Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 35

คำำแปล

กฎบัตรสมำคมแห่งประชำชำติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
**************
อำรัมภบท

เรำ บรรดำประชำชนของรัฐสมาชิกของสมาคมแห่งประชาชาติ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) โดยมีประมุขรัฐหรือหัวหน้า
รัฐบาลของบรูไนดารุสซาลาม ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐ
อินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย
สหภาพพม่า สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ สาธารณรัฐสิงคโปร์ ราช
อาณาจักรไทย และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เป็ นผู้แทน

รับทรำบด้วยความพึงพอใจในความสำาเร็จอย่างสูงและการขยายตัว
ของอาเซียนนับตัง้ แต่มีการก่อตัง้ ขึน
้ ทีก
่ รุงเทพมหานครด้วยการ
ประกาศใช้ปฏิญญาอาเซียน

โดยระลึกถึงการตัดสินใจจัดทำากฎบัตรอาเซียน ตามแผนปฏิบัติการ
เวียงจันทน์ ปฏิญญากัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยการจัดทำากฎบัตรอาเซียน
และปฏิญญาเซบูว่าด้วยแผนแม่บทของกฎบัตรอาเซียน

ตระหนักถึงการมีผลประโยชน์ร่วมกันและการพึง่ พาอาศัยกัน
ระหว่างประชาชนและรัฐสมาชิกอาเซียนซึง่ มีความผูกพันกันทาง
ภูมิศาสตร์ ตลอดจนมีวัตถุประสงค์และชะตาร่วมกัน
2

ได้รับแรงบันดำลใจและรวมกันภายใต้วิสัยทัศน์เดียวกัน อัตลักษณ์
เดียวกัน และประชาคมทีม
่ ีความเอือ
้ อาทรเดียวกัน

รวมกันด้วยความปรารถนาและเจตจำานงร่วมกันทีจ
่ ะดำารงอยู่ใน
ภูมิภาคแห่งสันติภาพ ความมัน
่ คงและเสถียรภาพทีถ
่ าวร มีการ
เติบโตทางเศรษฐกิจทีย
่ ัง่ ยืน มีความมัง่ คัง่ และความก้าวหน้าทาง
สังคมร่วมกัน และทีจ
่ ะส่งเสริมผลประโยชน์ อุดมการณ์ และแรง
ดลใจทีส
่ ำาคัญของอาเซียน

เคำรพความสำาคัญพืน
้ ฐานของมิตรภาพและความร่วมมือ และหลัก
การแห่งอธิปไตย ความเสมอภาค บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่
แทรกแซงในกิจการภายใน ฉันทามติและเอกภาพในความหลาก
หลาย

ยึดมัน
่ ในหลักการแห่งประชาธิปไตย หลักนิติธรรม และธรรมาภิ
บาล การเคารพและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขัน
้ พืน
้ ฐาน

ตกลงใจทีจ
่ ะประกันการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนเพือ
่ ประโยชน์ของ
ประชาชนรุ่นปั จจุบันและอนาคต และตัง้ มัน
่ ให้ ความอยู่ดีกินดี
การดำารงชีวิตและสวัสดิการของประชาชนเป็ นแกนของกระบวนการ
สร้างประชาคมอาเซียน

เชือ
่ มัน
่ ในความจำาเป็ นทีจ
่ ะกระชับสายสัมพันธ์ทีม
่ ีอยู่ของความเป็ น
อันหนึง่ อันเดียวกันในระดับภูมิภาค เพือ
่ บรรลุประชาคมอาเซียนทีม
่ ี
ความเหนียวแน่นทางการเมือง การรวมตัวทางเศรษฐกิจ และมี
3

ความรับผิดชอบทางสังคม เพือ
่ ทีจ
่ ะตอบสนองอย่างมีประสิทธิภาพ
ต่อความท้าทายและโอกาสในปั จจุบันและอนาคต

ผูกพันทีจ
่ ะเร่งสร้างประชาคมโดยผ่านความร่วมมือ และการรวมตัว
ในภูมิภาคทีเ่ พิม
่ ขึน
้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ โดยการจัดตัง้ ประชาคม
อาเซียน ซึง่ ประกอบด้วยประชาคมความมัน
่ คงอาเซียน ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ตาม
ทีร
่ ะบุไว้ในปฏิญญาบาหลีว่าด้วยข้อตกลงอาเซียนฉบับที ่ 2

ในกำรนี ้ จึงตกลงใจทีจ
่ ะจัดทำากรอบทางกฎหมายและทางสถาบัน
ของอาเซียนโดยกฎบัตรนี ้

และเพือ
่ กำรนี ้ ประมุขรัฐหรือหัวหน้ารัฐบาลของประเทศสมาชิก
อาเซียน ซึง่ มาประชุมกันทีส
่ ิงคโปร์ ในวาระประวัติศาสตร์ครบรอบ
40 ปี ของการก่อตัง้ อาเซียน ได้เห็นชอบกับกฎบัตรอาเซียนนี ้

หมวดที ่ 1
วัตถุประสงค์และหลักกำร

ข้อ 1: วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ของอาเซียนคือ
1. เพือ
่ ธำารงรักษาและเพิม
่ พูนสันติภาพ ความมัน
่ คง และ
เสถียรภาพ กับทัง้ เสริมสร้างคุณค่าทางสันติภาพในภูมิภาคให้มาก
ขึน

4

2. เพือ
่ เพิม
่ ความสามารถในการปรับตัวสู่สภาวะปกติของภูมิภาค
โดยการส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมือง ความมัน
่ คง เศรษฐกิจ
และสังคมวัฒนธรรมให้แน่นแฟ้นยิง่ ขึน

3. เพือ
่ ธำารงรักษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้เป็ นเขตปลอดอาวุธ
นิวเคลียร์และปราศจากอาวุธทีม
่ ีอานุภาพทำาลายล้างสูงอืน
่ ๆ ทุก
ชนิด
4. เพือ
่ ให้มัน
่ ใจว่าประชาชนและรัฐสมาชิกของอาเซียนอยู่ร่วมกับ
ประชาคมโลกได้โดยสันติในสภาวะทีเ่ ป็ นธรรม มีประชาธิปไตยและ
มีความสมานสามัคคี
5. เพือ
่ สร้างตลาดและฐานการผลิตเดียวทีม
่ ีเสถียรภาพ ความ
มัง่ คัง่ มีความสามารถในการแข่งขันสูง และมีการรวมตัวกันทาง
เศรษฐกิจซึง่ มีการอำานวยความสะดวกทางการค้าและการลงทุน
อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการเคลือ
่ นย้ายอย่างเสรีของสินค้า
บริการ และการลงทุน การเคลือ
่ นย้ายทีไ่ ด้รับความสะดวกของนัก
ธุรกิจ ผู้ประกอบวิชาชีพ ผู้มีความสามารถพิเศษและแรงงาน และ
การเคลือ
่ นย้ายอย่างเสรียิง่ ขึน
้ ของเงินทุน
6. เพือ
่ บรรเทาความยากจนและลดช่องว่างการพัฒนาในอาเซียน
ผ่านความช่วยเหลือซึง่ กันและกันและความร่วมมือ
7. เพือ
่ เสริมสร้างประชาธิปไตย เพิม
่ พูนธรรมาภิบาล และหลัก
นิติธรรม ตลอดจนส่งเสริมและคุ้มครอง สิทธิมนุษยชนและ
เสรีภาพขัน
้ พืน
้ ฐานโดยคำานึงถึงสิทธิและหน้าทีข
่ องรัฐสมาชิกของ
อาเซียน
5

8. เพือ
่ เผชิญหน้าอย่างมีประสิทธิภาพ ตามหลักความมัน
่ คงที ่
ครอบคลุมในทุกมิติ ต่อสิง่ ท้าทายทุกรูปแบบ อาชญากรรมข้ามชาติ
และสิง่ ท้าทายข้ามพรมแดนอืน
่ ๆ
9. เพือ
่ สนับสนุนการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน เพือ
่ ทำาให้แน่ใจว่ามีการ
คุ้มครองสภาพแวดล้อมในภูมิภาค ความยัง่ ยืนของ
ทรัพยากรธรรมชาติในภูมิภาค การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมใน
ภูมิภาค และคุณภาพชีวิตทีด
่ ีของประชาชนในภูมิภาค
10. เพือ
่ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยผ่านความร่วมมือทีใ่ กล้ชิดยิง่
ขึน
้ ในเรือ
่ งการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีพ วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี เพือ
่ เสริมสร้างพลังประชาชนและเสริมสร้างความเข้ม
แข็งแห่งประชาคมอาเซียน
11. เพือ
่ เพิม
่ พูนความอยู่ดีกินดีและการดำารงชีวิตของประชาชน
อาเซียนด้วยการให้ประชาชนมีโอกาสทีท
่ ัดเทียมกันในการเข้าถึง
การพัฒนามนุษย์ สวัสดิการสังคม และความยุติธรรม
12. เพือ
่ เสริมสร้างความร่วมมือในการสร้างสภาพแวดล้อมที ่
ปลอดภัย มัน
่ คง และปราศจากยาเสพติด สำาหรับประชาชนของ
อาเซียน
13. เพือ
่ ส่งเสริมอาเซียนทีม
่ ีประชาชนเป็ นศูนย์กลาง ซึง่ ทุกภาค
ส่วนของสังคมได้รับการส่งเสริมให้มีส่วนร่วมและได้รับผลประโยชน์
จากกระบวนการรวมตัวและการสร้างประชาคมของอาเซียน
14. เพือ
่ ส่งเสริมอัตลักษณ์ของอาเซียนด้วยการส่งเสริมความสำานึก
ถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมรดกของภูมิภาคยิง่ ขึน
้ และ
6

15. เพือ
่ ธำารงไว้ซงึ่ ความเป็ นศูนย์รวมและบทบาทเชิงรุกของ
อาเซียนในฐานะพลังขับเคลือ
่ นขัน
้ แรกของความสัมพันธ์และความ
ร่วมมือระหว่างอาเซียนกับหุ้นส่วนนอกภูมิภาค ในภาพแบบของ
ภูมิภาคที ่ เปิ ดกว้าง โปร่งใส และไม่ปิดกัน

ข้อ 2: หลักกำร
1. ในการดำาเนินการเพือ
่ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามข้อ 1 อาเซียน
และรัฐสมาชิกอาเซียนยืนยันและยึดมัน
่ ในหลักการพืน
้ ฐานที ่
ปรากฏในปฏิญญา ความตกลง อนุสัญญา ข้อตกลง สนธิ
สัญญา และตราสารอืน
่ ๆ ของอาเซียน
2. อาเซียนและรัฐสมาชิกอาเซียนจะปฏิบัติตามหลักการดังต่อไปนี ้
(ก) การเคารพเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค บูรณภาพ
แห่งดินแดน และอัตลักษณ์แห่งชาติของรัฐสมาชิกอาเซียน
ทัง้ ปวง
(ข) ความผูกพันและความรับผิดชอบร่วมกันในการเพิม
่ พูน
สันติภาพ ความมัน
่ คงและความมัง่ คัง่ ของภูมิภาค
(ค) การไม่ใช้การรุกราน และการข่มขู่ว่าจะใช้หรือการใช้
กำาลังหรือการกระทำาอืน
่ ใดในลักษณะทีข
่ ัดต่อกฎหมาย
ระหว่างประเทศ
(ง) การอาศัยการระงับข้อพิพาทโดยสันติ
(จ) การไม่แทรกแซงกิจการภายในของรัฐสมาชิกอาเซียน
7

(ฉ) การเคารพสิทธิของรัฐสมาชิกทุกรัฐในการธำารง
ประชาชาติของตนโดยปราศจากการแทรกแซง การ
บ่อนทำาลาย และการบังคับ จากภายนอก
(ช) การปรึกษาหารือทีเ่ พิม
่ พูนขึน
้ ในเรือ
่ งทีม
่ ีผลกระทบอย่าง
ร้ายแรงต่อผลประโยชน์ร่วมกันของอาเซียน
(ซ) การยึดมัน
่ ต่อหลักนิติธรรม ธรรมาภิบาล หลักการ
ประชาธิปไตยและรัฐบาลตาม รัฐธรรมนูญ
(ฌ) การเคารพเสรีภาพพืน
้ ฐาน การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิ
มนุษยชน และการส่งเสริมความยุติธรรมทางสังคม
(ญ) การยึดถือกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่าง
ประเทศ รวมถึงกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ทีร
่ ัฐ
สมาชิกอาเซียนยอมรับ
(ฎ) การละเว้นจากการมีส่วนร่วมในนโยบายหรือกิจกรรมใดๆ
รวมถึงการใช้ดินแดนของตน ซึง่ ดำาเนินการโดยรัฐสมาชิก
อาเซียนหรือรัฐทีม
่ ิใช่สมาชิกอาเซียนหรือผู้กระทำาทีไ่ ม่ใช่รัฐ
ใดๆ ซึง่ คุกคามอธิปไตย บูรณภาพแห่งดินแดน หรือ
เสถียรภาพทางการเมืองและเศรษฐกิจของรัฐสมาชิก
อาเซียน
(ฏ) การเคารพในวัฒนธรรม ภาษาและศาสนาทีแ
่ ตกต่างของ
ประชาชนอาเซียน โดยเน้นคุณค่าร่วมกันของประชาชน
อาเซียนในจิตวิญญาณของเอกภาพในความหลากหลาย
(ฐ) ความเป็ นศูนย์รวมของอาเซียนในความสัมพันธ์ภายนอก
ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยคงไว้ซงึ่
8

ความมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน การมองไปภายนอก การไม่ปิด


กัน
้ และการไม่เลือกปฏิบัติ และ
(ฑ) การยึดมัน
่ ในกฎการค้าพหุภาคีและระบอบของอาเซียนซึง่
มีกฎเป็ นพืน
้ ฐาน สำาหรับการปฏิบัติตามข้อผูกพันทาง
เศรษฐกิจอย่างมีประสิทธิภาพ และการลดอย่างค่อยเป็ น
ค่อยไป เพือ
่ ไปสู่การขจัดการ กีดกันทัง้ ปวงต่อการรวม
กลุ่มทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค ในระบบเศรษฐกิจซึง่ ขับ
เคลือ
่ นโดยตลาด

หมวดที ่ 2
สภำพบุคคลตำมกฎหมำย

ข้อ 3: สภำพบุคคลตำมกฎหมำยของอำเซียน
อาเซียน ในฐานะองค์การระหว่างประเทศในระดับรัฐบาล ได้รบ

สภาพบุคคลตามกฎหมายโดยกฎบัตรนี ้

หมวดที ่ 3
สมำชิกภำพ
ข้อ 4: รัฐสมำชิก
1. รัฐสมาชิกอาเซียน ได้แก่ บรูไนดารุสซาลาม ราชอาณาจักร
กัมพูชา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว มาเลเซีย สหภาพพม่า สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์
สาธารณรัฐสิงคโปร์ ราชอาณาจักรไทย และสาธารณรัฐ
สังคมนิยมเวียดนาม
9

ข้อ 5: สิทธิและพันธกรณี
1. ให้รัฐสมาชิกมีสิทธิและพันธกรณีทีเ่ ท่าเทียมกันภายใต้
กฎบัตรนี ้
2. ให้รัฐสมาชิกมีมาตรการทีจ
่ ำาเป็ นทุกประการอันรวมถึง
การออกกฎหมายภายในทีเ่ หมาะสม เพือ
่ อนุวัติบทบัญญัติของ
กฎบัตรนีอ
้ ย่างมีประสิทธิภาพ และเพือ
่ ปฏิบัติตามพันธกรณี
ทัง้ หมดของรัฐสมาชิก
3. ในกรณีการละเมิดกฎบัตรอย่างร้ายแรง หรือการไม่ปฏิบัติตาม
ให้นำาข้อ 20 มาใช้บังคับ

ข้อ 6: กำรรับสมำชิกใหม่
1. กระบวนการในการสมัครและการรับสมาชิกของอาเซียนให้
กำาหนดโดยคณะมนตรีประสานงานอาเซียน
2. การรับสมาชิกให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี ้
(ก) ทีต
่ ัง้ ทางภูมิศาสตร์อันเป็ นทีย
่ อมรับว่าอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้
(ข) การยอมรับโดยรัฐสมาชิกอาเซียนทัง้ ปวง
(ค) การตกลงทีจ
่ ะผูกพันและเคารพกฎบัตรนี ้ และ
(ง) ความสามารถและความเต็มใจทีจ
่ ะปฏิบัติพันธกรณีของสมาชิก
ภาพ
3. การรับสมาชิกให้ตัดสินโดยฉันทามติโดยทีป
่ ระชุมสุดยอด
อาเซียน ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีประสานงานอาเซียน
10

4. รัฐผู้สมัครจะได้รับเข้าเป็ นสมาชิกอาเซียนเมือ
่ ได้ลงนาม
ภาคยานุวัติสารกฎบัตรนี ้

หมวดที ่ 4
องค์กร

ข้อ 7: ทีป
่ ระชุมสุดยอดอำเซียน
1. ให้ทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียนประกอบด้วยประมุขของรัฐ หรือ
หัวหน้ารัฐบาลของรัฐสมาชิก
2. ให้ทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียน:
(ก) เป็ นองค์กรสูงสุดในการกำาหนดนโยบายของอาเซียน
(ข) พิจารณาหารือ ให้แนวนโยบาย และตัดสินใจในประเด็นหลัก
ทีเ่ กีย
่ วข้องกับการบรรลุวัตถุประสงค์ของอาเซียน ในเรือ
่ ง
สำาคัญทีเ่ ป็ นผลประโยชน์ของรัฐสมาชิก และในทุกประเด็นที ่
ได้มีการนำาเสนอต่อทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียนโดยคณะมนตรี
ประสานงานอาเซียน คณะมนตรีประชาคมอาเซียน และ
องค์กรระดับรัฐมนตรีเฉพาะสาขา
(ค) สัง่ การให้รัฐมนตรีทีเ่ กีย
่ วข้องในแต่ละคณะมนตรีทีเ่ กีย
่ วข้องให้
จัดการประชุมเฉพาะกิจระหว่างรัฐมนตรี และหารือประเด็น
สำาคัญทีเ่ กีย
่ วกับอาเซียน ทีม
่ ีลักษณะคาบเกีย
่ วระหว่างคณะ
มนตรีประชาคมอาเซียนต่างๆ ทัง้ นี ้ ให้คณะมนตรีประสาน
งานอาเซียนรับรองกฎการดำาเนินการประชุมดังกล่าว
(ง) ตอบสนองสถานการณ์ฉุกเฉินทีก
่ ระทบต่ออาเซียนโดยดำาเนิน
มาตรการทีเ่ หมาะสม
11

(จ) ตัดสินใจในเรือ
่ งทีม
่ ีการนำาเสนอต่อทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียน
ภายใต้หมวดที ่ 7 และ 8
(ฉ) อนุมัติการจัดตัง้ และการยุบองค์กรระดับรัฐมนตรีเฉพาะสาขา
และสถาบันอืน
่ ๆ ของอาเซียน และ
(ช) แต่งตัง้ เลขาธิการอาเซียน ทีม
่ ีชัน
้ และสถานะเทียบเท่า
รัฐมนตรีซึง่ จะปฏิบัติหน้าทีโ่ ดยได้รับความไว้วางใจและตาม
ความพอใจของประมุขของรัฐหรือหัวหน้ารัฐบาล ตามข้อ
เสนอแนะของทีป
่ ระชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน
3. ให้ทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียน
(ก) จัดประชุมสองครัง้ ต่อปี และให้รัฐสมาชิกซึง่ เป็ นประธาน
อาเซียนเป็ นเจ้าภาพ และ
(ข) เรียกประชุม เมือ
่ มีความจำาเป็ น ในฐานะการประชุม
พิเศษหรือเฉพาะกิจ โดยมีประธานการประชุมเป็ นรัฐสมาชิก
ซึง่ เป็ นประธานอาเซียน โดยจัดในสถานทีท
่ ีร
่ ัฐสมาชิก
อาเซียนจะตกลงกัน

ข้อ 8: คณะมนตรีประสำนงำนอำเซียน
1. ให้คณะมนตรีประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีต่าง
ประเทศอาเซียน และประชุมกันอย่างน้อยสองครัง้ ต่อปี
2. ให้คณะมนตรีประสานงานอาเซียน
(ก) เตรียมการประชุมของทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียน
(ข) ประสานการอนุวัติความตกลงและข้อตัดสินใจของที ่
ประชุมสุดยอดอาเซียน
12

(ค) ประสานงานกับคณะมนตรีประชาคมอาเซียนต่างๆ เพือ


่ เพิม

ความสอดคล้องกันของนโยบาย ประสิทธิภาพ และความ
ร่วมมือระหว่างกัน
(ง) ประสานงานรายงานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียน ซึง่
เสนอทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียน
(จ) พิจารณารายงานประจำาปี ของเลขาธิการอาเซียนเกีย
่ วกับงาน
ของอาเซียน
(ฉ) พิจารณารายงานของเลขาธิการอาเซียนเกีย
่ วกับหน้าที ่
และการดำาเนินงานของสำานักงานเลขาธิการอาเซียนและ
องค์กรอืน
่ ๆ ทีเ่ กีย
่ วข้อง
(ช) เห็นชอบการแต่งตัง้ และการยุติหน้าทีข
่ องรองเลขาธิการ
อาเซียน ตามข้อเสนอแนะของเลขาธิการอาเซียน และ
(ซ) ปฏิบัติภารกิจอืน
่ ตามทีก
่ ำาหนดไว้ในกฎบัตรนี ้ หรือหน้าที ่
อืน
่ ทีไ่ ด้รับมอบหมายจากทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียน
3. ให้คณะมนตรีประสานงานอาเซียนได้รับการสนับสนุนโดยเจ้า
หน้าทีอ
่ าวุโสทีเ่ กีย
่ วข้อง

ข้อ 9: คณะมนตรีประชำคมอำเซียนต่ำงๆ
1. ให้คณะมนตรีประชาคมอาเซียนต่างๆ ประกอบด้วยคณะมนตรี
ประชาคมการเมืองและความมัน
่ คงอาเซียน คณะมนตรีประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน และคณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
อาเซียน
13

2. ให้คณะมนตรีประชาคมอาเซียนแต่ละคณะมีองค์กรระดับ
รัฐมนตรีเฉพาะสาขาทีเ่ กีย
่ วข้องในขอบข่ายการดำาเนินงานของ
ตน
3. ให้รัฐสมาชิกแต่ละรัฐแต่งตัง้ ผู้แทนของรัฐตนสำาหรับการประชุม
คณะมนตรีประชาคมอาเซียนแต่ละคณะ
4. เพือ
่ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแต่ละเสาหลักของเสาหลักทัง้ สาม
ของประชาคมอาเซียน ให้คณะมนตรีประชาคมอาเซียนแต่ละคณะ
(ก) ทำาให้แน่ใจว่ามีการอนุวัติข้อตัดสินใจของทีป
่ ระชุมสุดยอด
อาเซียนทีเ่ กีย
่ วข้อง
(ข) ประสานการปฏิบัติงานของสาขาต่างๆ ทีอ
่ ยู่ในขอบข่าย
การดำาเนินงานของตน และในประเด็นซึง่ คาบเกีย
่ วกับคณะ
มนตรีประชาคมอืน
่ ๆ และ
(ค) เสนอรายงานและข้อเสนอแนะต่อทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียน
เกีย
่ วกับเรือ
่ งทีอ
่ ยู่ในขอบข่าย การดำาเนินงาน
ของตน
5. ให้คณะมนตรีประชาคมอาเซียนแต่ละคณะประชุมกันอย่างน้อย
สองครัง้ ต่อปี และมีประธานการประชุมเป็ นรัฐมนตรีทีเ่ หมาะสมจาก
รัฐสมาชิกซึง่ เป็ นประธานอาเซียน
6. ให้คณะมนตรีประชาคมอาเซียนแต่ละคณะได้รับการสนับสนุน
จากเจ้าหน้าทีอ
่ าวุโสทีเ่ กีย
่ วข้อง

ข้อ 10: องค์กรระดับรัฐมนตรีอำเซียนเฉพำะสำขำ


1. ให้องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา
14

(ก) ดำาเนินงานตามอำานาจหน้าทีข
่ องแต่ละองค์กรทีม
่ ีอยู่
(ข) ปฏิบัติตามความตกลงและข้อตัดสินใจของทีป
่ ระชุมสุดยอด
อาเซียนทีอ
่ ยู่ในขอบข่ายการดำาเนินงานของแต่ละองค์กร
(ค) เสริมสร้างความร่วมมือในสาขาของแต่ละองค์กรให้เข้ม
แข็งขึน
้ เพือ
่ สนับสนุนการรวมตัวของอาเซียนและการสร้าง
ประชาคมอาเซียน และ
(ง) เสนอรายงานและข้อเสนอแนะต่อคณะมนตรีประชาคมอาเซียน
ของแต่ละองค์กร
2. องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขาแต่ละองค์กรอาจมี
เจ้าหน้าทีอ
่ าวุโสและองค์กรย่อยทีเ่ กีย
่ วข้องในขอบข่ายการดำาเนิน
งานของตนตามทีร
่ ะบุในภาคผนวก 1 เพือ
่ ดำาเนินหน้าทีข
่ องตน ภาค
ผนวกดังกล่าวอาจได้รบ
ั การปรับปรุงให้ทันสมัย โดยเลขาธิการ
อาเซียนตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการของผู้แทนถาวรประจำา
อาเซียน โดยไม่ต้องใช้บทบัญญัติว่าด้วยการแก้ไขภายใต้กฎบัตรนี ้

ข้อ 11: เลขำธิกำรอำเซียนและสำำนักงำนเลขำธิกำรอำเซียน


1. ให้เลขาธิการอาเซียนได้รับการแต่งตัง้ โดยทีป
่ ระชุมสุดยอด
อาเซียน โดยมีวาระการดำารงตำาแหน่งห้าปี ทีไ่ ม่สามารถต่ออายุได้
และให้ได้รับการเลือกจากคนชาติของรัฐสมาชิกอาเซียน บนพืน
้ ฐาน
ของการหมุนเวียนตามลำาดับตัวอักษร โดยคำานึงถึงความซือ
่ สัตย์
สุจริต ความสามารถ รวมถึงประสบการณ์ทางวิชาชีพ และความ
เท่าเทียมกันทางเพศ
2. ให้เลขาธิการอาเซียน
15

(ก) ปฏิบัติหน้าทีแ
่ ละความรับผิดชอบของตำาแหน่งระดับสูงนี ้
โดยเป็ นไปตามบทบัญญัติของกฎบัตรฉบับนีแ
้ ละตราสาร
พิธีสาร และแนวปฏิบัติทีม
่ ีอยู่ของอาเซียนทีเ่ กีย
่ วข้อง
(ข) อำานวยความสะดวกและสอดส่องดูแลความคืบหน้าในการ
อนุวัติความตกลงและข้อตัดสินใจของอาเซียน และเสนอ
รายงานประจำาปี เกีย
่ วกับงานของอาเซียนต่อที ่
ประชุมสุดยอดอาเซียน
(ค) เข้าร่วมในการประชุมต่างๆ ของทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียน
คณะมนตรีประชาคมอาเซียน คณะมนตรีประสานงาน
อาเซียน และองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา
และการประชุมอาเซียนอืน
่ ๆ ทีเ่ กีย
่ วข้อง
(ง) เสนอข้อคิดเห็นของอาเซียนและเข้าร่วมการประชุมกับภาคี
ภายนอกตามแนวนโยบายทีไ่ ด้รับ ความเห็นชอบและ
ตามอำานาจหน้าที ่ ทีเ่ ลขาธิการอาเซียนได้รับมอบหมาย
และ
(จ) เสนอแนะการแต่งตัง้ และการยุติหน้าทีข
่ องรองเลขาธิการ
อาเซียนต่อคณะมนตรีประสานงานอาเซียน
เพือ
่ ให้ความเห็นชอบ
3. ให้เลขาธิการอาเซียนเป็ นหัวหน้าเจ้าหน้าทีฝ
่ ่ ายบริหารของ
อาเซียนด้วย
4. ให้เลขาธิการอาเซียนได้รับการสนับสนุนจากรองเลขาธิการ
อาเซียนสีค
่ น ซึง่ มีชัน
้ และสถานะของรัฐมนตรีช่วยว่าการ โดยให้
16

รองเลขาธิการอาเซียนรับผิดชอบต่อเลขาธิการอาเซียนในการปฏิบัติ
หน้าทีข
่ องตน
5. รองเลขาธิการอาเซียนทัง้ สีค
่ นต้องมีสัญชาติทีแ
่ ตกต่างจาก
เลขาธิการอาเซียนและมาจากรัฐสมาชิกทีแ
่ ตกต่างกันสีร
่ ัฐสมาชิก
อาเซียน
6. ให้รองเลขาธิการอาเซียนสีค
่ น ประกอบด้วย
(ก) รองเลขาธิการอาเซียนสองคน ซึง่ มีวาระการดำารง
ตำาแหน่งสามปี ทีไ่ ม่สามารถต่ออายุได้ ซึง่ ได้รบ
ั เลือกจากคน
ชาติของรัฐสมาชิกอาเซียน บนพืน
้ ฐานของการหมุนเวียน
ตามลำาดับตัวอักษร โดยคำานึงถึงความซือ
่ สัตย์สุจริต
คุณสมบัติ ความสามารถ ประสบการณ์ และความเท่าเทียม
กันทางเพศ และ
(ข) รองเลขาธิการอาเซียนสองคน ซึง่ มีวาระการดำารงตำาแหน่ง
สามปี และอาจต่ออายุได้อีกสามปี ให้ รองเลขาธิการ
อาเซียนสองคนนีไ้ ด้รับการคัดเลือกโดยเปิ ดกว้างบนพืน
้ ฐาน
ของความรู้ความสามารถ
7. ให้สำานักเลขาธิการอาเซียนประกอบด้วยเลขาธิการอาเซียน
และพนักงานตามทีจ
่ ำาเป็ น
8. ให้เลขาธิการอาเซียนและพนักงาน
(ก) ยึดมัน
่ ในมาตรฐานสูงสุดของความซือ
่ สัตย์สุจริต ความมี
ประสิทธิภาพ และความสามารถ ในการ
ปฏิบัติหน้าทีข
่ องตน
17

(ข) ไม่ขอหรือรับคำาสัง่ จากรัฐบาลหรือภาคีภายนอกอาเซียน


ใดๆ และ
(ค) ละเว้นจากการดำาเนินการใด ซึง่ อาจมีผลสะท้อนถึง
ตำาแหน่งหน้าทีข
่ องตนในฐานะทีเ่ ป็ นเจ้าหน้าทีข
่ องสำานัก
เลขาธิการอาเซียน ซึง่ รับผิดชอบต่ออาเซียนเท่านัน

9. รัฐสมาชิกอาเซียนแต่ละรัฐรับทีจ
่ ะเคารพในลักษณะความเป็ น
อาเซียนโดยเฉพาะของความรับผิดชอบของเลขาธิการอาเซียนและ
พนักงาน และจะไม่แสวงหาทีจ
่ ะมีอิทธิพลต่อเลขาธิการอาเซียนและ
พนักงาน ในการปฏิบัติตามความรับผิดชอบของบุคคลเหล่านัน

ข้อ 12: คณะกรรมกำรผู้แทนถำวรประจำำอำเซียน


1. ให้รัฐสมาชิกอาเซียนแต่ละรัฐแต่งตัง้ ผู้แทนถาวรประจำาอาเซียน
หนึง่ คน ในระดับเอกอัครราชทูตทีม
่ ีถิน
่ พำานัก ณ กรุงจาการ์ตา
2. ผู้แทนถาวรรวมกันตัง้ ขึน
้ เป็ นคณะกรรมการผู้แทนถาวร ซึง่ จะ
ต้อง
(ก) สนับสนุนการทำางานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียนและ
องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา
(ข) ประสานงานกับสำานักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ และ
องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขาอืน
่ ๆ
(ค) ติดต่อประสานงานกับเลขาธิการอาเซียนและสำานัก
เลขาธิการอาเซียนในทุกเรือ
่ งทีเกี
่ ยวกั
่ บงานของตน
(ง) อำานวยความสะดวกความร่วมมือของอาเซียนกับหุ้นส่วน
ภายนอก และ
18

(จ) ปฏิบัติหน้าทีอ
่ ืน
่ ๆ ทีอ
่ าจกำาหนดโดยคณะมนตรีประสาน
งานอาเซียน

ข้อ 13: สำำนักเลขำธิกำรอำเซียนแห่งชำติ


ให้รัฐสมาชิกแต่ละรัฐจัดตัง้ สำานักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ ซึง่ จะ
ต้อง
(ก) ทำาหน้าทีเ่ ป็ นผู้ประสานงานกลางแห่งชาติ
(ข) เป็ นหน่วยงานระดับชาติ ซึง่ เก็บรักษาข้อสนเทศในเรือ
่ งทัง้ ปวง
เกีย
่ วกับอาเซียน
(ค) ประสานงานระดับชาติเกีย
่ วกับการอนุวัติขอ
้ ตัดสินใจของ
อาเซียน
(ง) ประสานงานและสนับสนุนการเตรียมการระดับชาติของการ
ประชุมอาเซียน
(จ) ส่งเสริมอัตลักษณ์และความสำานึกเกีย
่ วกับอาเซียนในระดับชาติ
และ
(ฉ) มีส่วนร่วมสร้างประชาคมอาเซียน

ข้อ 14: องค์กรสิทธิมนุษยชนอำเซียน


1. โดยสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และหลักการของกฎบัตร
อาเซียนเกีย
่ วกับการส่งเสริมและค้ม
ุ ครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพ
ขัน
้ พืน
้ ฐาน ให้อาเซียนจัดตัง้ องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียนขึน

2. องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียนจะต้องดำาเนินการตามอำานาจ
หน้าที ่ ซึง่ จะกำาหนดโดยทีป
่ ระชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน
19

ข้อ 15: มูลนิธิอำเซียน


1. ให้มูลนิธิอาเซียนสนับสนุนเลขาธิการอาเซียนและดำาเนินการ
ร่วมกับองค์กรของอาเซียนทีเ่ กีย
่ วข้องในการสนับสนุนการสร้าง
ประชาคมอาเซียน โดยการส่งเสริมความสำานึกทีเ่ พิม
่ ขึน
้ เกีย
่ วกับอัต
ลักษณ์ของอาเซียน การมีปฏิสม
ั พันธ์ระหว่างประชาชน และการ
ดำาเนินการร่วมกันทีใกล้
่ ชดิ ระหว่างภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม นัก
วิชาการ และผู้มีส่วนได้เสียอืน
่ ๆ ในอาเซียน
2. ให้มูลนิธิอาเซียนรับผิดชอบต่อเลขาธิการอาเซียน ผ้ซ
ู ึง่ จะต้อง
เสนอรายงานต่อทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียนผ่านคณะมนตรีประสาน
งานอาเซียน
3.
หมวดที ่ 5
องคภำวะทีม
่ ีควำมสัมพันธ์กับอำเซียน

ข้อ 16: องคภำวะทีม


่ ีควำมสัมพันธ์กับอำเซียน
1. อาเซียนอาจมีความสัมพันธ์กับองคภาวะซึง่ สนับสนุนกฎบัตร
อาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิง่ วัตถุประสงค์และหลักการของอาเซียน
องคภาวะทีมี
่ ความสัมพันธ์เหล่านีระบุ
้ อย่ใู นภาคผนวก 2
2. ให้คณะกรรมการผู้แทนถาวรบัญญัติกฎว่าด้วยขัน
้ ตอนดำาเนิน
งานและหลักเกณฑ์สำาหรับการมีความสัมพันธ์ตามข้อเสนอแนะของ
เลขาธิการอาเซียน
20

3. ภาคผนวก 2 อาจได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยโดยเลขาธิการ
อาเซียนตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการผู้แทนถาวร โดยไม่ต้อง
ใช้บทบัญญัติว่าด้วยการแก้ไขภายใต้กฎบัตรนี ้

หมวด 6
ควำมคุ้มกันและเอกสิทธิ ์

ข้อ 17: ควำมคุ้มกันและเอกสิทธิข


์ องอำเซียน
1. ให้อาเซียนได้รบ
ั เอกสิทธิและความค้
์ ม ุ กันในดินแดนของรัฐ
สมาชิกเท่าทีจำ
่ าเป็ นเพือ
่ ให้บรรลุความม่งุ ประสงค์ของอาเซียน
2. ความคุ้มกันและเอกสิทธิจ
์ ะถูกกำาหนดไว้ในความตกลงต่างหาก
ระหว่างอาเซียนและรัฐสมาชิกเจ้าภาพ

ข้อ 18: ควำมคุ้มกันและเอกสิทธิข


์ องเลขำธิกำรอำเซียนและ
พนักงำนของสำำนักเลขำธิกำรอำเซียน
1. ให้เลขาธิการอาเซียนและพนักงานของสำานักเลขาธิการ
อาเซียนทีเ่ ข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ อย่างเป็ นทางการของอาเซียน
หรือเป็ นตัวแทนของอาเซียนในรัฐสมาชิก ได้รับความคุ้มกันและ
เอกสิทธิเ์ ท่าทีจ
่ ำาเป็ นในการปฏิบัติหน้าทีอ
่ ย่างอิสระของตน
2. ความคุ้มกันและเอกสิทธิภ
์ ายใต้ข้อนีจ
้ ะถูกกำาหนดไว้ในความ
ตกลงต่างหากของอาเซียน

ข้อ 19 : ควำมคุ้มกันและเอกสิทธิข
์ องผ้แ
ู ทนถำวรและเจ้ำหน้ำทีที
่ ่
อย่รู ะหว่ำงกำรปฏิบต
ั ห
ิ น้ำทีของอำเซี
่ ยน
21

1. ให้ผู้แทนถาวรของรัฐสมาชิกประจำาอาเซียนและเจ้าหน้าทีข
่ อง
รัฐสมาชิกทีเ่ ข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ อย่างเป็ นทางการของอาเซียน
หรือเป็ นตัวแทนของอาเซียนในรัฐสมาชิก ได้รับความคุ้มกันและ
เอกสิทธิเ์ ท่าทีจ
่ ำาเป็ นในการปฏิบัติหน้าทีข
่ องตน
2. ให้ความคุ้มกันและเอกสิทธิข
์ องผู้แทนถาวรและเจ้าหน้าทีท
่ ีอ
่ ยู่
ระหว่างการปฏิบัติหน้าทีข
่ องอาเซียนอยู่ภายใต้บังคับของอนุสัญญา
กรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูต ค.ศ. 1961 หรือเป็ นไปตาม
กฎหมายภายในของรัฐสมาชิกอาเซียนทีเ่ กีย
่ วข้อง

หมวด 7
กำรตัดสินใจ

ข้อ 20: กำรปรึกษำหำรือและฉันทำมติ


1. โดยหลักการพืน
้ ฐาน ให้การตัดสินใจของอาเซียนอย่บ
ู นพืน
้ ฐาน
ของการปรึกษาหารือและฉันทามติ
2. หากไม่สามารถหาฉันทามติได้ ทีประชุ
่ มสุดยอดอาเซียนอาจ
ตัดสินว่า การตัดสินใจเฉพาะเรือ
่ งหนึง่ เรือ
่ งใด จะสามารถทำาได้
อย่างไร
3. ไม่มค
ี วามใดในวรรค 1 และ 2 ของข้อนีก
้ ระทบถึงวิธก
ี ารตัดสิน
ใจทีร
่ ะบุอยู่ในตราสารทางกฎหมายของอาเซียนทีเ่ กีย
่ วข้อง
4. ในกรณีทมี
ี ่ การละเมิดกฎบัตรอย่างร้ายแรง หรือการไม่ปฏิบต
ั ต
ิ าม
ให้เสนอเรือ
่ งดังกล่าวไปยังทีประชุ
่ มสุดยอดอาเซียนเพือ
่ ตัดสิน

ข้อ 21: กำรอนุวัติและขั้นตอนกำรดำำเนินงำน


22

1. ให้คณะมนตรีประชาคมอาเซียนแต่ละคณะบัญญัติกฎว่าด้วย
ขัน
้ ตอนการดำาเนินงานของตนเอง
2. ในการอนุวัติขอ
้ ผูกพันด้านเศรษฐกิจ อาจนำาสูตรการเข้าร่วม
แบบยืดหยุ่นรวมถึงสูตรอาเซียนทีไ่ ม่รวมสมาชิกบางรัฐมาใช้
หากมีฉันทามติ

หมวด 8
กำรระงับข้อพิพำท

ข้อ 22: หลักกำรทัว


่ ไป
1. รัฐสมาชิกต้องพยายามทีจ
่ ะระงับข้อพิพาททัง้ ปวงอย่างสันติให้
ทันท่วงที โดยผ่านการสนทนา การปรึกษาหารือ
และการเจรจา
2. ให้อาเซียนจัดตัง้ และธำารงไว้ซงึ่ กลไกการระงับข้อพิพาทในทุก
สาขาความร่วมมือของอาเซียน

ข้อ 23: คนกลำงทีม


่ ีตำำแหน่งหน้ำทีน
่ ่ำเชือ
่ ถือ กำร
ประนีประนอม และกำรไกล่เกลีย

1. รัฐสมาชิกทีเ่ ป็ นคู่กรณีในข้อพิพาทอาจจะตกลงกันเมือ
่ ใดก็ได้ที ่
จะใช้คนกลางทีม
่ ีตำาแหน่งหน้าทีน
่ ่าเชือ
่ ถือ การประนีประนอม หรือ
การไกล่เกลีย
่ เพือ
่ ระงับข้อพิพาทภายในระยะเวลาทีต
่ กลงกัน
2. คู่กรณีในข้อพิพาทอาจร้องขอให้ประธานอาเซียน หรือ
เลขาธิการอาเซียน ทำาหน้าทีโ่ ดยตำาแหน่ง ในการเป็ น
23

คนกลางทีม
่ ีตำาแหน่งหน้าทีน
่ ่าเชือ
่ ถือ การประนีประนอม หรือการ
ไกล่เกลีย

ข้อ 24: กลไกระงับข้อพิพำทตำมตรำสำรเฉพำะ
1. ให้ ระงั บข้ อพิ พาทที เ่ กี ย
่ วข้ องกั บตราสารเฉพาะของอาเซี ยน
โดยกลไกและขั ้นตอนการดำา เนิ นการที ก
่ ำา หนดไว้ ในตราสา
รนัน
้ ๆ
2. ให้ระงับข้อพิพาททีไ่ ม่เกีย
่ วข้องกับการตีความหรือการใช้
ตราสารอาเซียนใดๆ โดยสันติตามสนธิสัญญาทางไมตรีและ
ความร่วมมือแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และตามกฎว่าด้วยขัน

ตอนการดำาเนินงานของสนธิสัญญาดังกล่าว
3. ในกรณีทีม
่ ิกำาหนดไว้เป็ นอย่างอืน
่ เป็ นการเฉพาะ ให้ระงับข้อ
พิพาททีเ่ กีย
่ วข้องกับการตีความหรือการใช้ความตกลงทาง
เศรษฐกิจของอาเซียนตามพิธีสารว่าด้วยกลไกระงับข้อพิพาท
ของอาเซียน

ข้อ 25: กำรจัดตัง


้ กลไกระงับข้อพิพำท
ในกรณีทีม
่ ิได้กำาหนดไว้เป็ นอย่างอืน
่ เป็ นการเฉพาะ ให้มก
ี ารจัดตัง้
กลไกระงับข้อพิพาททีเ่ หมาะสม รวมถึงอนุญาโตตุลาการ สำาหรับ
ข้อพิพาททีเ่ กีย
่ วข้องกับการตีความหรือการใช้กฎบัตรนี ้ และ
ตราสารอาเซียนอืน
่ ๆ

ข้อ 26: ข้อพิพำททีม


่ ิอำจระงับได้
24

ในกรณีทีย
่ ังคงระงับข้อพิพาทมิได้ ภายหลังการใช้บทบัญญัติก่อน
หน้านีใ้ นหมวดนีแ
้ ล้ว ให้เสนอข้อพิพาทนัน
้ ไปยังทีป
่ ระชุมสุดยอด
อาเซียน เพือ
่ ตัดสิน

ข้อ 27: กำรปฏิบัติตำม


1. เลขาธิการอาเซียนโดยการช่วยเหลือจากสำานักเลขาธิการ
อาเซียน หรือ องค์กรอาเซียนอืน
่ ๆ ทีไ่ ด้รับแต่งตัง้ จะสอดส่อง
ดูแลการปฏิบัติตามผลการวินิจฉัย ข้อเสนอแนะ หรือข้อตัดสิน
ใจ ซึง่ เป็ นผลจากกลไกระงับข้อพิพาทของอาเซียน และส่ง
รายงานไปยังทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียน
2. รัฐสมาชิกทีไ่ ด้รบ
ั ผลกระทบจากการไม่ปฏิบัติตามผลการ
วินิจฉัย ข้อเสนอแนะ หรือข้อตัดสินใจ ซึง่ เป็ นผลจากกลไก
ระงับข้อพิพาทของอาเซียน อาจส่งเรือ
่ งไปยังทีป
่ ระชุมสุดยอด
อาเซียนเพือ
่ ตัดสิน

ข้อ 28: บทบัญญัติของกฎบัตรสหประชำชำติ และกระบวนกำร


ระหว่ำงประเทศอืน
่ ๆ ทีเ่ กีย
่ วข้อง
หากมิได้ระบุไว้เป็ นอย่างอืน
่ ในกฎบัตรนี ้ รัฐสมาชิกยังคงไว้ซึง่ สิทธิที ่
จะใช้วิธก
ี ารระงับข้อพิพาทอย่างสันติทีร
่ ะบุไว้ในข้อ 33(1) ของ
กฎบัตรสหประชาชาติ หรือตราสารทางกฎหมายระหว่างประเท
ศอืน
่ ๆ ทีรั่ ฐสมาชิกค่พ
ู พ
ิ าทเป็ นภาคี

หมวด 9
งบประมำณและกำรเงิน
25

ข้อ 29: หลักกำรทัว


่ ไป
1. อาเซียนจะต้องกำาหนดกฎและขัน
้ ตอนการดำาเนินงานทางการ
เงินให้เป็ นไปตามมาตรฐานสากล
2. อาเซียนจะต้องปฏิบัติตามนโยบายและแนวปฏิบัติในการบริหาร
จัดการทางการเงินทีด
่ ีและระเบียบวินัยด้านงบประมาณ
3. บัญชีการเงินจะต้องได้รับการตรวจสอบภายในและภายนอก

ข้อ 30: งบประมำณสำำหรับกำรดำำเนินงำนและกำรเงินของ


สำำนักเลขำธิกำรอำเซียน
1. สำานักเลขาธิการอาเซียนจะต้องได้รับทรัพยากรทางการเงินที ่
จำาเป็ นเพือ
่ ปฏิบัติหน้าทีข
่ องตนอย่างมีประสิทธิภาพ
2. งบประมาณสำาหรับการดำาเนินงานของสำานักเลขาธิการ
อาเซียนจะต้องมาจากรัฐสมาชิกอาเซียนโดยเงินบริจาคประจำา
ปี รัฐละเท่าๆ กัน ซึง่ จะต้องส่งให้ทันกำาหนด
3. เลขาธิการจะต้องเตรียมงบประมาณสำาหรับการดำาเนินงาน
ประจำาปี ของสำานักเลขาธิการอาเซียนเพือ
่ ขอความเห็นชอบจาก
คณะมนตรีประสานงานอาเซียน โดยคำาแนะนำาของคณะ
กรรมการผู้แทนถาวร
4. สำานักเลขาธิการอาเซียนจะต้องดำาเนินการให้สอดคล้องกับกฎ
และขัน
้ ตอนการดำาเนินงานทางการเงินทีก
่ ำาหนดโดยคณะมนตรี
ประสานงานอาเซียน โดยคำาแนะนำาของคณะกรรมการผู้แทน
ถาวร
26

หมวด 10
กำรบริหำรและขั้นตอนกำรดำำเนินงำน

ข้อ 31: ประธำนอำเซียน


1. ตำาแหน่งประธานอาเซียนให้หมุนเวียนทุกปี บนพืน
้ ฐานของ
ลำาดับอักษรของชือ
่ ภาษาอังกฤษของรัฐสมาชิก
2. ในหนึง่ ปี ปฏิทิน อาเซียนจะมีตำาแหน่งประธานหนึง่ เดียว โดยรัฐ
สมาชิกทีร
่ ับตำาแหน่งประธานนัน
้ จะทำาหน้าทีเ่ ป็ นประธานของ
(ก) การประชุมสุดยอดอาเซียน และการประชุมสุดยอดที ่
เกีย
่ วข้อง
(ข) คณะมนตรีประสานงานอาเซียน
(ค) คณะมนตรีประชาคมอาเซียนทัง้ สามคณะ
(ง) องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขาและเจ้าหน้าที ่
ระดับสูงทีเ่ กีย
่ วข้อง ตามที ่
เหมาะสม และ
(จ) คณะกรรมการผู้แทนถาวร

ข้อ 32: บทบำทของประธำนอำเซียน


รัฐสมาชิกทีด
่ ำารงตำาแหน่งประธานอาเซียนจะต้อง
(ก) ส่งเสริมและเพิม
่ พูนผลประโยชน์ และความเป็ นอยู่ทีด
่ ีของ
อาเซียน รวมถึง
ความพยายามในการสร้างประชาคมอาเซียนอย่างแข็งขัน
โดยการริเริมทางนโยบาย
่ การประสานงาน ฉันทามติ และ
ความร่วมมือ
27

(ข) ทำาให้แน่ใจว่ามีความเป็ นศูนย์รวมของอาเซียน


(ค) ทำาให้แน่ใจว่ามีการตอบสนองต่อปั ญหาเร่งด่วนหรือ
สถานการณ์วิกฤติทีม
่ ีผลกระทบต่ออาเซียนอย่างมี
ประสิทธิภาพและทันท่วงที รวมถึงจัดให้มีคนกลางทีม
่ ี
ตำาแหน่งน่าเชือ
่ ถือและการจัดการอืน
่ เช่นว่า เพือ
่ แก้ไขข้อ
กังวลเหล่านีโ้ ดยทันที
(ง) เป็ นตัวแทนของอาเซียนในการเสริมสร้างและส่งเสริมความ
สัมพันธ์กับหุ้นส่วน
ภายนอกภูมิภาคให้ใกล้ชิดขึน
้ และ
(จ) ปฏิบัติภารกิจและหน้าทีอ
่ ืน
่ ตามทีอ
่ าจได้รับมอบหมาย

ข้อ 33: พิธีกำรและแนวปฏิบัติทำงกำรทูต


อาเซียนและรัฐสมาชิกจะต้องยึดมัน
่ ในพิธีการและแนวปฏิบัติ
ทางการทูตทีม
่ ีอยู่ในการดำาเนินกิจกรรมทัง้ ปวงทีเ่ กีย
่ วข้องกับ
อาเซียน การเปลีย
่ นแปลงใดๆ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะ
มนตรีประสานงานอาเซียน โดยคำาแนะนำาของคณะกรรมการผู้แทน
ถาวร

ข้อ 34: ภำษำทำำงำนของอำเซียน


ภาษาทำางานของอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษ

หมวด 11
อัตลักษณ์และสัญลักษณ์
28

ข้อ 35: อัตลักษณ์ของอำเซียน


อาเซียนจะต้องส่งเสริมอัตลักษณ์ร่วมกันของตนและความรู้สึกเป็ น
เจ้าของในหมู่ประชาชนของตน เพือ
่ ให้บรรลุชะตา เป้ าหมาย และ
คุณค่าร่วมกันของอาเซียน

ข้อ 36: คำำขวัญของอำเซียน


คำาขวัญของอาเซียน คือ “วิสัยทัศน์เดียว อัตลักษณ์เดียว ประชาคม
เดียว”

ข้อ 37: ธงอำเซียน


ธงอาเซียนจะเป็ นตามทีแ
่ สดงไว้ในภาคผนวก 3

ข้อ 38: ดวงตรำอำเซียน


ดวงตราอาเซียนจะเป็ นตามทีแ
่ สดงไว้ในภาคผนวก 4

ข้อ 39: วันอำเซียน


ให้วันที ่ 8 สิงหาคม เป็ นวันอาเซียน

ข้อ 40: เพลงประจำำอำเซียน


ให้อาเซียนมีเพลงประจำาอาเซียน

หมวด 12
ควำมสัมพันธ์ภำยนอก
29

ข้อ 41: กำรดำำเนินควำมสัมพันธ์ภำยนอก


1. อาเซียนจะต้องพัฒนาความสัมพันธ์ฉันท์มิตร และการเจรจา
ความร่วมมือและความเป็ นหุ้นส่วนเพือ
่ ผลประโยชน์ร่วมกัน กับ
ประเทศ องค์การและสถาบันระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาคและระหว่าง
ประเทศ
2. ความสัมพันธ์ภายนอกของอาเซียนจะยึดมัน
่ ในวัตถุประสงค์
และหลักการทีว่ างไว้ในกฎบัตรนี ้
3. อาเซียนจะเป็ นพลังขับเคลือ
่ นขัน
้ แรกในการจัดการภูมิภาคที ่
อาเซียนได้ริเริม
่ ขึน
้ และธำารงไว้ซึง่ ความเป็ นศูนย์รวมของอาเซียนใน
ความร่วมมือระดับภูมิภาคและการสร้างประชาคม
4. ในการดำาเนินความสัมพันธ์ภายนอกของอาเซียน รัฐสมาชิกจะ
ประสานงานและพยายามพัฒนาท่าทีร่วมและดำาเนินการร่วมกัน บน
พืน
้ ฐานของเอกภาพและความสามัคคี
5. แนวนโยบายยุทธศาสตร์ของความสัมพันธ์ภายนอกของ
อาเซียนให้กำาหนดโดยทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียนโดยการเสนอแนะ
ของทีป
่ ระชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน
6. ทีป
่ ระชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนจะทำาให้แน่ใจว่าความ
สัมพันธ์ภายนอกของอาเซียนดำาเนินไปอย่างเสมอต้นเสมอปลายและ
เป็ นไปในทางทีส
่ อดคล้องกัน
7. อาเซียนสามารถทำาความตกลงกับประเทศ หรือองค์การและ
สถาบันระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาคและระหว่างประเทศ กระบวนการ
ทำาความตกลงดังกล่าวให้กำาหนดโดยคณะมนตรีประสานงาน
อาเซียนโดยการหารือกับคณะมนตรีประชาคมอาเซียน
30

ข้อ 42: ผ้ป


ู ระสำนงำนกับคู่เจรจำ
1. ในฐานะผู้ประสานงานประเทศ ให้รัฐสมาชิกผลัดกันรับผิดชอบ
ภาพรวมการประสานงานและส่งเสริมผลประโยชน์ของอาเซียน
ในความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาทีเ่ กีย
่ วข้อง
องค์การและสถาบันระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศที ่
เกีย
่ วข้อง
2. ในส่วนทีเ่ กีย
่ วกับความสัมพันธ์กับหุ้นส่วนภายนอก นอกจาก
หน้าทีอ
่ ืน
่ แล้ว ให้ผู้ประสานงานประเทศ
(ก) เป็ นผู้แทนอาเซียน และเพิม
่ พูนความสัมพันธ์ บนพืน
้ ฐาน
ของความเคารพซึง่ กันและกันและ ความเสมอภาค
โดยสอดคล้องกับหลักการของอาเซียน
(ข) เป็ นประธานร่วมในการประชุมทีเ่ กีย
่ วข้องระหว่างอาเซียน
และหุ้นส่วนภายนอก และ
(ค) รับการสนับสนุนจากคณะกรรมการอาเซียนในประเทศที ่
สามและองค์การระหว่างประเทศทีเ่ กีย
่ วข้อง

ข้อ 43: คณะกรรมกำรอำเซียนในประเทศทีส


่ ำมและองค์กำร
ระหว่ำงประเทศ
1. คณะกรรมการอาเซียนในประเทศทีส
่ ามอาจตัง้ ขึน
้ ในประเทศที ่
มิใช่สมาชิกอาเซียน ประกอบด้วยหัวหน้าคณะผู้แทนทางทูตของรัฐ
สมาชิกอาเซียน คณะกรรมการในลักษณะเดียวกันอาจจัดตัง้ ขึน
้ ใน
ส่วนทีเ่ กีย
่ วข้องกับองค์การระหว่างประเทศต่างๆ คณะกรรมการ
31

เช่นว่าจะต้องส่งเสริมผลประโยชน์และอัตลักษณ์ของอาเซียนใน
ประเทศและองค์การระหว่างประเทศเจ้าภาพ
2. ให้ทประชุ
ี่ มรัฐมนตรีตา
่ งประเทศอาเซียนกำาหนดกฎว่าด้วยขัน

ตอนการดำาเนินงานของคณะกรรมการเช่นว่า

ข้อ 44: สถำนภำพของภำคีภำยนอก


1. ในการดำาเนินความสัมพันธ์ภายนอกของอาเซียน ทีป
่ ระชุม
รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนอาจมอบสถานภาพอย่างเป็ นทางการ
ให้แก่ภาคีภายนอกในฐานะประเทศคู่เจรจา ประเทศคู่เจรจาเฉพาะ
ด้าน หุ้นส่วนเพือ
่ การพัฒนา ผู้สังเกตการณ์พิเศษ ผ้ไู ด้รับเชิญ หรือ
สถานภาพอืน
่ ทีอ
่ าจจัดตัง้ ขึน
้ ต่อไป
2. อาเซียนอาจเชิญภาคีภายนอกให้เข้าร่วมการประชุมหรือ
กิจกรรมความร่วมมือโดยมิต้องกำาหนดให้สถานภาพอย่างเป็ นทาง
การใดๆ ตามกฎว่าด้วยขัน
้ ตอนการดำาเนินงาน

ข้อ 45: ควำมสัมพันธ์กับระบบสหประชำชำติ


และองค์กำรและสถำบันระหว่ำงประเทศอืน

1. อาเซียนอาจขอสถานภาพทีเ่ หมาะสมกับระบบสหประชาชาติ
รวมทัง้ กับองค์การและสถาบันระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค และ
ระหว่างประเทศอืน

2. คณะมนตรีประสานงานอาเซียนจะเป็ นผู้ตัดสินใจเกีย
่ วกับการมี
ส่วนร่วมของอาเซียนในองค์การและสถาบันระดับอนุภูมิภาค
ภูมิภาค และระหว่างประเทศอืน

32

ข้อ 46: กำรส่งผู้แทนอย่ำงเป็ นทำงกำรของรัฐทีม


่ ิใช่รัฐสมำชิก
อำเซียนประจำำอำเซียน
รัฐทีม
่ ิใช่สมาชิกอาเซียนและองค์การระหว่างประเทศระดับรัฐบาลที ่
เกีย
่ วข้องอาจแต่งตัง้ และส่งเอกอัครราชทูตเป็ นผู้แทนอย่างเป็ น
ทางการประจำาอาเซียน ทีป
่ ระชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนจะ
เป็ นผู้ตัดสินใจเกีย
่ วกับการส่งผู้แทนอย่างเป็ นทางการเช่นว่า

หมวด 13
บทบัญญัติทัว
่ ไปและบทบัญญัติสุดท้ำย

ข้อ 47: กำรลงนำม กำรให้สัตยำบัน กำรเก็บรักษำ และกำรมี


ผลใช้บังคับ
1. กฎบัตรนีจ
้ ะต้องได้รับการลงนามโดยรัฐสมาชิกอาเซียนทัง้ หมด
2. กฎบัตรนีจ
้ ะอยู่ใต้บังคับของการให้สัตยาบันจากรัฐสมาชิก
อาเซียนทุกรัฐตามกระบวนการภายในของ แต่ละรัฐ
3. สัตยาบันสารจะต้องเก็บรักษาไว้กับเลขาธิการอาเซียน ซึง่
จะแจ้งให้รัฐสมาชิกทุกรัฐทราบถึงการส่งมอบสัตยาบันสาร
แต่ละฉบับโดยพลัน
33

4. กฎบัตรนีจ
้ ะมีผลใช้บังคับในวันทีส
่ ามสิบหลังจากวันทีม
่ ีการส่ง
มอบสัตยาบันสารฉบับทีส
่ ิบให้แก่เลขาธิการอาเซียน
ข้อ 48: กำรแก้ไข
1. รัฐสมาชิกใดๆ อาจเสนอข้อแก้ไขกฎบัตร
2. ข้อเสนอแก้ไขกฎบัตรจะต้องยืน
่ โดยคณะมนตรีประสานงาน
อาเซียนโดยฉันทามติต่อทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียนเพือ
่ ตัดสิน
3. ข้อแก้ไขกฎบัตรทีไ่ ด้ตกลงกันโดยฉันทามติโดยทีป
่ ระชุมสุดยอด
อาเซียนจะต้องได้รับการสัตยาบันจากรัฐสมาชิกทุกรัฐ ตามข้อ 47
4. ข้อแก้ไขใดๆ จะมีผลใช้บังคับในวันทีส
่ ามสิบหลังจากวันทีม
่ ีการ
ส่งมอบสัตยาบันสารฉบับสุดท้ายต่อเลขาธิการอาเซียน

ข้อ 49: อำำนำจและหน้ำทีแ


่ ละกฎว่ำด้วยขั้นตอนกำรดำำเนินงำน
นอกจากจะกำาหนดไว้เป็ นอย่างอืน
่ ในกฎบัตรนี ้ คณะมนตรีประสาน
งานอาเซียนจะเป็ นผู้กำาหนดอำานาจและหน้าทีแ
่ ละกฎว่าด้วยขัน
้ ตอน
การดำาเนินงานและต้องทำาให้แน่ใจว่าอำานาจหน้าทีแ
่ ละกฎว่าด้วยขัน

ตอนการดำาเนินงานสอดคล้องกัน

ข้อ 50 กำรทบทวน
กฎบัตรนีอ
้ าจได้รับการทบทวนเมือ
่ ครบห้าปี หลังจากทีม
่ ีผลใช้บังคับ
หรือตามทีไ่ ด้กำาหนดไว้เป็ นอย่างอืน
่ โดยทีป
่ ระชุมสุดยอดอาเซียน

ข้อ 51 กำรตีควำมกฎบัตร
34

1. เมือ
่ รัฐสมาชิกใดๆ ร้องขอ ให้สำานักงานเลขาธิการอาเซียน
ตีความกฎบัตรตามกฎว่าด้วยขัน
้ ตอนการดำาเนินงานทีก
่ ำาหนด
โดยคณะมนตรีประสานงานอาเซียน
2. ให้ระงับข้อพิพาทใดๆ ทีเ่ กิดจากการตีความกฎบัตรตาม
บทบัญญัติทีเ่ กีย
่ วข้องในหมวด 8
3. หัวและชือ
่ ทีใ่ ช้ในแต่ละหมวดและในแต่ละข้อของกฎบัตรนีม
้ ีไว้
เพือ
่ วัตถุประสงค์ในการอ้างอิงเท่านัน

ข้อ 52 ควำมต่อเนือ
่ งทำงกฎหมำย
1. สนธิสัญญา อนุสัญญา ความตกลง ข้อตกลง ปฏิญญา
พิธีสาร และตราสารอาเซียนอืน
่ ๆ ทัง้ หมด ซึง่ มีผลใช้บังคับ
แล้วก่อนการมีผลใช้บังคับของกฎบัตรนี ้ ให้มีผลใช้ได้ต่อไป
2. ในกรณีทีเ่ กิดความไม่สอดคล้องกันระหว่างสิทธิและพันธกรณี
ของรัฐสมาชิกอาเซียนภายใต้ตราสารดังกล่าวและกฎบัตรนี ้
ให้ยึดถือกฎบัตรนีเ้ ป็ นสำาคัญ

ข้อ 53 ต้นฉบับ
ให้ส่งมอบต้นฉบับภาษาอังกฤษของกฎบัตรนีท
้ ีล
่ งนามแล้วแก่
เลขาธิการอาเซียน ซึง่ จะจัดทำาสำาเนาทีไ่ ด้รับ การรับรองให้
แก่รัฐสมาชิกแต่ละรัฐ

ข้อ 54 กำรจดทะเบียนกฎบัตรอำเซียน
35

ให้เลขาธิการอาเซียนจดทะเบียนกฎบัตรอาเซียนกับสำานัก
เลขาธิการสหประชาชาติ ตามข้อ 102 วรรค 1 ของ กฎบัตร
สหประชาชาติ

ข้อ 55 สินทรัพย์ของอำเซียน
ให้สินทรัพย์และกองทุนขององค์การอยู่ในนามของอาเซียน

ทำา ณ สิงคโปร์ เมือ


่ วันที ่ 20 พฤศจิกายน ปี ค.ศ. 2007

You might also like