Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 26

ชุดที่ ๒

ข้อสอบมาตรฐานชัน
้ ปี

กลุุมสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและ


วัฒนธรรม
สาระการเรียนร้้พ้ ืนฐาน พระพุทธศาสนา ชัน

มัธยมศึกษาปีที่ ๓

คำาชี้แจง ้ หมด ๗๐ ข้อ (๗๐ คะแนน)


ข้อสอบมีทัง

ให้นักเรียนเลือกคำาตอบทีถ
่ ้กต้องทีส
่ ุดเพียง
คำาตอบเดียว

๑. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยปั จจุบันให้ประสบ
ความสำาเร็จนั้นขึ้นอย่่กับข้อใด
ก. พุทธศาสนิกชนในประเทศต่างๆ รวมกลุ่มกัน
ข. ชาวพุทธร่วมกันจัดกิจกรรมในวันสำาคัญทางพระพุทธ
ศาสนา
ค. ผู้นำาประเทศทีน
่ ับถือพระพุทธศาสนาประกาศใหู
ประชาชนปฏิบัติตาม
ง. พุทธศาสนิกชนรวมกลุ่มกันจัดตัง้ สมาคมหรือองค์กร
เพือ
่ เผยแผ่พระพุทธศาสนา

13 พระพุทธศาสนา ม.๓
๒. ข้อใดไม่ได้แสดงว่าประเทศอินเดียสนับสนุนพระพุทธ
ศาสนา
ก. จัดงานฉลองพุทธชยันตี
ข. สนับสนุนการสรูางวัดทีพ
่ ุทธคยา
ค. ออกกฎหมายคูุมครองพุทธสถาน
ง. ประกาศใหูพระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาประจำาชาติ

๓. พระมหากษัตริย์พระองค์ใดทีไ่ ด้รับการยกย่องว่าเป็ น
พระเจ้าอโศกมหาราชของประเทศจีน
ก. พระเจูาฮัน
่ เม่งเตู
ข. พระเจูาถังไทูจง
ค. พระเจูาเหลียงบู้ตี ้
ง. จักรพรรดิจิน
๋ ซีฮ่องเตู

๔. ช่วงเวลาในข้อใดทีพ
่ ระพุทธศาสนาในประเทศญีป
่ ่ ุน
ได้รับการฟื้ นฟ่ข้ึนอีกครัง
้ โดยมี การส่งเสริมการค้นคว้า
วิจัยทางพระพุทธศาสนาตามแนวทางวิทยาศาสตร์
ก. การปฏิวัติญีป
่ ่ ุน ข. การปฏิวัติสมัยเมจิ
ค. หลังสงครามโลกครัง้ ที ่ ๑ ง. หลังสงครามโลก
ครัง้ ที ่ ๒

14 พระพุทธศาสนา ม.๓
๕. พระไตรปิ ฎกฉบับภาษาอังกฤษได้รับการจัดพิมพ์โดย
องค์กรใด
ก. สมาคมบาลีปกรณ์
ข. สมาคมมหาโพธิ ์ สาขาลอนดอน
ค. พุทธสมาคมระหว่างชาติ สาขาลอนดอน
ง. พุทธสมาคมแห่งเกรตบริเตนและไอร์แลนด์

๖. ใครเป็ นผ้่นำาในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศ
ฝรัง
่ เศส
ก. ดร.ยอร์จ กริมม์ ข. เซอร์ เอ็ดวิน อาร์โนลด์
ค. ดร.คาร์ล ไซเกนสติคเกอร์ ง. นางสาวคอนแส
ตนต์ ลอนสเบอรี

๗. ข้อใดไม่ใช่วิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของชาวพุทธ
ในประเทศสหรัฐอเมริกา
ก. จัดสัมมนาวิชาการทีว
่ ัดไทย
ข. จัดพิมพ์วารสารทางพระพุทธศาสนา
ค. จัดอบรมพระพุทธศาสนาภาคฤด้รูอนแก่เยาวชน
ง. จัดพิมพ์พระไตรปิ ฎกออกเผยแพร่ใหูแก่ชาวอเมริกัน

15 พระพุทธศาสนา ม.๓
๘. พุทธสมาคมแห่งรัฐใดในประเทศออสเตรเลียทีม
่ ี
บทบาทสำาคัญในการติดต่อ ประสานงานกับองค์การทาง
พระพุทธศาสนาต่างๆ ในภ่มิภาคเอเชียตะวันออก-
เฉียงใต้
ก. รัฐวิกตอเรีย ข. รัฐแทสมาเนีย
ค. รัฐควีนส์แลนด์ ง. รัฐนิวเซาท์เวลส์

๙. คุณสมบัติของผ้่ปกครองทีด
่ ีในทางพระพุทธศาสนาคือ
การมีสิง่ ใด
ก. บุคลิกภาพดี ข. มีความรำ่ารวย
ค. ทศพิธราชธรรม ง. เชีย
่ วชาญการทำา
สงคราม

๑๐.หลักธรรมข้อ “อปริหานิยกรรม” น่าจะเหมาะสมกับ


บุคคลกลุ่มใดมากทีส
่ ุด
ก. ผู้แทนราษฎร ข. คณะรัฐมนตรี
ค. สมาชิกรัฐสภา ง. บุคคลทุกกลุ่ม

๑๑.มิตรกับมิตรในข้อใดทีป
่ ฏิบัติต่อกันได้ถ่กต้องตาม
แนวทางของพระพุทธศาสนา

16 พระพุทธศาสนา ม.๓
ก. พิทักษ์ช่วยชาคริตทำาการบูาน ข. สุพรรษา
ต่อว่ารุ่งระวีทีส
่ อบตก
ค. นงนุชซือ
้ ของฝากไปเยีย
่ มพิชัยทีป
่ ่ วย ง. ชมะ
นันท์ชักชวนใหูขจรศักดิโ์ ดดเรียน

๑๒. พระสงฆ์ร่ปใดมีการกระทำาสอดคล้องกับอุดมการณ์
ของพระพุทธศาสนามากทีส
่ ุด
ก. หลวงพีบ
่ ำาเพ็ญเพียร ข. เจูาอาวาสสรูางกุฏิใหม่
ค. หลวงตาเผยแผ่ธรรมะ ง. ท่านพระคร้เดินทางจาริก
ไปอินเดีย

๑๓.พระพุทธเจ้าทรงชีว
้ ่าทางสุดโต่งทีบ
่ รรพชิตไม่ควรพึง
ปฏิบัติได้แก่ข้อใด
ก. การปลีกวิเวกในป่ า ข. บำาเพ็ญเพียรเป็ นเวลา
ยาวนาน
ค. นัง่ สมาธิเป็ นระยะ เมือ
่ ง่วงก็พก
ั ผ่อน ง. หมกมุ่นใน
กามและทรมานตนใหูลำาบาก

๑๔. “บุคคล” ทีพ


่ ระพุทธเจ้า
ทรงเห็นว่ามีความเหมาะสมในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ได้แก่ผ้่ใด

17 พระพุทธศาสนา ม.๓
ก. พระอัสสชิและพระสารีบุตร ข. พระสารีบุตรและ
พระโมคคัลลานะ
ค. พระอัสสชิและพระโมคคัลลานะ ง. พระโมคคัลลา
นะและพระอัญญาโกณฑัญญะ

๑๕.“ประทับนัง
่ ห้อยพระบาท พระหัตถ์ซ้ายวางควำ่าบน
พระชานุ พระหัตถ์ขวาวางหงาย มีลิงและช้างคอย
ปรนนิบัติ” หมายถึงพระพุทธร่ปปางใด
ก. ปางลีลา ข. ปางสมาธิ
ค. ปางป่ าเลไลย์ ง. ปางหูามสมุทร

๑๖.เหตุการณ์ตอนทีพ
่ ระพุทธเจ้าเสด็จขึ้นไปจำาพรรษา ณ
สวรรค์ช้น
ั ดาวดึงส์เพือ
่ แสดง
ธรรมโปรดพุทธมารดาเป็ นเวลา ๓ เดือนแล้วเสด็จลง
จากดาวดึงส์ ถ่กนำามาสร้างเป็ น
พระพุทธร่ปปางอะไร
ก. ปางลีลา ข. ปางมารวิชัย
ค. ปางนาคปรก ง. ปางแสดงปฐมเทศนา

๑๗. ข้อใดไม่เกีย
่ วข้องกับพระ
อัญญาโกณฑัญญะ

18 พระพุทธศาสนา ม.๓
ก. หนึง่ ในปั ญจวัคคีย์ ข. เป็ นเอตทัคคะในทางผู้มี
ปั ญญา
ค. พระภิกษุร้ปแรกในพระพุทธศาสนา ง. ผู้ทำานาย
พระลักษณะของเจูาชายสิทธัตถะ

๑๘. พระอัญญาโกณฑัญญะได้
รับการยกย่องจากพระพุทธองค์ว่าเป็ นรัตตัญญ่ ดังจะเห็น
ได้จากกรณีใด
ก. เคร่งครัดในระเบียบวินัย
ข. ชักนำาหลานชายเขูามาบวชเป็ นพระภิกษุ
ค. มีความรอบรู้ทงั ้ ทางโลกและทางธรรม
ง. จำาพรรษา ณ สระฉัททันต์ในป่ าหิมพานต์เป็ นเวลา
๑๒ ปี

๑๙. พระนางมหาปชาบดีโคตมี
เถรีมีความเกีย
่ วข้องกับเจ้าชายสิทธัตถะอย่างไร
ก. ทรงเลีย
้ งด้แทนพระราชมารดา ข. ด้แลความ
เรียบรูอยในพระราชวัง
ค. ถวายคำาปรึกษาเรือ
่ งการออกผนวช ง. ถวาย
พระอักษรตัง้ แต่ทรงพระเยาว์

19 พระพุทธศาสนา ม.๓
๒๐. เหตุใดจึงกล่าวว่าพระมหาปชาบดีโคตมีเถรีทรงเป็ น
ผ้่มีความอดทนส่งยิง่
ก. เป็ นพุทธสาวิกาทีด
่ ี ข. ใหูการ
ด้แลเจูาชายสิทธัตถะ
ค. ทรงตัดสินใจบวชเป็ นภิกษุณี ง. ปฏิบัติตามครุ
ธรรม ๘ ประการ

๒๑. พระเขมาเถรีได้เข้าเฝ้ าพระพุทธเจ้าด้วยเหตุผลใด


ก. มีความศรัทธาในพระสงฆ์สาวก
ข. ทรงตูองการฟั งธรรมจากพระพุทธเจูา
ค. ทรงตามเสด็จพรูอมกับพระเจูาพิมพิสารพระสวามี
ง. พระเจูาพิมพิสารทรงหาอุบายใหูพระเขมาเถรีไดูเขูา
เฝู าพระพุทธเจูา

๒๒. ข้อใดคือเหตุผลการขอ
บวชของพระเขมาเถรี
ก. เบือ
่ ความสุขทางโลก
ข. ตูองการบวชตามพระสวามี
ค. ตูองการความสงบทางปั ญญา

20 พระพุทธศาสนา ม.๓
ง. ไดูบรรลุอรหันต์และแตกฉานในปฏิสัมภิทา ๔
ประการ

๒๓. สาเหตุทีท
่ ำาให้พระเจ้าปเส
นทิโกศลหันมานับถือพระพุทธศาสนาคืออะไร
ก. นับถือตามขูาราชบริพาร ข. เห็นอิทธิฤทธิข
์ องพระ
สาวก
ค. เลือ
่ มใสในวัตรปฏิบัติของพระสงฆ์ ง. ศรัทธาใน
หลักคำาสอนของพระพุทธเจูา

๒๔. ข้อใดแสดงถึงความ
แตกฉานในพุทธธรรมของหม่อมเจ้าหญิงพ่นพิศมัย ดิ
ศกุล
ก. ทรงเขูาอบรมจริยธรรมอย่างสมำ่าเสมอ
ข. มีความรอบรู้ในภาษาบาลีอย่างแตกฉาน
ค. ศึกษาปฏิบัติธรรมและคำา
้ จุนพระพุทธศาสนา
ง. มีความเลือ
่ มใสศรัทธาในพระรัตนตรัยอย่างมัน
่ คง

๒๕. แง่คิดทีไ่ ด้รับจากการศึกษา


นันทวิสาลชาดกคือข้อใด
ก. พ้ดดีเป็ นศรีแก่ตัว ข. ทำาดีไดูดี ทำาชัว
่ ไดูชัว

21 พระพุทธศาสนา ม.๓
ค. เห็นกงจักรเป็ นดอกบัว ง. พ้ดไปสองไพเบีย
้ นิง่ เสีย
ตำาลึงทอง

๒๖. ร่ป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ จัดเป็ นองค์


ประกอบของสิง่ ใด
ก. พละ ๕ ข. ขันธ์ ๕
ค. นิโรธ ๕ ง. นิวรณ์ ๕

๒๗. การนำาแนวคิดเรือ
่ ง
ไตรลักษณ์ไปใช้เมือ
่ เกิดปั ญหาในชีวิตสอดคล้องกับ
ข้อใด
ก. นำา
้ ขึน
้ ใหูรีบตัก ข. ชูาๆ ไดูพรูาเล่มงาม
ค. เรียนผ้กตูองเรียนแกู ง. เสียแลูวเสียไป หาใหม่ดี
กว่า

๒๘. “ทินกรเล่นพนันบอลจน
หมดตัว จึงทำาการฉ้อโกงเงินบริษัทและถ่กจับได้ เขา
จึงถ่ก
ไล่ออกจากงาน” กรณีของทินกรสอดคล้องกับหลัก
ธรรมข้อใด
ก. วัฏฏะ ๓ ข. กรรม ๓

22 พระพุทธศาสนา ม.๓
ค. ทุกขตา ๓ ง. อกุศลม้ล ๓

๒๙. สิง่ ทีข


่ ัดขวางให้การศึกษา
และปฏิบัติตามพุทธธรรมไม่สามารถดำาเนินไปด้วยดีคือ
อะไร
ก. โลภ โกรธ หลง ข. ตัณหา มานะ ทิฐิ
ค. กิเลส กรรม วิบาก ง. อนิจจตา ทุกขตา อนัตต
ตา

๓๐.บุคคลใดปฏิบัติตนโดยแสดงให้เห็นว่าเห็นผ้่มีสัมมา
สังกัปปะ
ก. สุนีย์ปล่อยเงินกูโ้ ดยคิดดอกเบีย
้ ตำ่า ข. ทวีโชติพ้ด
หยอกลูอเพือ
่ นๆ เป็ นประจำา
ค. ภัคจิราใหูอภัยผู้ทีค
่ ิดรูายต่อเธอเสมอ ง. เจิมศักดิ ์
ซือ
้ ทีด
่ ินจำานวนมากหวังเก็งกำาไร

๓๑.พุทธศาสนสุภาษิตข้อใดส่งเสริมให้บุคคลมีสัมมา
วายามะ
ก. ตนแลเป็ นทีพ
่ ึง่ แห่งตน ข. จิตทีฝ
่ ึ กแลูว นำาสุขมาใหู
ค. คนล่วงทุกข์ไดูเพราะความเพียร ง. ธรรมย่อม
รักษาผู้ประพฤติธรรม

23 พระพุทธศาสนา ม.๓
๓๒. อภิสิทธิร์ ้่จก
ั ใช้จ่ายเงินอย่างประหยัดเพราะตระหนัก
ว่าครอบครัวของตนมีฐานะ
ยากจน แสดงว่าอภิสิทธิเ์ ป็ นคนอย่างไร
ก. รูจ
้ ักเหตุ ข. รูจ
้ ักประมาณ
ค. รูจ
้ ักกาล ง. รูจ
้ ักชุมชน

๓๓. การอย่่ร่วมกันในสังคมซึง

ประกอบด้วยคนหม่่มาก ควรยึดหลักสัปปุริสธรรมข้อใด
ก. การรูจ
้ ักประมาณ ข. การรูจ
้ ักกาล
ค. การรูจ
้ ักชุมชน ง. การรูจ
้ ักบุคคล

๓๔. ข้อความใดต่อไปนีก
้ ล่าวไม่
ถ่กต้องเกีย
่ วกับการฟั งธรรม
ก. เมือ
่ จิตใจสับสน ควรหาความสงบดูวยการฟั งธรรม
ข. ควรเลือกฟั งธรรมเฉพาะในวันสำาคัญทางพระพุทธ
ศาสนา
ค. ผู้ฟังควรมีศรัทธาในตัวผู้แสดงธรรมและควรฟั งดูวย
ความตัง้ ใจ
ง. ในการฟั งธรรมจะตูองนำามาพิจารณา วิเคราะห์แต่สิง่
ทีด
่ ีแลูวนำาไปปฏิบัติ

24 พระพุทธศาสนา ม.๓
๓๕. ข้อใดถือได้ว่าเป็ นการ
สนทนาธรรม
ก. เอ๋กับแนนคุยกันเรือ
่ งประโยชน์ของการทำาบุญ
ข. อาร์ตกับตูอมคุยกันเรือ
่ งคุณค่าของการบริโภคเนือ

สัตว์
ค. แยมกับนุชปรึกษากันเรือ
่ งการจัดงานวันขึน
้ ปี ใหม่ที ่
โรงเรียน
ง. เจตน์และเพือ
่ นปรึกษากันเรือ
่ งวิธีการรักษาความ
สะอาดของหูองเรียน

๓๖. “ชนะตนนัน
่ แลดีกว่า” คำา
ทีข
่ ีดเส้นใต้หมายความว่าอย่างไร
ก. การควบคุมตนเองไดู ข. การเอาชนะคนอืน

ค. ไม่เบียดเบียนทำารูายตนเอง ง. ไม่เบียดเบียน
ทำารูายคนอืน

๓๗. พฤติกรรมของบุคคลใดต่อไปนีไ้ ด้ชือ


่ ว่าเป็ นผ้่ไม่
ประมาท
ก. อัจฉราร่าเริงสนุกสนานอย่้เสมอ ข. เอมอรซูอมวิง่
ก่อนแข่งขันทุกครัง้

25 พระพุทธศาสนา ม.๓
ค. สุรพลนัง่ เหม่อลอยคิดถึงแต่คนรัก ง. สิทธิชัยครุ่นคิด
ถึงแต่ความลูมเหลวทีผ
่ ่านมา

๓๘. พุทธศาสนสุภาษิตทีว
่ ่า “ความประมาทเป็ นทางแห่ง
ความตาย” มุ่งสอนเรือ
่ งใด
ก. ใหูมีสติ ข. อย่าวิตกกังวล
ค. ชีวิตมีแต่ทุกข์ ง. ความไม่ยึดมัน
่ ถือมัน

๓๙. ดำารงไปฟั งการบรรยายที ่


มหาวิทยาลัยแห่งหนึง
่ เขาพบว่าวิทยากรหน้าตาน่าจะ
อายุยัง น้อยเหมือนเด็กเพิง่ เรียน
จบมาใหม่ๆ แต่เมือ
่ ได้ฟังคำาพ่ด ปรากฏว่าวิทยากรมี
ความร้่ ในเรือ
่ งทีพ
่ ่ดเป็ นอย่างดี
แสดงว่าดำารงฟั งการบรรยายโดยใช้ปัญญาดังข้อใด
ก. มีสมาธิ ข. รูจ
้ ักแยกแยะ
ค. ไม่มีอคติต่อผู้พ้ด ง. รูจ
้ ักเลือกฟั งคนพ้ด

๔๐.วิธีการในข้อใดทีท
่ ำาให้เข้าใจพระพุทธศาสนาได้อย่าง
ถ่องแท้ลึกซึ้งมากทีส
่ ุด
ก. ศึกษาพระไตรปิ ฎก ข. ไปชมสังเวชนียสถาน
ค. อ่านหนังสือพุทธประวัติ ง. บวชเรียนใหูครบพรรษา

26 พระพุทธศาสนา ม.๓
๔๑. ส่วนใดของพระอภิธรรม
ปิ ฎกทีก
่ ล่าวถึงข้อธรรมเป็ นหมวดๆ แล้วแยกออกอธิบาย
เป็ นประเภทๆ
ก. ธัมมสังคณี ข. วิภังค์
ค. ธาตุกถา ง. ปุคคลบัญญัติ

๔๒. พุทธศาสนิกชนทีป
่ กป้องมิ
ให้มก
ี ารลบหล่่พระพุทธศาสนาโดยรวม พึงปฏิบัติเช่นใด
ก. วางเฉย ไม่ตูองสนใจ ข. ชีแ
้ จงผูก
้ ระทำาดูวยสันติ
วิธี
ค. ใชูกำาลังข่มข่้ผก
ู้ ระทำาอย่างรุนแรง ง. แจูงตำารวจจับ
โดยทันทีทีพ
่ บเห็น

๔๓. หน้าทีห
่ ลักอันสำาคัญของพระสงฆ์คือข้อใด
ก. สัง่ สอนประชาชน
ข. ศึกษาและปฏิบัติตามพระธรรมวินัย
ค. เป็ นผู้นำาในการพัฒนาสาธารณประโยชน์
ง. ส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

๔๔. เหตุใดจึงกล่าวว่า “พระสงฆ์เป็ นกัลยาณมิตรของ


สังคม”

27 พระพุทธศาสนา ม.๓
ก. คอยรับฟั งคำาสารภาพบาป ข. เป็ นทีป
่ รับทุกข์ของ
ชาวบูาน
ค. บอกทางทีน
่ ำาไปส่้ความรำ่ารวย ง. ชีแ
้ นะสิง่ ทีเ่ ป็ น
ประโยชน์แก่ประชาชน

๔๕. ข้อใดสัมพันธ์กับบทบาท
หน้าทีข
่ องพระสงฆ์ในด้านการเป็ นผ้่ “บอกทางสวรรค์ให้”
ก. เจูาอาวาสแจงพระวินัยแก่พระอนุชิต
ข. หลวงตาสนทนาธรรมกับมรรคทายก
ค. พระคร้ปลัดแนะนำาธรรมใหูแก่ญาติโยม
ง. พระวิชิตชวนศิษย์วัดไปช่วยกันปล้กตูนไมู

๔๖. กิจกรรมในข้อใดทีม
่ ีส่วน
ส่งเสริมในการเผยแผ่คำาสอนทางพระพุทธศาสนา
ก. ชวนชาวต่างชาติมาฟั งพระธรรมเทศนาในวันพระ
ข. เชิญชาวต่างชาติมาเทีย
่ วงานวัดและด้การละเล่น
ต่างๆ
ค. เชิญชาวต่างชาติมาร่วมพิธีเวียนเทียนและชมวัดไทย
อันสวยงาม

28 พระพุทธศาสนา ม.๓
ง. เชิญชาวต่างชาติมาทอดผูาป่ าและนำาเทีย
่ วสถานที ่
สำาคัญในจังหวัด

๔๗. วิธีการศึกษาหลักคำาสอน
ทางพระพุทธศาสนาให้เข้าใจอย่างลึกซึ้งนั้น
พุทธศาสนิกชน จะต้องปฏิบัตต
ิ ามหลักใด
ก. หลักพห้ส้ต ข. หลักบริหารจิต
ค. หลักไตรสิกขา ง. หลักวิปัสสนากรรมฐาน

๔๘. องค์กรชาวพุทธใดทีม
่ ีบทบาทในการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาและปกป้อง พระพุทธศาสนาในหม่่ชาว
พุทธต่างนิกาย
ก. ชมรม ข. สมาคม
ค. องค์การ ง. การเขูาค่าย

๔๙. หน้าทีท
่ ีแ
่ ท้จริงของคร่ทีพ
่ ึงมีต่อศิษย์ได้แก่ข้อใด
ก. สอนใหูเป็ นคนดี ข. สอนใหูเป็ นคนรำ่ารวย
ค. สอนใหูเป็ นคนมีเกียรติ ง. สอนใหูเป็ นคนมีความ
อดทน

29 พระพุทธศาสนา ม.๓
๕๐.ข้อใดเป็ นเหตุผลทีช
่ าวพุทธต้องนิมนต์พระสงฆ์มา
ประกอบศาสนพิธีทีบ
่ ้าน
ก. ประหยัดค่าใชูจ่าย ข. สะดวกแก่การจัดงาน
ค. เป็ นธรรมเนียมนิยม ง. เพือ
่ ความเป็ นสิริมงคล

๕๑.การใช้คำาว่า “ฝ่ าพระบาท” หรือ “ฝ่ าบาท” พึงเลือก


กล่าวกับพระสงฆ์ในระดับใด
ก. พระทัว
่ ไป ข. สมเด็จพระสังฆราช
ค. พระคร้สัญญาบัตร ง.
สมเด็จพระราชาคณะ

๕๒. “ทรงชัยเดินอย่างสง่า
สุภาพ หลังตรง” แสดงว่าทรงชัยอย่่ในสถานการณ์ใด
ก. เดินตามลำาพัง ข. เดินกับผู้ใหญ่
ค. เดินนำาเสด็จ ง. เดินตามเสด็จ

๕๓. ท่านัง
่ ในข้อใดทีส
่ ตรีไม่ควร
ปฏิบัติในการนัง
่ ฟั งเทศน์
ก. นัง่ คุกเข่า ข. นัง่ ตัวตรง
ค. นัง่ เหยียดขา ง. นัง่ พับเพียบ

30 พระพุทธศาสนา ม.๓
๕๔. ข้อใดไม่ใช่จด
ุ มุ่งหมายของการประกอบศาสนพิธีใน
วันสำาคัญทางพระพุทธศาสนา
ก. ชำาระจิตใจใหูบริสุทธิ ์ ข. รักษาเอกลักษณ์ของชาติ
ค. สมาทานศีลและฟั งธรรม ง. ผ่อนคลาย
ความเครียดในวันหยุดงาน

๕๕. ข้อใดกล่าวถ่กต้องเกีย
่ วกับ
วันวิสาขบ่ชา
ก. วันจาตุรงคสันนิบาต
ข. พระพุทธเจูาทรงแสดงธรรมครัง้ แรก
ค. คลูายวันเสด็จออกผนวชของพระพุทธเจูา
ง. คลูายวันประส้ติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของ
พระพุทธเจูา

๕๖. การบวชของท่านโกณฑัญญะมีผลสำาคัญทีส
่ ุดต่อ
พระพุทธศาสนาอย่างไร
ก. มีสาวกเพิม
่ ขึน
้ ข. มีพระรัตนตรัยครบองค์

ค. มีพห้ส้ตเพิม
่ มากขึน
้ ง. มีกำาลังในการเผยแผ่
ศาสนามากขึน

31 พระพุทธศาสนา ม.๓
๕๗. การถวายเทียนพรรษาแก่
พระสงฆ์ แต่เดิมมีวัตถุประสงค์เพือ
่ อะไร
ก. หาเงินเขูาวัด ข. ใชูจุดใหูแสงสว่าง
ค. เป็ นการทำาบุญวิธีหนึง่ ง. นำาไปตกแต่งวัดใหู
สวยงาม

๕๘. ใครเป็ นผ้่เริม


่ ท่ลขอพระบรม
พุทธานุญาตจากพระพุทธเจ้าให้พระสงฆ์ใช้ผ้าอาบ นำ้า
ฝน
ก. นางวิสาขา ข. พระอานนท์
ค. พระเจูาพิมพิสาร ง. พระโมคคัลลานะ

๕๙. “อิมานิ มะยัง ภันเต ปั งสุก่ลจีวะรานิ สะปะริวารา


นิ...” ใช้ในพิธีการข้อใด
ก. การทอดผูาป่ า ข. การทอดกฐิน
ค. การถวายผูาอาบนำา
้ ฝน ง. การถวายผูาจำานำาพรรษา

๖๐.การถวายเครือ
่ งไทยธรรมในงานอวมงคลนิยมกระทำา
เมือ
่ ใด
ก. หลังบังสุกุล ข. หลังจากพระฉันอาหาร

32 พระพุทธศาสนา ม.๓
ค. ต่อจากถวายขูาวพระพุทธ ง. หลังจากกรวดนำา

อุทิศส่วนกุศล

๖๑.ข้อใดกล่าวถึงการกรวดนำ้าได้ถ่กต้อง
ก. จับภาชนะสำาหรับกรวดนำา
้ ดูวยมือซูาย
ข. รินนำา
้ ใหูไหลลงไปเป็ นสายไม่ขาดตอน
ค. รินนำา
้ ใหูเสร็จพอดีกับทีพ
่ ระสงฆ์เริม
่ สวด “ยะถา วาริ
วะหา...”
ง. เมือ
่ พระสงฆ์สวด “สัพพีติโย...” ใหูนำานำา
้ ไปเทในที ่
เหมาะสม

๖๒. สภาวะทีจ
่ ิตเข้าส่่สมาธิจะมี
ลักษณะอย่างไร
ก. ว่างเปล่า ข. วอกแวก
ค. หลับลึก ง. ไม่ฟูุงซ่าน

๖๓. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการฝึ กสมาธิในชีวิตประจำา


วัน
ก. สามารถสำารวมกาย วาจา ใจ
ข. ทำานายเหตุการณ์ต่างๆ ไดูอย่างแม่นยำา
ค. ทำางานใหูเกิดประสิทธิภาพมากขึน
้ กว่าเดิม

33 พระพุทธศาสนา ม.๓
ง. แกูไขปั ญหาต่างๆ ดูวยการไตร่ตรองอย่างรอบคอบ

๖๔. บุคคลในข้อใดแสดงถึง
ความเป็ นผ้่บรรลุจุดมุ่งหมายส่งสุดของการฝึ กจิตให้เป็ น
สมาธิ
ก. ลัดดามีสุขภาพจิตดีอย่้เสมอ
ข. สมศรีมีความสงบ ระงับกิเลสไดู
ค. มารศรีมีความรอบรู้ทัง้ ทางโลกและทางธรรม
ง. สุปราณีมีความกระฉับกระเฉงในการทำางาน

๖๕. ถ้าจิตเปรียบได้กับม้าพยศ
วิธีบริหารจิตแบบอานาปานสติเปรียบได้กับอะไร
ก. อานมูา ข. บังเหียน
ค. โกลนมูา ง. หางมูา

๖๖. สิทธิโชคเป็ นผ้่ใช้โยนิโส


มนสิการในชีวิตประจำาวัน แสดงว่าเขาเป็ นคนเช่นไร
ก. มีความตัง้ ใจจริง ข. มีสุขภาพสมบ้รณ์

34 พระพุทธศาสนา ม.๓
ค. มีมนุษยสัมพันธ์ ง. รูจ
้ ักคิดวิเคราะห์อย่าง
รอบคอบ

๖๗. การคิดอย่างร้่จักว่าสภาพ
ปั ญหาคืออะไร มีสาเหตุมาจากอะไร และวิธีแก้แบบ
ไหน
ดีทีส
่ ุด เป็ นวิธีคิดตามข้อใด
ก. คิดแบบอริยสัจ ข. คิดแบบถ้กวิธี
ค. คิดแบบเป็ นระเบียบ ง. คิดแบบเป็ นเหตุเป็ นผล

๖๘. การกระทำาของบุคคลใด
สอดคล้องกับหลักการเดินสายกลางหรือมัชฌิมาปฏิปทา
ก. อัจฉราทำางานแบบเชูาชามเย็นชาม ข. วินัยมัก
ไปกินขูาวตามภัตตาคารหร้ๆ
ค. ไชยาใชูจ่ายเงินซือ
้ ของเท่าทีจ
่ ำาเป็ น ง. นุสบา
อดมือ
้ กินมือ
้ เพือ
่ เก็บเงินใหูไดูมากๆ

๖๙. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาทีส
่ อดคล้องกับ
เศรษฐกิจพอเพียงได้แก่ข้อใด
ก. สมบัติ ๓ ข. สัปปุริสธรรม ๗
ค. อุบาสกธรรม ๗ ง. บุญกิริยาวัตถุ ๑๐

35 พระพุทธศาสนา ม.๓
๗๐. ข้อใดไม่ถ่กต้องเกีย
่ วกับ
การสอนเรือ
่ งสันโดษในพระพุทธศาสนา
ก. ยินดีในสิง่ ทีต
่ นหามาไดู ข. แสวงหาความสุขทางวัตถุ
ไดู
ค. ใหูมีความมักนูอย พอใจเท่าทีต
่ นมีอย่้ ง. ไม่
ปฏิเสธความมัง่ คัง่ ถูาไม่เบียดเบียนผู้อืน

ชุดที่ ๒

เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั
าตรฐานชัน้ ปี

กลุุมสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและ


วัฒนธรรม
สาระการเรียนร้้พ้ ืนฐาน พระพุทธศาสนา ชัน

มัธยมศึกษาปีที่ ๓

คำาชี้แจง ้ หมด ๗๐ ข้อ (๗๐ คะแนน)


ข้อสอบมีทัง

ให้นักเรียนเลือกคำาตอบทีถ
่ ้กต้องทีส
่ ุดเพียง
คำาตอบเดียว

๑. ง. ๒. ง. ๓. ค. ๔. ง. ๕. ก.

36 พระพุทธศาสนา ม.๓
๖. ง. ๗. ง. ๘. ข. ๙. ค. ๑๐.ง.
๑๑.ค. ๑๒. ค. ๑๓. ง. ๑๔. ข.
๑๕. ค.
๑๖.ก. ๑๗. ข. ๑๘. ค. ๑๙. ก.
๒๐. ง.๒๑. ง. ๒๒. ง. ๒๓. ค.
๒๔. ข. ๒๕. ก.๒๖. ข. ๒๗. ง.
๒๘. ค. ๒๙. ข. ๓๐. ค.
๓๑.ค. ๓๒. ข. ๓๓. ค. ๓๔. ข.
๓๕. ก.
๓๖. ก. ๓๗. ข. ๓๘. ก. ๓๙. ค.
๔๐. ก.
๔๑. ก. ๔๒. ข. ๔๓. ข. ๔๔. ง.
๔๕. ค.
๔๖. ก. ๔๗. ก. ๔๘. ค. ๔๙. ก.
๕๐. ง.
๕๑.ง. ๕๒. ก. ๕๓. ค. ๕๔. ง.
๕๕. ง.
๕๖. ข. ๕๗. ข. ๕๘. ก. ๕๙. ก.
๖๐. ก.

37 พระพุทธศาสนา ม.๓
๖๑.ข. ๖๒. ง. ๖๓. ข. ๖๔. ข.
๖๕. ข.
๖๖. ง. ๖๗. ก. ๖๘. ค. ๖๙. ข.
๗๐. ค.

38 พระพุทธศาสนา ม.๓

You might also like