Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 20

1

ชื่อเรื่อง บทบาทและสถานภาพวิทยุชุมชนไทยกับการมีสว่ น
ร่วมของประชาชน
ผู้วิจัย สุระชัย ชูผกา
ปี 2549
คำำสำำคัญ บทบาทและสถานภาพ, วิทยุชุมชน, วิทยุกระแสหลัก,
การมีส่วนร่วมของประชาชน, ทุนทางสังคม, พื้นที่
สาธารณะ, การครอบงำา

บทคัดย่อ
รายงานการวิจัย “บทบาทและสถานภาพวิทยุชุมชนไทยกับการมี
ส่วนร่วมของประชาชน” เป็ นการใช้เครื่องมืองการศึกษาทัง้ ในเชิง
ปริมาณและคุณภาพศึกษาการดำาเนิ นงานของสถานี วิทยุชุมชนไทยที่
ไม่มีโฆษณาในทุกภูมิภาคของประเทศ การวิจัยพบว่า แม้ว่าประชาชน
ในชุมชนมีการเปิ ดรับฟั งวิทยุชุมชนมากกว่าสื่อวิทยุกระจายเสียงทัว่ ไป
ซึ่งเป็ นการเปิ ดรับมากเป็ นอันดับ 2 รองจากสื่อโทรทัศน์ ทัง้ นี้มีสาเหตุ
สำาคัญในการเปิ ดรับฟั งมาจากลักษณะการเปิ ดเพลงที่แตกต่างไปจาก
สถานี วิทยุทัว่ ไป และความรู้สึกเป็ นพวกพ้องชุมชนเดียวกันกับผู้ฟัง
แต่อย่างไรก็ตามวิทยุชุมชนโดยทัว่ ไปก็ยังไม่สามารถสถาปนา
บทบาทและสถานภาพในการเป็ นสื่อชุมชนและพื้นที่สาธารณะใหม่
ของสังคมไทยได้ ทัง้ นี้มีสาเหตุสำาคัญจากลักษณะการขาดการมีส่วน
ร่วมที่แท้จริงของประชาชนในชุมชน อันเป็ นผลพวงจากการครอบงำา
จากรัฐผ่านกลไกทางการปราบปรามและกลไกทางอุดมการณ์

Title The Role and Status of Thai Community Radio


and People’s Participation
Researcher Surachai Chupaka
Year 2006
2

Keywords Role and status, Community radio, Broadcasting


radio, People’s participation, Civic virtue, Public
sphere, Hegemony.

Abstract

The research entitled “The role and status of Thai


community radio and people participation” uses both
qualitative and quantitative methods for information collection
through non business oriented Thai community radio stations
in every region of Thailand. The research find that the
community radio, in term of media exposure, becomes the
second rank favorite media for villagers, higher rating than
general broadcasting radio station, while television is still on
the top rank of exposure. The main reason for Thai people to
embrace the community radio is because of alternative songs
and sense of community belonging.

Nevertheless, the study discovers the Thai community


radio, in general, have still been unable to establish its role
and status as community communication and public sphere,
due to the lack of genuine participation under the state
hegemony through the repressive apparatus and ideological
apparatus.
3

บทบำทและสถำนภำพของวิทยุชุมชนไทยกับกำรมีส่วน
ร่วมของประชำชน
ที่มำและควำมสำำคัญของเนื้ อหำ
บทบัญญัติมาตรา 40 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2540 เปิ ดศักราช “การปฏิรป ู สื่อ” ครัง้ สำาคัญของประเทศไทย
ที่กำาหนดให้ “คลื่นความถี่” เป็ นสาธารณะสมบัติ อันพึงจัดสรรเพื่อ
ประโยชน์สูงสุดของประชาชน สิทธิใหม่ตามรัฐธรรมนูญจุดประกายไป
สู่ “วิทยุชุมชน” ที่ดำาเนิ นการโดยภาคประชาชน ที่ต้องเผชิญกับการต่อ
ต้านจากภาครัฐที่พยายามครอบงำาการเติบโตของวิทยุชุมชนให้ดำาเนิ น
ไปภายใต้กรอบของวิทยุกระจายเสียงทัว่ ไป หรือวิทยุกระแสหลัก โดย
อาศัยกลไกของหลักการประกอบกิจการวิทยุเดิมเป็ นเครื่องมือทัดทาน
และลดความชอบธรรมของสื่อภาคประชาชน
ท่ามกลางการต่อต้านและกดดันจากภาครัฐ วิทยุชุมชนยังคง
ขยายฐานอย่างต่อเนื่ อง และเกิดเป็ นกระแสตอบรับจากภาคประชา
สังคมอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ปรากฎการณ์ท่ีเกิดขึ้นโดยผิวเผินดู
เหมือนเป็ นชัยชนะของประชาชน แต่แท้จริงแล้วบทบาทและ
สถานภาพของวิทยุชุมชนไทยยังคงห่างไกลจากเส้นชัยอย่างมากเมื่อ
พิจารณาตามหลักการและจิตวิญญาณแห่งวิทยุชุมชน เนื่ องจาก
“คุณค่า” ของสื่อสาธารณะ มิได้วัดกันที่ “การมีอย่” ่ ของสื่อ หาก
ตัดสินที่ “คุณ่ปการต่อชุมชนและสังคม” ด้วยคำาตอบที่ได้เปรียบ
เสมือนดัชนี ชีว้ ัดความสำาเร็จหรือความล้มเหลวของวิทยุชุมชนไทย อัน
เป็ นจุดเริ่มต้นของการปรับกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาวิทยุชุมชน
ไทยให้ก้าวต่อไปอย่างมัน ่ คงและทรงคุณค่า

วัตถุประสงค์กำรวิจัย
เพื่อศึกษาแนวทางการดำาเนิ นงาน การบริหารจัดการ การผลิต
รายการ และการจัดรายการวิทยุชุมชนภาคประชาชน ตลอดจน
วิเคราะห์บทบาทและสถานภาพของวิทยชุมชนที่มีต่อชุมชนและสังคม
ไทย รวมทัง้ การศึกษาลักษณะการเปิ ดรับฟั งและปั จจัยที่มีผลต่อการ
เปิ ดรับฟั งวิทยุชุมชนของประชาชน เพื่อนำ าไปสู่การจัดทำาข้อเสนอแนะ
เชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาวิทยุชุมชนไทยต่อไป

ประโยชน์ท่ีไดูรับ
4

การศึกษาผู้ส่งสารในงานวิทยุชุมชนช่วยให้ทราบถึงลักษณะการ
ดำาเนิ นการ การบริหารจัดการ การผลิตรายการ การจัดรายการ และ
ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการดำาเนิ นงานของวิทยุชุมชนในระดับปฏิบัติการ
ขณะที่การศึกษาภาคผู้รับสารทำาให้ทราบถึงปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการ
เปิ ดรับฟั งวิทยุชุมชน ซึ่งนำ าไปสู่ความเข้าใจต่อบทบาทและสถานภาพ
ของวิทยุชุมชนที่มีต่อชุมชนและสังคมไทย ตลอดจนเรียนรู้อุปสรรค
และปั ญหาในการดำาเนิ นการตามแนวทางและหลักการของวิทยุชุมชน
อันเป็ นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
ศักยภาพวิทยุชุมชนอย่างยัง่ ยืน

นิ ยำมศัพท์
วิทยุชุมชน หมายถึง จุดปฏิบัติการเรียนรู้วิทยุชุมชนในสังกัด
เครือข่ายสหพันธ์วิทยุชุมชนแห่งชาติ ที่ยด
ึ ถือหลักการในการดำาเนิ น
งานบริหารจัดการโดยภาคประชาชนและไม่แสวงหากำาไร
วิทยุกระแสหลัก หมายถึง สถานี วิทยุกระจายเสียงที่หน่ วย
ราชการต่างๆ ครอบครองกรรมสิทธิอ์ ยู่ รวมถึงสถานี วิทยุท่ีภาค
เอกชนประมูลรับช่วงกรรมสิทธิม ์ าดำาเนิ นการ

วิธก
ี ำรศึกษำ
การวิจัยครัง้ นี้เป็ นการศึกษากระบวนการสื่อสารของวิทยุชุมชน
เฉพาะที่เป็ นสมาชิก สหพันธ์วิทยุชุมชนแห่งชาติ (180 สถานี ) โดยสุ่ม
ตัวอย่างแบบกำาหนดลักษณะเฉพาะ (purposive sampling) ตาม
ลักษณะพื้นที่เป้ าหมายออกเป็ น 4 ลักษณะพื้นที่ (เขตเมือง, เขตเมือง
ปนชนบท, เขตชนบท และเขตวัฒนธรรมเฉพาะ) โดยผู้ประสานงาน
สหพันธ์วิทยุชุมชนแห่งชาติ เป็ นผ้ดู ำาเนิ นการคัดเลือกสถานี ตัวแทน
จากแต่ละภูมิภาคในแต่ละลักษณะพื้นที่ รวม 21 สถานี ก่อนนำ าไป
ตรวจสอบกับผู้ประสานงานวิทยุชุมชนของแต่ละภาค เพื่อประเมิน
ความสอดคล้องในการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง
สำาหรับการศึกษาเชิงคุณภาพทำาการสัมภาษณ์แกนนำ าและ
สังเกตการณ์จุดปฏิบัติการเรียนร้วู ิทยุชุมชน 21 สถานี ใน 5 ประเด็น
(ลักษณะทัว่ ไปของสถานี วิทยุชุมชน, ทุนทางสังคมที่ก่อให้เกิดสถานี
5

วิทยุชุมชน, การบริหารจัดการสถานี วิทยุชุมชน, รูปแบบเนื้ อหาและ


ลีลาในการจัดรายการ และ การสร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชน)
ส่วนการศึกษาเชิงปริมาณทำาการวิจัยเชิงสำารวจ โดยใช้
แบบสอบถามเรื่อง “บทบาทและสถานภาพของวิทยุชุมชน” เป็ นเครื่อง
มือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแกนนำ าจุดปฏิบัติการเรียนรู้วิทยุ
ชุมชนทัว่ ประเทศที่เข้าร่วมโครงการฝึ กอบรม “แกนนำ าวิทยากรวิทยุ
ชุมชนในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ” เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.
2547 จำานวน 146 คน และแบบสอบถามเรื่อง “การเปิ ดรับสื่อวิทยุ
ชุมชนและสื่อวิทยุกระแสหลัก” จากประชาชนในพื้นที่รัศมีการกระจาย
เสียงของจุดปฏิบัติการเรียนรู้วิทยุชุมชนกลุ่มตัวอย่าง 21 สถานี
สถานี ละ 100 ชุด

ผลกำรศึกษำ
การศึกษากระบวนการสื่อสารของวิทยุชุมชน นำ าไปสู่ข้อค้นพบ
เกี่ยวกับบทบาทและสถานภาพของวิทยุชุมชนไทยดังนี้
ผู้ส่งสำรของวิทยุชุมชนไทย
วิทยุชุมชนที่ประชาชนเป็ นเจ้าของสถานี และดำาเนิ นการโดยไม่มี
โฆษณา สามารถแบ่งได้เป็ น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกซึ่งเป็ นวิทยุชุมชน
ส่วนใหญ่เกิดจากการรวมตัวกันของประชาชนในพื้นที่และหน่ วยงานที่
เกี่ยวข้องกับภาครัฐในท้องถิ่น ที่มป
ี ระสบการณ์ร่วมกันในงานพัฒนา
ชุมชนหลากหลายรูปแบบ ภายใต้การสนั บสนุนทุนดำาเนิ นการจาก
กองทุนเพื่อการลงทุนทางสังคม (SIF) และสถาบันพัฒนาองค์กร
ชุมชน (พอช.) ส่วนกลุ่มหลังเป็ นการรวมตัวกันของประชาชนที่สนใจ
งานด้านสื่อสาร ซึ่งเป็ นกลุ่มที่ไม่มก
ี ารทำากิจกรรมร่วมกับชุมชนมา
ก่อน หรือมีก็เป็ นเพียงส่วนน้ อยเท่านั ้น โดยมักใช้ทุนทรัพย์ส่วนตัว
เป็ นทุนในการดำาเนิ นการ รูปแบบการรวมตัวดังกล่าวส่งผ่าน
คุณลักษณะบางประการแก่สถานที่ทำาการของสถานี โดยกลุ่มแรก
ส่วนใหญ่ไม่มีท่ีทำาการเฉพาะของตนเอง อาศัยที่ทำาการเดิมของกลุ่ม
พัฒนาชุมชน, ศาสนสถาน หรือหน่ วยราชการเป็ นสถานี ขณะที่กลุ่ม
หลังใช้เคหสถานส่วนบุคคลเป็ นที่ทำาการ
6

ในด้านการบริหารจัดการ แม้วิทยุชุมชนทุกแห่งต่างกำาหนด
โครงสร้างการบริหารงานในรูปของคณะกรรมการร่วม แต่การประชุม
วางแผนดำาเนิ นการมีขึ้นเฉพาะช่วงแรกของการก่อตัง้ เท่านั ้น ก่อนลด
บทบาทลงโดยไม่ได้เข้ามีส่วนร่วมในการวางแผนในระยะหลัง บทบาท
ในการผลักดันขับเคลื่อนการดำาเนิ นการที่แท้จริงจึงเป็ นเรื่องของกลุ่ม
ผู้ประสานงาน หรือผู้จด ั การสถานี และด้วยจำานวนบุคลากรในรูปอาสา
สมัครที่มีจำากัดทำาให้วิทยุชุมชนส่วนใหญ่ไม่สามารถจัดแบ่งสายงาน
หรือโครงสร้างองค์กรอย่างเป็ นระบบ คงมีเพียงแค่การเปิ ดโอกาสให้
ประชาชนมีส่วนร่วมได้ในฐานะผู้จด ั รายการเท่านั ้น
อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาจำานวนผู้เข้าร่วมดำาเนิ นการพบว่า ทุน
ทางสังคมในชุมชนแต่ละแห่งถือเป็ นปั จจัยสำาคัญในการชักชวนผ้ค ู น
เข้าร่วมดำาเนิ นการ โดยพบว่าวิทยุชุมชนที่มีผู้เข้าร่วมดำาเนิ นการ
มากกว่า 20 คนขึ้นไป ล้วนมีรากฐานการทำากิจกรรมการพัฒนาชุมชน
ในพื้นที่มาก่อนแทบทัง้ สิน ้ ทำาให้สามารถระดมคนเข้าร่วมได้มากกว่า
สถานี วิทยุชุมชนที่มีผู้ร่วมดำาเนิ นการตำ่ากว่า 20 คน ซึ่งส่งผลกระทบ
สืบเนื่ องเป็ นลูกโซ่ต่อขอบเขตความหลากหลายของเนื้ อหาและจำานวน
ชัว่ โมงการออกอากาศที่ผันแปรไปตามจำานวนอาสาสมัครของแต่ละ
สถานี
ร้ปแบบเนื้ อหำและลีลำกำรนำ ำเสนอรำยกำร
เนื้ อหารายการที่นำาเสนอในวิทยุชุมชนส่วนใหญ่เป็ นเนื้ อหาด้าน
การให้สาระความรู้ต่างๆ ตลอดจนข่าวสารประชาสัมพันธ์ และรายการ
เพลง มากกว่าการนำ าเสนอเนื้ อหาข่าวสารความเคลื่อนไหวในด้าน
ต่างๆ ของชุมชน ทัง้ นี้สถานี วิทยุชุมชนส่วนใหญ่ไม่เพียงแต่หลีกเลี่ยง
การนำ าเสนอปั ญหาภายในท้องถิ่น ตลอดจนการตัง้ ประเด็นสาธารณะ
ในเรื่องที่เป็ นปั ญหาเฉพาะท้องถิ่นที่จะนำ าไปสู่ข้อถกเถียงร่วมกันของ
คนในชุมชนเท่านั ้น หากยังประกาศท่าทีอย่างชัดเจนที่จะละเว้นการนำ า
เสนอเนื้ อหาเกี่ยวกับการเมืองท้องถิ่น เพื่อลดความขัดแย้งและปั ญหา
ที่อาจจะเกิดขึ้น แม้ว่าทิศทางดังกล่าวถือเป็ นพันธกิจสำาคัญของวิทยุ
ชุมชนก็ตาม แนวทางดังกล่าวสะท้อนสถานภาพของวิทยุชุมชนที่ถูก
ครอบงำาไว้ภายใต้แรงกดดันและอำานาจที่มองไม่เห็น
ภาวะดังกล่าวส่งผลให้การนำ าเสนอข่าวสารชุมชนวนเวียนอยู่
เพียงแค่ข่าวกิจกรรมของคนในชุมชน เช่น งานอุปสมบท งานมงคล
สมรส งานฌาปนกิจศพ ฯลฯ เป็ นหลัก เนื้ อหาโดยรวมแทบจะไม่
สอดคล้องกับวิถีชีวิตหรือสภาพแวดล้อม ตลอดจนความต้องการ
7

ข่าวสารท้องถิ่นของคนในชุมชนเท่าที่ควร ซึ่งความหลากหลายของ
เนื้ อหาส่วนหนึ่ งขึ้นกับความสามารถของผู้ประสานงานในการสร้าง
การมีส่วนร่วมกับสถานี ด้วยเครือข่ายผู้ส่งสารที่กว้างขวางจะเอื้อให้
เนื้ อหามีความหลากหลายตามไปด้วย และยังเป็ นการขยายฐานผู้ฟัง
แบบก้าวกระโดด เนื่ องจากมีการส่งทอดบอกต่อให้เปิ ดรับฟั งในหมู่คน
รู้จกั กันเพื่อร่วมให้กำาลังใจแก่ผู้จัดรายการ ดังที่ประสบผลสำาเร็จอย่าง
มากในระยะแรกของการจัดตัง้ สถานี
สำาหรับลีลาการจัดรายการยังคงยึดติดกับรูปแบบการจัดรายการ
ของวิทยุกระแสหลักและสื่อแขนงอื่นๆ ทำาให้ภาษาที่ใช้ในการจัด
รายการยังคงใช้ภาษากลาง และมีลีลาการจัดรายการที่เป็ นทางการ
ขาดความเป็ นธรรมชาติ ซึ่งไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ฟังที่
ประสงค์ให้การจัดรายการเป็ นการพูดจาด้วยภาษาถิ่นของแต่ละชุมชน
ช่องทำงกำรสื่อสำรและกำรมีส่วนร่วม
สำาหรับช่องทางการสื่อสารของวิทยุชุมชนไทยเกิดขึ้นใน 2 รูป
แบบ คือ ช่องทางการส่งกระจายเสียงผ่านคลื่นวิทยุสู่การรับฟั งของ
ประชาชน และช่องทางการสร้างการมีส่วนร่วมผ่านกิจกรรมต่างๆ
ทัง้ นี้ปริมาณของผู้ส่งสารเป็ นปั จจัยหนุนนำ าที่สำาคัญต่อช่องทางการ
สื่อสาร ซึ่ง ส่วนใหญ่มีช่วงเวลาในการกระจายเสียงที่ไม่แน่ นอน แต่
การมีคุณลักษณะร่วมกันบางประการระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสารมี
ส่วนเกื้อหนุนให้เกิดการติดตามรับฟั ง และทำาให้การสื่อสารระหว่าง
กันเป็ นไปอย่างราบรื่นและสอดรับ แม้จะมีความผิดพลาดของผู้ส่งสาร
เกิดขึ้นบ่อยครัง้ ก็ตาม
ขณะที่ช่องทางการสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนขึ้นอยู่
กับฐานเครือข่ายชุมชนเป็ นสำาคัญ ทัง้ นี้รูปแบบการเข้าร่วมมีข้อจำากัด
บางประการอันเนื่ องมาจากสภาพชุมชนที่แตกต่างกัน โดยกลุ่มผู้ฟัง
วิทยุชุมชนในเขตเมืองมีอัตราการเข้าร่วมจัดรายการ ร่วมเวทีกิจกรรม
และเป็ นแหล่งข้อมูลมากกว่าในเขตชนบท แต่กลับมีส่วนร่วมในเชิง
บริหารจัดการตำ่ากว่าในเขตชนบทอย่างชัดเจน ลักษณะดังกล่าวเผยให้
เห็นนั ยแห่งการเป็ น “สื่อของผู้ด้อยสิทธิ” อย่างแท้จริง ด้วยรูปแบบ
การมีส่วนร่วมในเขตชนบทเป็ นการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง (genuine
participation) ในเชิงบริหารจัดการ ซึ่งเป็ นหัวใจสำาคัญของวิทยุชุมชน
มิใช่การมีส่วนร่วมเทียม (pseudo-participation) ดังที่ปรากฏในเขต
เมือง
8

บทบำทและสถำนภำพของวิทยุชุมชน
จากผลการศึกษาที่กล่าวมาทัง้ หมดสะท้อนหัวใจสำาคัญของการ
ดำาเนิ นการสถานี วิทยุชุมชนโดยภาคประชาชนที่ไม่แสวงหากำาไรหรือ
ไม่มีโฆษณา ที่ขึ้นอยู่กับการมีสว่ นร่วมของคนในชุมชน อย่างไรก็ตาม
ปั จจัยคุณลักษณะเฉพาะของพื้นที่เป็ นเพียงข้อจำากัดแต่ไม่ใช่ปัจจัย
ชีข้ าด หากขึ้นกับ “ทุนทางสังคม” ของแต่ละชุมชนเป็ นหลัก
บริบทชุมชนยังสะท้อนปรากฏการณ์การมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในระดับที่แตกต่างกันไป ปรากฎการณ์การมีส่วนร่วมในเชิง
บริหารจัดการในเขตชนบทสะท้อนบทบาทและสถานภาพของวิทยุ
ชุมชน ที่เหนื อไปกว่าการเป็ น “สื่อทางเลือก” หากแต่เป็ น “โอกาส
แห่งการสื่อสาร” ของกลุ่มที่เคยห่างไกลจากการมีสิทธิท่ีจะสื่อ ด้วย
การเข้ามาเติมเต็มสิทธิและโอกาสในการสื่อสารสาธารณะสำาหรับ
คนในชนบท แม้ว่าในพื้นที่อ่ ืนบทบาทของวิทยุชุมชนอาจเป็ นได้เพียง
แค่ “ของเล่นใหม่” ที่มีสถานภาพไม่ต่างอะไรกับ “สื่อไม้ประดับ”
ก็ตาม
ปั ญหำและอุปสรรคของวิทยุชุมชน
ท่ามกลางแรงกดดันและแรงเสียดทานนานั ปการจากภาครัฐและ
ภาคธุรกิจ วิทยุชุมชนหลายแห่งยังคงปั กหลักยืนหยัดต่อสู้บนสังเวียน
สื่อได้อย่างน่ าชื่นชม แต่การดำารงคงอยู่ของวิทยุชุมชนไม่ถือเป็ นบท
สรุปตามเจตนารมณ์ในการปฏิรูปสื่อ หากต้องบ่มเพาะความเข้มแข็ง
ของวิทยุชุมชนในการทำาหน้ าที่ตามพันธกิจ ที่ปัจจุบันยังไม่อาจก้าวไป
ถึงปลายทางได้ ด้วยมีปัญหาและอุปสรรคในการดำาเนิ นการที่รอคอย
การแก้ไขใน 3 ด้าน คือ
วิกฤตด้านบุคลากร (personal) ข้อจำากัดด้านบุคลากรและการตี
กรอบบุคลากรไว้ในรูปของระบบอาสาสมัครเพียงอย่างเดียวกลายเป็ น
ข้อจำากัดและอุปสรรคสำาคัญในการดำาเนิ นการวิทยุชุมชนเนื่ องจากฐาน
การมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนเป็ นตัวบ่งชีศ ้ ักยภาพในการ
ดำาเนิ นงาน ตลอดจนแนวโน้ มการดำารงอยู่ของวิทยุชุมชน เนื่ องจาก
จำานวนบุคลากรมีส่วนสำาคัญในการชีช้ ะตากำาหนดแนวทางการดำาเนิ น
งานของสถานี วิทยุชุมชน ซึ่งแม้จะแปรผกผันกับระดับการมีส่วนร่วม
อย่างแท้จริงในเชิงบริหารจัดการ แต่ไม่อาจปฏิเสธได้เลยว่า
แปรผันโดยตรงกับจำานวนชัว่ โมงการออกอากาศ ความหลากหลายของ
เนื้ อหา และการเปิ ดรับฟั งของประชาชน
9

วิกฤตด้านการทำาหน้ าที่ (functioning) จากการวิเคราะห์รูป


แบบและเนื้ อหาของรายการวิทยุชุมชนพบว่า ไม่สอดรับกับพันธกิจ
สำาคัญของวิทยุชุมชนที่พึงนำ าเสนอรายการที่ต่างไปจากสื่อกระแสหลัก
หรือนำ าเสนอเนื้ อหาที่มีอัตลักษณ์เฉพาะแห่งตนหรือชุมชน เพื่อถ่วง
ดุลขยายโอกาสและให้อำานาจในการเลือกเปิ ดรับแก่ผรู้ ับสารใน
ลักษณะที่หลากหลาย (diversity) และสมดุลในหน้ าที่พ้ืนฐาน 3
ประการ อันได้แก่ ให้ข้อมูลข่าวสาร ให้การศึกษา และให้ความบันเทิง
เนื่ องจากการยึดติดกับรูปแบบและเนื้ อหาตามแนวทางที่ส่ ือกระแส
หลักปฏิบัติอยู่ส่งผลให้วิทยุชุมชนไม่ได้ดำาเนิ นไปตามเจตนารมณ์หรือ
หลักการแห่งการเป็ นสื่อชุมชน หากกลายเป็ นเพียงเครือข่ายถ่ายทอด
หรือทวนสัญญาณให้แก่ส่ ือกระแสหลัก ดังจะเห็นได้จากการเว้นช่วง
การดำาเนิ นรายการเพื่อถ่ายทอดการกระจายเสียงรายการข่าวจากส่วน
กลาง ที่มิได้มีส่วนร่วมในการผลิตหรือสร้างสรรค์รายการเอง แต่อย่าง
ใด
วิกฤตด้านอัตลักษณ์ (identity) การเกาะเกี่ยวผูกติดอย่กู ับ
แบบแผนของสื่อกระแสหลัก ทัง้ ลีลาการนำ าเสนอรายการและภาษาที่
ใช้ส่งผลให้วิทยุชุมชนขาดไร้อัตลักษณ์ ตกอยู่ภายใต้กรอบแนวทาง
เดิมที่ส่ ือกระแสหลักวางไว้ การหลงลืมหน้ าที่และพันธกิจแห่งการ
เป็ นสื่อชุมชนและสื่อทางเลือกนำ าไปส่ก ู ารตกเป็ นทาสของโครงสร้าง
สื่อในระบบทุนนิ ยม ภาวะดังกล่าวฉุดรัง้ ให้วิทยุชุมชนเป็ นได้เพียงแค่
หนทางแห่งการได้มาซึ่งสิทธิเสียงและการเป็ นเจ้าของสื่อ โดยไม่ได้
ช่วยในการปฏิรป ู สื่อหรือยกระดับการบูรณาการแก่ชุมชนหรือสังคม
แต่อย่างใด
ภาวะวิกฤตที่กล่าวมาทัง้ หมดนั ้นมีต้นธารแห่งปั ญหาสำาคัญจาก
ภาวะการครอบงำา (hegemony) จากรัฐบาลผ่านกลไกทางกฎหมาย
(repressive apparatus) ในการปราบปรามและตอกยำา้ ว่าวิทยุชุมชน
เป็ นสื่อที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ขณะเดียวกันรัฐบาลไม่เคยมีนโยบาย
ในการส่งเสริมให้วิทยุชุมชนไทยได้ค้นหาหรือพัฒนาศักยภาพของ
ตนเองในฐานะเป็ นสื่อชุมชน(community media) ใหม่ของสังคม
ตรงกันข้ามกลับใช้การครอบงำาทางอุดมการณ์ (ideological
10

hegemony) ด้วยการออกกฎระเบียบที่ตอกยำา้ หลักการของวิทยุ


กระจายเสียงทัว่ ไป หรือสื่อกระแสหลักที่รัฐไทยได้ยึดครองและ
ครอบงำามาเป็ นเวลานาน

ขูอจำำกัด
แม้การสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามลักษณะพื้นที่จะสร้าง
ความเชื่อมัน่ ให้แก่การสุ่มตัวอย่างจุดปฏิบัติการเรียนรู้วิทยุชุมชนให้มี
ความหลากหลายตามมิติความเป็ นจริงทางวัฒนธรรมและสังคม แต่วิธี
การดังกล่าวโดยเนื้ อแท้ได้นำามาซึ่งปั ญหาความไม่สอดคล้องกับปรากฎ
การณ์จริง ที่จุดปฏิบัติการเรียนรู้วิทยุชุมชนหลายแห่งมีลักษณะที่ไม่
เป็ นเอกเทศในการจัดเข้ากลุ่มลักษณะพื้นหนึ่ งพื้นที่ใดอย่างชัดเจน
หากผสมผสานหลากหลายลักษณะไว้ด้วยกัน ส่งผลให้เกิดปั ญหา
ความไม่ชัดเจนของลักษณะพื้นที่ ทำาให้ต้องคัดแยกจุดปฏิบัติการดัง
กล่าวออกจากการสุ่มเลือกตัวอย่าง อันมีผลกระทบต่อขอบเขตความ
สามารถในการอธิบายปรากฏการณ์ของจุดปฏิบัติการเรียนร้วู ิทยุชุมชน
ที่มีลักษณะผสมผสานดังกล่าว

ขูอเสนอแนะ
ภายใต้การเรียนร้้เติบโตของวิทยุชุมชนหลังผ่านพ้นระยะ
เบียดแทรกส่้การเป็ นสื่อใหม่ของสังคม สะท้อนบทบาทและ
สถานภาพวิทยุชุมชนไทยที่ยังไม่สามารถก้าวมาเป็ น “สื่อทาง
เลือก” เพื่อชุมชนตามแนวทางและหลักการของวิทยุชุมชนได้
อย่างแท้จริง ทั้งนี้ เพราะขาดทิศทางการพัฒนาและการหนุ นเสริม
อย่างเป็ นระบบ การพัฒนาวิทยุชุมชนให้เป็ นไปตามเจตนารมณ์
ของการปฏิร้ปสื่อ จำาเป็ นต้องเริม
่ จากการหนุ นเสริมการมีส่วนร่วม
ในการบริหารจัดการจากชุมชนและสังคม ซึง่ จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อ
ชุมชนตระหนั กและรับร้้ว่าวิทยุชุมชนมิใช่เรื่องของ “สื่อใหม่” หาก
เป็ นเรื่อง “สิทธิ” ตามระบอบประชาธิปไตยเสียก่อน อันเป็ น
หนทางนำาร่องผลักดันให้วิทยุชุมชนก้าวไปไกลกว่าการเป็ น“เวทีใน
11

การเปิ ดประเด็นสาธารณะ” ไปส่้ “การถกเถียงสาธารณะ” (public


dialogue) เพื่อประโยชน์ร่วมกันของชุมชนและสังคม (UNESCO,
1997 อ้างถึงใน จุมพล รอดคำาดี, 2542) ซึ่งการพัฒนาไปส่้จุดดัง
กล่าวได้จำาเป็ นต้องพัฒนาผ้้เกี่ยวข้องทุกฝ่ าย โดยเฉพาะการพัฒนา
สมรรรถนะผ้้รบ
ั สารจากเชิงรับ (passive audiences) ส่เ้ ชิงรุก
(active audiences)ให้ตระหนั กถึงบทบาทการเป็ นผ้้ฟังในฐานะ
พลเมืองมิใช่ผ้ฟังในฐานะผ้้บริโภค ดังแนวทางทีส
่ ่ ือกระแสหลักวาง
ไว้ ด้วยการเสริมสร้างให้เกิด “การร้้เท่าทันสื่อ” (media literacy)
เพื่อการพัฒนาอำานาจต่อรองของผ้้รบ
ั สาร ในการร่วมกำาหนด
เนื้ อหา อันเป็ นหัวใจหลักของการพัฒนาแนวคิดการร้้เท่าทันสื่อ ที่
มิได้อย่้ท่ีการมุ่งสืบหาความจริง หากอย่้ที่การพัฒนากลยุทธ์ในการ
วิเคราะห์เนื้ อหาสารอย่างเป็ นระบบ เพื่อสร้างผ้้รบ
ั สารที่ต่ ืนตัวต่อ
การเปิ ดรับสื่ออย่างมีวิจารณญาณ และพร้อมเปิ ดรับเนื้ อหาในร้ป
แบบที่แปลกไปจากธรรมดา (Considine, 1990) อันถือเป็ นสาระ
สำาคัญของการทำาหน้าที่เป็ นสื่อทางเลือกให้แก่สังคมที่เน้นมิติเชิง
วัฒนธรรมแทนมิติเชิงเศรษฐกิจ เช่นเดียวกับที่ต้องเร่งพัฒนาผ้้ส่ง
สารให้หลุดพ้นจากวังวนของการเรียนร้้ด้วยวิถีการลอกเลียนแบบ
และเดินรอยผ้้นำาไปส่้การพยายามสรรสร้างหรือประยุกต์ปรับปรุง
แนวทางในร้ปแบบเฉพาะของตนเองหรือชุมชน เพื่อหลีกเลี่ยงการ
มีสถานะพร่องจากการมี “ต้นแบบที่ไม่สมบ้รณ์” ที่ก่อให้เกิด
ปั ญหา “การถ่ายทอดสายพันธ์ุ” ที่ผิดไปจากหลักการและ
เจตนารมณ์ของวิทยุชุมชนอย่างมากดังที่วิทยุชุมชนหลายแห่งเป็ น
อย่้
12

ในขณะที่ภาครัฐพึงตระหนั กและให้ความสำาคัญในการวาง
แนวทางเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับวิทยุชุมชนในด้านต่างๆ
มากกว่าการให้ความสำาคัญกับเงื่อนไขทางเทคนิ คในการส่งกระจาย
เสียงโดยละเลยนั ยสำาคัญแห่งความเป็ นวิทยุชุมชน ด้วย
สถานการณ์ปัจจุบันสื่อวิทยุชุมชนมิได้เผชิญหน้ากับการครอบงำา
โดยธุรกิจเท่านั้ น หากยังถ้กบงการและแทรกแซงจากรัฐผ่านข้อ
จำากัดและมาตรการทางกฎหมายต่างๆ ซึ่งด้จะสวนทางกับนโยบาย
ที่รฐั บาลประกาศส่งเสริมวิถีทางในการประกันสิทธิเสรีภาพพื้ นฐาน
ของประชาชนตามรัฐธรรมน้ ญ ซึ่งภาวะดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ด้วย
การที่ภาครัฐต้องตระหนั กถึงการหนุ นเสริมพันธกิจของวิทยุชุมชน
ในลักษณะที่ต่างไปจากวิทยุกระแสหลัก กล่าวคือ มุ่งเน้นส่งเสริม
พันธกิจด้านการให้การศึกษา (to educate) และการให้ข่าวสาร (to
inform) แทนการโน้มน้าวใจ (to persuade) หรือการให้ความ
บันเทิง (to entertain) เพื่อนำาพาประชาชนก้าวไปส่้การมีชุมชนที่
เข้มแข็ง อันจะเป็ นจุดเริม
่ ต้นสำาคัญของการก้าวข้ามจากการเป็ น
เพียง “สื่อใหม่” ไปส่้การเปิ ด “พื้ นที่สาธารณะ” (public sphere)
อันเป็ นบทพิส้จน์คุณ้ปการของวิทยุชุมชนต่อชุมชนและสังคมอย่าง
แท้จริง
ด้วยพันธกิจในการหนุนเสริมวิทยุชุมชนที่ภาครัฐพึงมีต่อการ
ปฏิรูปสื่อและสิทธิอย่างจริงใจ ภาครัฐพึงจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุ
กระจายเสียงให้กับภาคประชาชนในการจัดตัง้ สถานี วิทยุชุมชนใน
ระบบ FM ที่ไม่ทบ ั ซ้อนกับคลื่นความถี่เดิม โดยกำาหนดให้มีคณะ
กรรมการร่วมภาครัฐและประชาชนในระดับจังหวัดหรือระดับพื้นที่ มา
ร่วมกันจัดสรรคลื่นความถี่ โดยพิจารณาเปรียบเทียบจัดสรรตามความ
เข้มแข็งของเครือข่ายชุมชน แทนการกำาหนดคลื่นความถี่และกำาลังส่ง
13

กระจายเสียงดังที่ปฏิบัติอยู่ (กำาลังส่ง 30 วัตต์ เสาสูง 30 เมตร) เพื่อ


ให้สอดคล้องกับสภาพความเป็ นจริงของเครือข่ายผู้ฟังที่สามารถเข้ามา
มีส่วนร่วมกับสถานี วิทยุชุมชนได้ทัง้ ทางตรงและทางอ้อมตามหลักการ
วิทยุชุมชน ซึ่งการจัดสรรพึงคำานึ งถึงจำานวนประชากรผู้สนั บสนุน
ระยะเวลาในการรวมกลุ่ม ผลสัมฤทธิใ์ นการดำาเนิ นกิจกรรม ซึ่งการ
พิจารณาฐานข้อมูลดังกล่าวจะเป็ นหลักประกันให้แต่ละสถานี มีฐาน
ทุนทางสังคมเพียงพอในการเข้ามาทำาหน้ าที่ส่ ือชุมชนได้อย่างเป็ น
ระบบและมีประสิทธิภาพ (Putnum, 1993)
ภายหลังการอนุมัติจัดตัง้ สถานี วิทยุชุมชน ภาครัฐและหน่ วยงาน
ที่เกี่ยวข้องพึงติดตามประเมินผลมาตรฐานการดำาเนิ นการ โดยมี
สถาบันกลางที่ประกอบด้วยผู้แทนจากกลุ่มภาคประชาชน รัฐ นั ก
วิชาการ ที่มีความรู้ความชำานาญเกี่ยวกับการทำางานด้านชุมชน และการ
สื่อสารเข้าร่วมดำาเนิ นการ ในการจัดวางมาตรฐานของวิทยุชุมชน ที่พึง
ต้องแตกต่างไปจากมาตรฐานกลางของวิทยุกระแสหลัก แต่เหมาะสม
และสอดคล้องตามสภาพความหลากหลายของชุมชนในแต่ละภูมิภาค
โดยสนั บสนุนงบประมาณส่งผ่านสถาบันในการพัฒนาศักยภาพวิทยุ
ชุมชนในฐานะศูนย์กลางจัดอบรมสัมมนาด้านต่างๆ ตลอดจนเป็ นที่
ปรึกษาหนุนเสริมกระบวนการภาคประชาชนเพื่อยกระดับมาตรฐาน
วิทยุชุมชนไทยอย่างเป็ นระบบ สำาหรับการส่งเสริมด้านงบประมาณพึง
จัดสรรในเชิงหนุนเสริมให้ประชาชนในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมในการ
ดำาเนิ นการของสถานี วิทยุชุมชนของตน อาทิ การจัดสรรงบประมาณ
ในลักษณะเงินสมทบแบบ “อัตราก้าวหน้ า” โดยประเมินเทียบเคียง
จากจำานวนเงินบริจาคของประชาชนในพื้นที่ ซึ่งต้องไม่มีผู้บริจาคราย
ใหญ่ หรือ กำาหนดงบประมาณสนั บสนุนเป็ นสัดส่วนที่สอดคล้องกับ
จำานวนคณะกรรมการที่เข้าร่วมดำาเนิ นงาน ภายใต้หลักความเป็ น
ยุติธรรม และเป็ นอิสระปราศจากการครอบงำาจากฝ่ ายหนึ่ งฝ่ ายใด อัน
เป็ นการสร้างความเข้มแข็งให้กับวิทยุชุมชน สมเจตนารมณ์แห่งความ
เป็ นพื้นที่สาธารณะและสื่อเพื่อชุมชนอย่างแท้จริง
บรรณำนุกรม

กาญจนา แก้วเทพ, กิตติ กันภัย และ ปาริชาติ สถาปิ ตานนท์ สโรบล.


(2544, ตุลาคม). การสื่อสารกับชุมชน แนวคิดหลักเพื่อการ
14

พัฒนา. เอกสารนำ าเสนอในการประชุมสัมมนาแนวทางการ


พัฒนาแผนสื่อชุมชน 4 ภูมภ
ิ าค, 27-28 ตุลาคม 2544 ณ ห้อง
ศาลาไทย โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรุงเทพมหานคร.
กาญจนา แก้วเทพ. (2541). สื่อมวลชน: ทฤษฎีและแนวทางการ
ศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.
. (2542). การวิเคราะห์ส่ ือ แนวคิดและเทคนิ ค. (พิมพ์
ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอดิสัน เพรส โพรดักศ์
จำากัด.
. (2543). การสื่อสารกับพื้นที่สาธารณะ : ทัศนะของ
Habermas มองสื่อใหม่ มองสังคมใหม่. กรุงเทพมหานคร:
บริษัท เอดิสัน เพรส โพรดักศ์ จำากัด
จุมพล รอดคำาดี. (2542). “วิทยุกระจายเสียงชุมชน (Community
Radio) ของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน,” วารสาร
นิ เทศศาสตร์., 17 (2), หน้ า 22-24.
ชัยอนั นต์ สมุทวาณิ ช. (2541). รัฐ. (พิมพ์ครัง้ ที่ 5).
กรุงเทพมหานคร: สำานั กพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณั ฐฬส วังวัญญู. (2545, กรกฎาคม). ประสบการณ์ส่ ือวิทยุทางเลือก
KGNU และ Democracy Now! สหรัฐอเมริกา. เอกสารนำ า
เสนอในการประชุมวิชาการประจำาปี 2545 ของคณะกรรมการ
ความร่วมมือทางวิชาการและวิชาชีพสื่อมวลชน (กวส.), ไม่
ปรากฏสถานที่จัดประชุม
ปาริชาต สถาปิ ตานนท์ สโรบล. จับตากระบวนการสื่อสารท่ามกลาง
การเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย. เอกสารนำ าเสนอในการประชุม
15

สัมมนาแนวทางการพัฒนาแผนสื่อชุมชน 4 ภูมภ
ิ าค, 27-28
ตุลาคม 2544 ณ ห้องศาลาไทย โรงแรมแอมบาสเดอร์
กรุงเทพมหานคร.
ธีรยุทธ บุญมี. (2547). ประชาสังคม. (พิมพ์ครัง้ ที่ 1) .
กรุงเทพมหานคร: สำานั กพิมพ์สายธาร.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2546). เอกสารการสอนชุดวิชา
ความร้่เบื้องต้นเกี่ยวกับวิทยุและโทรทัศน์ หน่ วยที่ 1-8.
นนทบุร:ี สำานั กพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
. (2546). เอกสารการสอนชุดวิชาความร้่เบื้องต้นเกี่ยวกับ
วิทยุและโทรทัศน์ หน่ วยที่ 9-15. นนทบุร:ี สำานั กพิมพ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วิภา อุตมฉั นท์ (บรรณาธิการ). (2544). แนวคิดวิทยุชุมชนจากเวที
ปฏิร่ปสื่อภาคประชาชน. โลกของสื่อ ลำาดับที่ 4 ยกเครื่องสื่อ
ไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.
. (2546). หลักคิดและบทเรียนจากนานาประเทศ. (พิมพ์
ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำากัด ไอคอน พริน
้ ติง้ .
สหพันธ์วิทยุชุมชนแห่งชาติ. (2546, พฤศจิกายน). รายงานสัมมนา
ถอดบทเรียน 1 ปี สังคมไทย. เอกสารนำ าเสนอในการประชุม
สัมมนาครบรอบ 1 ปี วิทยุชุมชน, 5-7 พฤศจิกายน 2546 ณ
โรงแรมดีลักษณ์เพลส กรุงเทพมหานคร.
เสถียร เชยประทับ. (2529). การสื่อสารและการพัฒนา.
กรุงเทพมหานคร: สำานั กพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
16

สุภิญญา กลางณรงค์. (2547, พฤศจิกายน). สื่อชุมชน: ดุลยภาพ


แห่งการสื่อสารเพื่อการพัฒนาคนและสังคม. เอกสารนำ าเสนอ
ในการสัมมนาทางวิชาการประจำาปี 2547 ในหัวข้อ “เหลียวหน้ า
แลหลัง: ยี่สบ
ิ ปี เศรษฐกิจสังคมไทย”. โรงแรมแอมบาสซาเดอร์
จอมเทียน จังหวัดชลบุร.ี
สุระชัย ชูผกา. (2548). รายงานการศึกษาติดตามประเมินผล
โครงการฝึ กอบรมแกนนำ าวิทยากรวิทยุชุมชน ในระบบหลัก
ประกันสุขภาพ. (เอกสารเย็บเล่ม). สำานั กงานหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ.
สุรัตน์ เมธีกุล.(2545).การปฏิร่ปสื่อในยุคไร้พรมแดน.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ .์ (2544). ระบบวิทยุและโทรทัศน์ไทย:
โครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมือง และผลกระทบต่อสิทธิ
เสรีภาพ. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพมหานคร: สำานั กพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
. บรรณาธิการ. (2548). ปิ ดห่ ปิ ดตา ปิ ดปาก สิทธิเสรีภาพ
ในมือธุรกิจการเมืองสื่อ. กรุงเทพมหานคร: โครงการจัดพิมพ์
คบไฟ.
เอื้อจิต วิโรจน์ไตรรัตน์. (2547). ถึงเวลาวัดใจ...บทบาทรัฐ-หน่ วย
สนั บสนุน และกระบวนการประชาชน เพื่อวิทยุชุมชน. ค้นเมื่อ
22 มิถุนายน 2548, จาก http://www.thaicivicnet. com/
โอภาศ ปั ญญา และพิเชษฐ์ หนองช้าง (บรรณาธิการ). (2542).
ประชาสังคม: พื้นที่สาธารณะของฉั น (ประชาชน) ที่จัดการเอง
17

ประชาคมรากหญ้า ขบวนการคนกล้า สร้างบ้าน วันใหม่.


กรุงเทพมหานคร: สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา.

ภำษำอังกฤษ
Considine, David. (1990). "Media Literacy: Can We Get
There From Here?" Educational Technology. Retrieve
February 11, 2005, from http:www.media-
awareness.ca/english/ resources/educational/teaching-
backgrounders/med
Curran, James. (1999). “Rethinking the media as a public
sphere.”. In Peter Dahlgren and Colin Sparks (Eds.),
Communication and citizenship : Journalism and the
public sphere in the new media. London : Routledge.
Dominick, Joseph R. (1994). The dynamic of mass
communication. NY: McGraw-Hill Inc.
Librero, Felix. (1993). Community radio: An alternative for
broadcasting. Media Asia. 20 (4), p. 218-223.
Putnum, Robert. D. (1993). "The prosperous community:
Social capital and public life". The American Prospect
. 13, p. 24-43.
18

Stones, Rob. (Ed.). (1998). Jurgen Hambermas: Key


sociological thinkers. London: Macmillan Press.
Raboy, Marc. (1995). World broadcasting system. Sydney:
Cannell Paddy Head.
Keith, Michael C. and Krause, Joseph M. (1930). The radio
station. (3 ed.). Boston: Focal Press.
rd

Summers, Harrison B., Summers, Robert E. and Backer,


John H. (1987). Broadcasting and the public. (2 ed.).
nd

CA: Wadsworth.
White, Shirley A., Sadamandoman Nair, K. and Croft, Joseph
Ash (Eds.). (1994). Participatory communication:
Working for change and development.. New Delhi:
SAGE Publication.
19

ประวัติผู้วจิ ัย
ชื่อ สุระชัย ช้ผกำ
ตำำ แหน่ ง อาจาร์ยประจำา ภาควิชาสื่อสารมวลชน คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคำาแหง
ประวัติกำรศึกษำ
ศ.บ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2534)
ป ร ะ ก า ศ นี ย บั ต ร International Relation, International
University of Japan (2540)
ร.ม. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2541) วิทยานิ พนธ์ดีเด่น
ผลงำนทำงวิชำกำร
วิ ท ยานิ พ นธ์ ดี เ ด่ น “ การปกป้ องค่ า เงิ น บาทกั บ การเมื อ งไทย ”
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2542.
บทความ การสื่ อสารมติ ม หาชนในบั ้ง ไฟพญานาค. วารสาร
รามคำาแหง ปี ท่ี 19 ฉบับที่
4 ตุลาคม – ธันวาคม 2545.
บทความ ม็ อบ : การสื่อ สารมติ มหาชนบนท้อ งถนน. วารสาร
รามคำาแหง ฉบับ
มนุษยศาสตร์พ.ศ.2546. ฉบับ ครบรอบ 32 ปี . กันยายน
2546.
บทความ วิทยุชุมชน พื้นที่สาธารณะใหม่ในสังคมไทย. วารสาร
รามคำาแหง ฉบับ
มนุษยศาสตร์ พ.ศ. 2547.
ผลงำนวิจัย
การวิจัยการสื่อสารเพื่อการมีงานทำา : กรณี ศึกษาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยรามคำาแหง สาขาวิชาสื่อสารมวลชนภาควิชาสื่อสาร
มวลชน คณะมนุ ษ ยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย รามคำา แหง พ.ศ.
2549. (วิจัยร่วม)
20

การติ ด ตามประเมิ น โครงการฝึ กอบรมวิ ท ยากรแกนนำ า


วิ ทยุ ชุม ชน พ.ศ. 2548. สนั บสนุน โดยสำา นั กงานหลั ก ประกั น
สุขภาพแห่งชาติ

You might also like