูงและความเร็วสูง เช่น 1 แรงม้าที่
7,500 รอบต่อนาที และสำาหรับแรงม้าตำ่าและความเร็วตำ่า เช่น 1/4
แรงม้าที่ 3,000 รอบต่อนาที มีท่ีใช้กว้างขวางมากกว่ามอเตอร์ยูนิเวอร์
แซลชนิ ดคอนเซนเตรตโพล ทั้งนี้ เนื่ องจากความต้านทานของขดลวด
(reactance) ได้รบ
ั การชดเชยด้วยขดลวดคอมเพนเซตแล้ว มอเตอร์ชนิ ด
คอมเพนเซตมีโครงสร้างของสเตเตอร์เป็ นสองแบบ แบบแรกเรียกว่า
แบบเรียบ (plain distributed field) ขดลวดจะวางอยู่ในร่องสล็อตเหนื อ
ขั้วมอเตอร์คล้ายกับขดลวดสนามหลักของมอเตอร์สปลิต-เฟส ปกติจะ
ใช้กับมอเตอร์สองขั้ว แต่อาจจะมีใช้ในมอเตอร์ส่ีข้ ัวและหกขั้ว การเลื่อน
แปรงถ่านออกจากแนวสะเทินจะช่วยชดเชยแรงดันรีแอกแตนซ์
(reactance voltage) การเลื่อนแปรงถ่านจะไปในทิศตรงข้ามกับการหมุน
ของคอมมิวเทเตอร์ ซึ่งเป็ นสาเหตุท่ีทำาให้ไม่สามารถกลับทิศการหมุนได้
เพราะจะเกิดคอมมิวเตชันที่ไม่ดีและความเร็วลดลง
โครงสร้างสเตเตอร์แบบที่สองไม่มีช่ ือเรียกเฉพาะ ประกอบด้วยชุด
ขดลวดสองชุดแยกออกจากกันอย่างชัดเจน ขดลวดคอมเพนเซตจะวาง
อยู่เหนื อขั้วมอเตอร์ ขดลวดที่สองคือขดลวดสนามหลัดวางทำามุม 90°
ทางไฟฟ้ ากับขดลวดคอมเพนเซตและมักจะกินเนื้ อที่สองสล็อตในแต่ละ
ขั้ว มีแปรงถ่านตั้งฉากกับขดลวดสนามและเส้นแนวสะเทินทางไฟฟ้ า
ทำาให้สามารถทำาการกลับทิศทางได้ การกลับทิศทางการหมุนทำาโดยการก
ลับทิศการต่อเชื่อมกับขดลวดสนามหลักมากกว่ากลับแปรงถ่าน
ณ จุดที่ 1 และ 9 เป็ นจุดจ่ายกระแสให้กับขดลวดคอมเพนเซต 2
และขดลวดสนาม 8 ขดลวดคอมเพนเซต 3 และขดลวดสนามหลัก 7
ต่อถัดเข้าไปกับแปรงถ่าน 4 และ 6 ซึง่ สัมผัสอย่บ
ู นหน้าคอมมิวเท
เตอร์5
ตารางที่ 1 ปั ญหาและการแก้ไขมอเตอร์ยูนิเวอร์แซล
อาการ สาเหตุท่ีเป็ นไป การแก้ไข
ได้
มอเต สาเหตุและการ
อร์ไม่ส แก้ไขเหมือน
ตาร์ต ของมอเตอร์สป
ลิต-เฟสทุก
ประการ
เสียง สาเหตุและการ
ดังเกิน แก้ไขเหมือน
ไป ของมอเตอร์ร ี
พัลชันทุก
ประการ
ตลับ สาเหตุและการ
ลูกปื น แก้ไขเหมือน
ร้อน ของมอเตอร์สป
เกินไป ลิต-เฟสทุก
ประการ
แปรง สาเหตุและการ
ถ่านสึก แก้ไขเหมือน
มาก ของมอเตอร์ร ี
เกินไป พัลชันทุก
ประการ
สาเหตุและการ
แก้ไขเหมือน
ของมอเตอร์ร ี
พัลชัน ยกเว้น
ไม่มีรายการ
โวลต์ตำ่า
มอเตอ หน้าคอมมิวเท แต่งหน้าคอมมิวเทเตอร์กินบาง ๆ
ร์ร้อน เตอร์หยาบ
เกินไป (สาเหตุและการ
แก้ไขเหมือน
ของมอเตอร์สป
ลิต-เฟส)
ลูกปื นสึก ดูท่ีอาการตลับลูกปื นร้อนเกินไป
คอมมิว ความชื้ น ชิ้นส่วนที่เปลี่ยนใหม่ต้องเคลือบวาร์
เทเตอร์ นิ ชชนิ ดพิเศษ
หรือส
เต
เตอร์-
ไหม้
กรดหรือด่าง อาจต้องใช้เคลือบวาร์นิชชนิ ดพิเศษ
ฝ่ ุนอันตราย ฝ่ ุนหรือความสกปรกที่เป็ นตัวนำาจะ
สะสมตัว ทำาลายฉนวน
ใช้งานเกินกำาลัง ดูท่ีอาการมอเตอร์ร้อนเกินไป
คอมมิวเทเตอร์ ทำาความสะอาดด้วยกระดาษทราย
สกปรก ละเอียดเท่านั้ น ห้ามใช้กาเพชร
นำ้าหนั ก กลไกติดขัด ลองขยับนำ้าหนั กถ่วง(governor) ด้วย
ถ่วง มือ เปลี่ยนชิ้นส่วนที่เสีย
ทำางาน
ผิด
ปกติ
แปรงถ่านสึก ดูท่ีอาการมอเตอร์ไม่สตาร์ต
หรือติดขัด
ความถี่ของ ตรวจสอบความถี่ของแหล่งจ่ายไฟ
แหล่งจ่ายไฟตำ่า
โวลด์ตำ่า ดูท่ีอาการมอเตอร์ไม่สตาร์ต
ต่อวงจรไม่ถูก ตรวจสอบวงจรมอเตอร์
ต้อง
ตั้งแปรงถ่านไม่ ตรวจระยะห่างจากจุดสะเทินแข็ง
ถูกต้อง
โหลดมากเกินไป ดูท่ีอาการมอเตอร์ไม่สตาร์ต
แรงดึงสปริงไม่ ตั้งแรงดึงหรือเปลี่ยนสปริงใหม่
ถูกต้อง
วงจรควบคุมความเร็วของยูนิเวอร์แซลมอเตอร์
ยูนิเวอร์แซลมอเตอร์ เป็ นมอเตอร์ประเภทหนึ่ งที่สามารถใช้
ระบบไฟได้ท้ังแบบไฟสลับและไฟตรง โดยความเร็วของมอเตอร์
ประเภทนี้ ขึ้นอยู่กับกำาลังไฟที่ให้แก่ตัวมัน ดังนั้นเราจึงสามารถนำา
เอาไตรแอกหรือเอสซีอาร์มาใช้ควบคุมความเร็วของมอเตอร์
ประเภทนี้ ได้
โดยทั่ว ๆ ไปแล้วมอเตอร์ประเภทนี้ จะระยุความเร็วไว้ค่าเดียว
และกำาหนดแรงดันของไฟที่ใช้ การใช้ไตรแอกเพื่อควบคุมความเร็ว
ของมอเตอร์จะสามารถทำาได้โดยสมบูรณ์โดยใช้วงจรที่แสดงไว้ใน
รูปที่ 27

รูปที่ 27 การใช้ไตรแอกในการควบคุมความเร็วของยูนิเวอร์แซ
ลมอเตอร์
วงจรในรูปที่ 27 นี้ ใช้ควบคุมความเร็วของมอเตอร์ขนาดเล็กที่
ใช้กับโหลดไม่มากนัก เช่น เครื่องผสมอาหารหรือเลื่อยขนาดเล็ก
เป็ นต้น แต่สำาหรับมอเตอร์ท่ีใช้กับโหลดมาก เช่น สว่านไฟฟ้ า หรือ
เครื่องขัดกระดาาทรายเป็ นต้นควรจะใช้วงจรอีกแบบหนึ่ งที่ใช้เอสซี
อารืฃ์ควบคุมดังแสดงไว้ในรูปที่ 28
รูปที่ 28 การใช้เอสซีอาร์ในการควบคุมความเร็วของยูนิเวอร์แซ
ลมอเตอร์
เอสซีอาร์จะทำาหน้าที่ควบคุมกำาลังไฟฟ้ าที่จะป้ อนให้แก่มอเตอร์
โดยป้ อนไปให้ในลักษณะครึ่งรูปคลื่น ซึ่งจะทำาให้กำาลังและ
ความเร็วของมอเตอร์ลดลงประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ หรือมากกว่า
วงจรนี้ ประกอบด้วย R1, R2 และ D1 เป็ นตัวกำาหนดของการกระตุ้
นที่เฟสไม่เกิด 90 องศา ซึ่งเป็ นช่วงที่แรงบิด (Torque) ของ
มอเตอร์มีค่าสูง และสิ่งนี้ เองที่จำาเป็ น จะต้องใช้เอสซีอาร์ในการ
ควบคุมความเร็วของมอเตอร์ท่ีโหลดมากหรือต้องการแรงบิดมาก
นั่นเอง เพราะในกรณีน้ี ท่ีความเร็ว ของมอเตอร์ถึงแม้จะตำ่าแต่ก็ยัง
มีแรงบิดสูง ซึ่งต่างจากการใช้ไตรแอก ถ้ามีความเร็วเท่ากันแต่แรง
บิดจะตำ่ากว่ามาก เนื่ องจากตำาแหน่ งของเฟสที่ใช้กระตุ้นไตรแอกให้
ทำางานนั้นเกิน 90 องศา ทำาให้แรงบิดตำ่าลงนั่นเอง
การทำางานของยูนิเวอร์แซลมอเตอร์

ยูนิเวอร์แซลมอเตอร์น้ัน ขออาร์เมเจอร์และขดลวดสนามแม่
เหล็กจะต่ออนุกรมกัน เมื่อจ่ายไฟฟ้ าเข้า
จะเกิดขั้วแม่เหล็กขึ้นที่ตัวอาร์เมเจอร์ และที่ข้ัวสนามแม่เหล็ก ทำา
ให้เกิอแรงผลักกันทำา
ให้มอเตอร์หมุนไปได้
แสดงวงจรการทำางานของยูนิเวอร์แซลมอเตอร์

You might also like