อำนาจของคนชายขอบ-Mogan people

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 39

1

มอแกน...สื่อ กับอำำนำจของผู้ถ้กกระทำำ
สุระชัย ชูผกา
ควำมนำำ
ในระบอบสังคมประชาธิปไตยเสรี นั กการเมืองย่อมได้รบ

อำานาจหากประชาชนตัดสินใจเลือกพวกเขาเข้าส่่สถาบันอำานาจ
ข้าราชการหากสอบผ่านเกณฑ์และได้รบ
ั แต่งตั้งผ่านฐานทางข้อ
กฎหมายก็มีอำานาจในการบริหารงานให้แผ่นดิน แต่สำาหรับสื่อไม่
เป็ นที่แน่ชัดนั กว่าว่ามีฐานที่มาของอำานาจจากแห่งใด เพราะตัว
สถาบันสื่อเองก็เป็ นเพียงฐานกล่่มคนทำาธ่รกิจซึ่งไม่ผิดอะไรกับคน
ทำามาค้าขายทัว่ ไป หากต่างกันเพียงสื่อขายความจริงที่เกิดขึ้นหรือที่
ดำารงอย่่ในสังคม
ดังนั้ นอาจกล่าวได้ว่า รากฐานอำานาจของสื่อหล่ดไหลมาจาก
ความจริง ที่แอบอิงกับความอยากร้่อยากเห็นของคนในสังคมนั้ นเอง
ซึ่งโดยทัว่ ไปไม่มีใครได้มีโอกาสร้่ หรือเข้าถึง สื่อจึงเป็ นตัวกลาง
เชื่อมโยงความจริงหรือข้อเท็จจริงจากแห่งหนตำาบลหนึ่ งไปยังอีก
หลายถิ่นฐาน อันมีส่วนสานสร้างสังคมและผ้่คนให้เกิดความร้่ ความ
เข้าใจซึ่งกันและกันในทางหนึ่ งทางใด พร้อมๆ กันไปกับการเพิ่ม
หรือลดสถานะของผ้่คนที่ได้ถ่กนำาเสนอผ่านสื่อตามแง่คิดม่มมองที่
ถ่ายทอดไปจากตัวสื่อเอง
ขณะที่กล่่มมน่ ษย์กล่่มหนึ่ งที่ถ่กเรียกขานในนาม “มอแกน” ด่
เหมือนได้ถ่กโชคชะตาพลิกผันทั้งผลักและดันให้อย่่ในสภาพที่มีและ
ไม่มีอำานาจในสังคมไทยมาอย่างต่อเนื่ องยาวนาน แม้ว่ากล่่ม


นั กศึกษาปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และ
สื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อาจารย์ประจำาภาควิชาสื่อสารมวลชน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำาแหง
2

์ ละสิทธิความเป็ นมน่ ษย์ท่ีผ่ดขึ้นพร้อมกับภ่มิหลัง


ชาติพันธ์่น้ ี มีศักดิแ
ทางประวัติศาสตร์วัฒนธรรมประเพณี ของเผ่าพันธ์่ตนมาแสนนาน
แต่การตกอย่่ท่ามกลางสังคมใหญ่ใช่หรือไม่ว่าอำานาจในตัวตนล้วน
ถ่กลดทอน
จ่ดตัดผ่านพงศ์พันธ์่สำาคัญอันหนึ่ งในเส้นทางชีวิตผ้่คนที่ถ่ก
เรียกว่า มอแกน ด่เหมือนจะหนี ไม่พ้นเหต่การณ์ธรณี พิบัติคลื่นยักษ์
สึนามิ ที่คร่าชีวิตผ้่คนไปไม่ตำ่ากว่า 5,000 ในเขตพื้ นที่ชายฝั ่ ง
อันดามันของไทย ที่น่ี เองสื่อกับมอแกนได้พบเจออีกครั้งด้วยแง่ม่ม
ชีวิตที่เปลี่ยนไป
สื่อมีปฏิสัมพันธ์เช่นไรกับกลุ่มชาติพันธ์น้ ี และมีฐานคิดอิงอ้างกับ
สิง่ ใดเป็ นสำาคัญ มอแกนได้อำานาจเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างไรในสภาพ
แท้จริง เป็ นสิ่งที่การศึกษานี้ มุ่งค้นหาคำาตอบเพื่อเป็ นฐานคิดคำานึ งถึง
อำานาจสื่อและอำานาจคนที่ถูกผสมปนเปจนชีวิตต้องหันเหเปลี่ยนแปลง
และเปลี่ยนไป

แนวคิดและวิธีกำรศึกษำ
ในการศึกษาเรื่องมอแกน...สื่อ กับอำานาจของผ้่ถ่กกระทำานี้ ผ้่
ศึกษาใช้วิธีการเก็บข้อม่ลโดยศึกษาจาก 3 ส่วนคือ
1) ศึกษาจากเอกสารที่มีการตีพิมพ์ผ่านทางสื่อสิ่งพิมพ์ท่ีถ่ก
บันทึกไว้ในเว๊ปไซด์ต่างๆ
3

2) สัมภาษณ์แกนนำาเยาวชนศ่นย์การเรียนร้่มอแกนบ้านทับ
ตะวัน อ.ตะกัว่ ป่ า จ.พังงา
3) สัมภาษณ์ผ้่ประสานงานเครือข่ายวิทย่ช่มชนภาคใต้ผ้่ทำางาน
ร่วมกับชาวมอแกน

สำาหรับหลักแนวคิดทฤษฎีและการศึกษาที่เกี่ยวข้อง ผ้่ศึกษาได้
รวบรวมหลายแนวคิดมาเป็ นเครื่องมือนำาทางในการสะสางรื้ อค้น
ความจริงอันทับซ้อนระหว่างสื่อกับมน่ ษย์กล่่มหนึ่ ง หลักเกณฑ์
ความเป็ นข่าว (News criteria) นั บเป็ นกรอบเกณฑ์ให้เข้าถึงความ
ในใจบางประการของสื่อในการเลือกนำาเสนอข่าวสารส่ส
่ าธารณะ
ควบค่่ไปกับแนวคิดในบทบาทหน้าที่ของสื่อ(The Role of Mass
Media) ที่ทำาได้และได้ทำากันอย่างหลากหลายตามแต่ส่ ือปราถนา
เลือก
ขณะเดียวกันเมื่อกล่าวถึงมอแกนในฐานะมน่ ษย์ท่ีดำารงวิถี
ผ่กพันกับสังคมย่อมต้องพิจารณาบางแง่ม่มจากทั้งแง่ม่มของการ
ธำารงอัตตลักษ์ท่ีกระทำาอย่่ในฐานะการเป็ นวาทกรรม (Discursivity)
และแง่คิดหลักการเชิงอำานาจ (Power) ทั้งอำานาจจากมน่ ษย์ต่อ
สังคม และอำานาจของการให้ความหมาย (The Power to name)
เพื่อค้นหาการจัดและการถ่กจัดวางไว้ในตำาแหน่งแห่งที่ในทางวาท
กรรมและกระทำาในสังคม หลักการแนวคิดต่างๆ ได้มีผ้่นำาเสนอไว้
อย่างหลากหลาย ผ้่ศึกษาได้กำาหนดเลือกเพียงมาบางส่วนที่สามารถ
สานสร้างกรอบคิดอันสอดคล้องกับเป้ าหมายในการศึกษาที่พอ
แจกแจงได้ดังนี้
4

แนวคิดเกณฑ์ความเป็ นข่าว (News Criteria)


สื่อมวลชนแขนงข่าวไม่ว่าจะอย่่ในระบบสังคมการเมืองใด มัก
มีหลักการสำาคัญๆ ในการเลือกสรรนำาเสนอสถานการปั จจ่บันต่างๆ
ที่เกิดขึ้นไปยังสาธารณชนอย่างกว้าง ๆ ตาม เกณฑ์การคัดสรรข่าว
( News Criteria ) ที่มีลักษณะร่วมโดยทัว่ ไปดังนี้
1

1. เป็ นเหต่การที่อย่่ในความสนใจของผ้่รบ
ั สารกล่่มเป้ าหมาย
(Audience Concern)
2. เป็ นเหต่การณ์ท่ีอย่่ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง
(Potential for change)
3. เป็ นเหต่การณ์ท่ีเกิดเหนื อความคาดหมายของคนส่วนใหญ่
Unexpected
4. เป็ นเหต่การณ์ท่ีเกิดขึ้นในปั จจ่บัน (Timeliness) หรือมีสด
ในตัวเหต่การณ์
5. เป็ นเหต่การณ์ท่ีมีความใกล้ชิดกับประชาชนกล่่มผ้่รบ
ั สาร
(Proximity)
6. เป็ นเรื่องรื่องที่มีผลกระทบจากเหต่การณ์อย่างกว้างขวาง
(Impact)
7. เป็ นเรื่องที่มีความโดดเด่นของตัวบ่คคลหรือสถานที่
(Prominence)
8. เป็ นเรื่องที่อย่่ท่ามกลางความขัดแย้ง (Conflict)
9. เป็ นเรื่องนั้ นต้องมีแง่ม่มสีสันเป็ นที่สนใจของมน่ ษย์ป่ถ่ชน
(Human Interest)

1
Len Granato. Reporting & Writing News. Prentice Hall. New York. 1991. p. 28-29
5

สิ่งเหล่านี้ นั บได้ว่าเป็ นกรอบเกณฑ์ในการเลือกสรรเหต่การณ์


ต่างๆที่เกิดขึ้นเข้าส่่การ
รับร้่ของประชาชนในร่ปประเด็นข่าว แต่ท้ ังนี้ ก็ยังขึ้นกับระบบสังคม
ที่ส่ ือมวลชนฝั งตัวอย่่ หากอย่่ต่างสังคมกันย่อมให้ความสำาคัญในการ
คัดเลือกเหต่การณ์ส่ความเป็ นข่าวแตกต่างกัน กล่าวโดยทัว่ ไปผ้่ส่ ือ
2

ข่าวอาจมิได้ตระหนั กว่าตนเองมีเกณฑ์เหล่านี้ ที่ชัดเจนแต่เป็ นไปโดย


ความร้่สึกหรือประสบการณ์ว่าสิ่งใดน่าจะเป็ นข่าวใหญ่ หรือข่าวเล็ก
เพราะในการคัดเลือกข่าวนั้ นนั กข่าวมักจะเลือกสี่งที่เขาสนใจคิดว่า
คนทัว่ ไปจะให้ความสนใจไปตามธรรมชาติของมน่ ษย์ (Human
Interest) ที่มีความอยากร้่อยากเห็นเรื่องต่างๆ แต่เมื่อแยกแยะ
แจกแจงเหต่การณ์ต่างๆ ที่นำาเสนอผ่านสื่อมวลชนล้วนหนี ไม่พ้น
เกณฑ์ความเป็ นข่าวเหล่านี้ ไปได้
บทบาทสื่อมวลชนที่มีต่อสังคม
บทบาทของสื่อมวลชนที่มีต่อสังคมเป็ นไปใน 2 ลักษณะกล่าว
คือ เป็ นสิ่งที่ส่ อ
ื เลือกที่จะแสดงบทบาทนั้ นๆ กับ เป็ นบทบาทที่เกิด
จากการทำาหน้าที่ของสื่อมวลชนที่ได้นำาเสนอเรื่องราวให้สงั คมได้รบ
ั ร้่
เป็ นสำาคัญ แต่ท้ ังสองลักษณะสื่อล้วนมีบทบาทที่สำาคัญๆ ดังนี้
3

1. สื่อมวลชนข่าวทำาหน้าที่เสมือน ผ้ร่ ก
ั ษาประต่
( Gatekeeper) ข่าวสาร เป็ นผ้่เลือกสรรข้อม่ลและคัดสรร”แง่ม่ม”
4

ข่าวสารมาให้กับสาธารณชนในสังคมนั้ น ๆ ได้รบ
ั ร้่โดยเลือกจาก

2
เสถียร เชยประทับ.ระบบสื่อสารมวลชนเปรียบเทียบ. คณะนิ เทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พ.ศ. 2546. หน้ า 54-61.
3
Paul Manning. News and News Source Critical Introduction. SAGE Publications. 2001 London. Pp.61.
4
Ibid, Len Granato, pp. 20.
6

ความร้่สึก ความคิดเห็นของตน ว่าเป็ นม่มมองที่สังคมควรได้รบ


ั ร้่รบ

ทราบ
2. สื่อมวลชนสามารถทำาหน้าที่ของการเป็ นผ้่เฝ้ าระวังภัย
(Surveillance) ให้กับคนในสังคมกล่่มต่างๆ โดยการสอดส่องด่แล
ปั ญหาเงื่อนปมต่างๆ ที่มีโอกาสเป็ นอันตรายของผ้่คนมานำาเสนอ
ก่อนเหต่การณ์เหล่านั้ นจะมีอันตรายมากขึ้นหรือกว้างขวางมากขึ้น
5

3. สื่อมวลชนในบทบาทการเป็ นผ้่ตีความเหต่การณ์
(Interpretation)ต่างๆ เพื่ออรรถาธิบายที่มาที่ไป หรือนั ยของ
เหต่การณ์เรื่องราวเหล่านั้ นให้ประชาชนทัว่ ไปที่ไม่ได้อย่่ในบริบทของ
เหต่การณ์น้ ั นได้เข้าใจแจ่มชัด แต่การตีความย่อมหลีกไม่พ้นการปน
เปื้ อนทรรศนะของผ้ส
่ ่ ือข่าวเอง
4. สื่อมวลชนในบทบาทการเชื่อมโยงสังคม (Linkage) อัน
เกิดจากการหยิบยกเลือกรายงานสถานการณ์จากแหล่งต่างๆ ของ
สื่อมวลชนจนทำาให้ประชาชนผ้่รบ
ั สารในต่างช่มชนสังคมได้รบ
ั ร้่และ
“ร้่สึก" ถึงความใกล้ชิดเกี่ยวข้องเชื่อมโยงต่อกันอีกด้วย
5. สื่อมวลชนกับบทบาทการส่งผ่านค่านิ ยม (Transmission
of Values) เกิดจากการเลือกนำาเสนอข้อเท็จจริง เหต่การณ์และ
เรื่องราวจากแหล่งต่างๆ ย่อมเป็ นการส่งผ่านการรับร้่ผ่านค่านิ ยม
ความเชื่อ บรรทัดฐานของสังคมในเหต่การณ์น้ ั นๆ ไปยังผ้่รบ
ั สาร
ผ่านทางเนื้ อหา ภาษา และลีลาการนำาเสนอในการรายงาน
สถานการณ์ต่างๆ จนทำาให้ประชาชนผ้่รบ
ั สารเกิดการรับร้่และเรียนร้่

5
Joseph r. Dominick, The Dynamics of Mass Communication, fourth edition, 1994, Mc
Graw- Hill, Inc, New York, pp. 34.
7

ว่าสิ่งนั้ นๆ เป็ นสิ่งที่ดี หรือเป็ นสิ่งที่ไม่ดี จนนำาไปส่่การรับร้่ ซึมซับ


และจดจำา
6. สื่อมวลชนในในบทบาทการให้ความบันเทิง
(Entertainment)อันเป็ นการทำาหน้าที่ด้านการให้ความบันเทิง
(entertainment) เพื่อตอบสนองอารมณ์ความร้่สึกให้กับประชาชน
ได้เกิดความสบายใจ ดังที่พบเห็นได้จากการเลือกข่าวสารเบาๆ
(soft-news) หรือข่าวที่มีสีสันสน่ กสนาน สอดแทรกเพื่อไม่ให้การ
รายงานเหต่การณ์ในรอบวันเต็มไปด้วยความเคร่งเครียด
จากที่กล่าวมาบทบาทเหล่านั้ นได้เกิดขึ้นทั้งโดยความตั้งใจใน
การเลือกกระทำาหรือแสดงบทบาทดังกล่าว และเป็ นไปโดยไม่ได้
ตั้งใจ หากแต่เกิดจากผลของการนำาเสนอข้อม่ลข่าวสารส่่สาธารณะ
ของสื่อมวลชนนั้ นๆ หลายต่อหลายครั้งสื่อมวลชนไม่ได้ต้องการ
ยกย่องบ่คคลใดบ่คคลหนึ่ ง แต่การนำาเสนอเรื่องความแปลก หรือ
ความน่าสนใจตามเกณฑ์ข่าว ทำาให้ประชาชนร้่สึกหรือรับร้่ว่าบ่คคล
นั้ นเป็ นคนสำาคัญ หรืออาจถึงขั้นเป็ นวีรบ่ร่ษได้ ซึ่งถือว่าสื่อมวลชนมี
ส่วนสำาคัญต่อบทบาทในการยกสถานะบ่คคลเข้าส่่การรับร้่ของสังคม
(Status conferral)
แนวคิดว่ำดูวยเรื่อง อัตตลักษณ์ อำำนำจ และวำทกรรม
การก่อรูปของอัตตลักษณ์
ในหนั งสือ“ประชาสังคม” ของอาจารย์ธีรย่ทธ บ่ญมี ได้กล่าว
6

ถึงอัตตลักษณ์ของผ้่คนในสังคมปั จจ่บันอันเป็ นแบบหลังย่คจารีต


(Post conventional identity) ว่ามี 3 ลักษณะสำาคัญคือ

6
ธีรยุทธ บุญมี. ประชาสังคม. กรุงเทพฯ สายธาร พ.ศ. 2547 น.195.
8

1. บ่คคลมีเสรีและมีความเท่าเทียมกันในทางกฎหมายแพ่ง
อันหมายถึงสิทธิในการได้เป็ นเจ้าของทรัพย์สินของตน
2. การเป็ นตัวตนหรือบ่คคลที่มีเสรีภาพในเชิงจริยธรรม
ค่ณธรรม อันถือว่าตัวคนมีส่วนที่จะเลือกเชื่อ เลือกนั บถือ
ศาสนาใดก็ได้
3. การเป็ นบ่คคลที่มีสิทธิตัดสินใจในเรื่องอำานาจได้อย่างเสรี
ภายใต้ระบอบประชาธิปไตย
สามลักษณะนี้ อาจารย์ธีรย่ทธเรียกว่าเป็ นอัตตลักษณ์ของการ
เป็ นมน่ ษย์ในย่คสมัยใหม่ แต่ในสภาพความเป็ นจริง การมีอัต
ตลักษณ์ การมีเสรีภาพ ความเท่าเทียมกันในด้านต่างๆ บ่คคล
หนึ่ งๆ ที่อย่่ในสังคมมิสามารถกำาหนดหรือกระทำาด้วยตนเองได้อย่าง
ตรงไปตรงมา หากแต่ว่าชีวิตในความมีอัตตลักษณ์น้ ั นล้วนถ่ก
กำาหนดจากฐานทางอำานาจที่สังคมมอบหมาย แบ่งปั นให้เป็ นสำาคัญ
Jurgen Habermas ได้อรรถาธิบายไว้ว่า การก่อร่ปของอัต
ตลักษณ์ หรือความเป็ นตัวตนของผ้่คนกล่่มต่างๆ นั้ น ล้วนต้อง
กระทำาผ่านการยอมรับซึ่งกันและกันของผ้่คนภายในกล่่มสังคมนั้ นๆ
หรือที่เรียกว่า (mutual recognition) ซึ่งถ่กยึดโยงอย่่ในขอบเขต
ของโครงสร้างจริยธรรม ค่ณธรรม ความเชื่อในแต่ละย่คสมัยด้วยที่มี
ส่วนสำาคัญในการกำาหนดการรับร้่และจำากัดขอบเขตอำานาจให้กับ
แต่ละผ้่คนในสังคม
ลักษณะของอำานาจ
จากลักษณะดังกล่าวทำาให้ต้องใคร่ครวญถึงลักษณะของอำานาจ
ของผ้่คนในสังคมให้ชัดเจน ซึ่งโดยปกติมักคิดถึงอำานาจในการสัง่
การ หรือำานาจทางการเศรษฐกิจการเมืองในการมีอิทธิพลเหนื อผ้่อ่ ืน
9

แต่ในอีกด้านหนึ่ งอำานาจนั บว่ามีความสลับซับซ้อนดังที่ Michel


Foucault ชี้ให้เห็นว่า อำานาจมีมาได้หลายร่ปแบบหลายทิศทาง
7

อาทิ ขณะที่นายจ้างมีอำานาจทางเศรษฐกิจในการจ้างงานคนงานให้
ทำาการผลิตให้ นายจ้างก็มีอำานาจทางการเมืองในการควบค่มวินัย
ของคนงานในการทำางานได้ด้วย ทั้งนี้ อำานาจย่คใหม่ไม่ได้ข้ ึนกับการ
ค่มพื้ นที่แต่เพียงอย่างเดียว หากยังมีมิติท่ีมองไม่เห็นอย่่มากมาย
เพราะอำานาจคือสิ่งที่เราติดตั้งให้กับสิ่งต่างๆ ในสถานการณ์ท่ีสลับ
ซับซ้อนของการต่อส้่ช่วงชิงย่ทธศาสตร์ในสังคม และอำานาจยังเป็ น
เหมือนโครงสร้างอย่างหนึ่ งที่เปิ ดทางให้ผ้่คนเข้าไปสวมบทบาทใน
ฐานะผ้่กระทำาและผ้่ถ่กกระทำา เช่น เป็ นหมอ เป็ นคนไข้ เป็ นคร่
เป็ นทหาร
ขณะยศ สันติสมบัติ แบ่งประเภทของอำานาจเพื่อการศึกษา
8

วิเคราะห์ไว้ค่อนข้างชัดเจนและครอบคล่มมิติทางๆ ไว้ใน 2 ลักษณะ


์ ิทธิ หมายถึงความสามารถ
คือ หนึ่ ง) อำานาจอิสระหรืออำานาจศักดิส
์ ิทธิ
ของผ้่คนในการกระทำาบางอย่างซึ่งอย่่ในโลกของเทพผ้่ศักดิส
เหนื อม่นษย์หรือเป็ นสิ่งที่เชื่อว่ามีอย่่ในปรากฎการณ์ธรรมชาติต่างๆ
หรืออาจเป็ นสิ่งที่เราเชื่อว่ามีอย่่ในจินตภาพไร้ตัวตนที่แฝงเร้นอย่่
ท่ามกลางผ้่คน เป็ นพลัง ค่ณลักษณะและความสามารถในการกระทำา
บางอย่างที่คงอย่่อย่างอิสระได้ด้วยตนเอง และหากได้รบ
ั การยอมรับ
จากผ้่มีอำานาจก็จะทำาให้อำานาจนั้ นเป็ นอำานาจทางสังคมการเมืองได้
ด้วยเช่นกัน

7
Michel Foucoult. Power The essential works of Foucault,1954-1984. New York. The New Press 2000.
pp.131-132.
8
ยศ สันติสมบัติ. อำานาจ บุคลิกภาพ และผู้นำาการเมืองไทย. กรุงเทพฯ. พิมพ์ครัง้ ที่ 2 สำานั กพิมพ์
นำ าไท. น.184-186.
10

สอง) อำานาจทางสังคมการเมือง หมายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นจาก


ความพยายามในการค้นหามาตราการในการควบค่มบังคับผ้่อ่ ืนมิใช่
์ ิทธิท่ีอิสระในตนเองหากแต่เป็ นความสามารถในการควบค่ม
สิ่งศึกดิส
บงการและมีอิทธิพลเหนื อทรัพยากรมน่ ษย์ เงิน ที่ดิน ปั จจัยการ
ผลิต อำานาจนี้ จึงมีความชอบธรรมในร่ปแบบและระดับที่แตกต่างกัน
ออกไปในสังคมวัฒนธรรมต่างๆ ซึ่งเป็ นที่ยอมรับของแต่ละสังคม
เพื่อใช้ในการจัดระเบียบและควบค่มบังคับพฤติกรรมของสมาชิกใน
สังคม อันเป็ นอำานาจที่มาพร้อมกับตำาแหน่งหน้าที่ มิใช่ในฐานะตัว
บ่คคล
จากลักษณะความแตกต่างทางอำานาจทั้งสองประการนั้ นได้
สะท้อนให้เห็นลึกลงไปว่า สิ่งที่อย่่เบื้ องหลังและสำาคัญมากกว่าไปนั้ น
คือการนิ ยามว่าสิ่งใดเป็ นอำานาจซึ่งมีท่ีมาจากการให้คำานิ ยามก่อน
์ ิทธิ ์ สิ่งใดควรถ่กกำาหนดให้เป็ น
หน้าว่าสิ่งใดสมควรเรียกว่าสิ่งศักดิส
ฐานของอำานาจทางสังคมการเมือง และพึงมีอำานาจกว่าสิ่งอื่น
ในทรรศนะของ Dale Spender นั กวิชาการสื่อสารมวลชนชาว
ออสเตรเลีย ชี้ว่า อำานาจในการเรียกขานประสบการณ์ต่างๆ ถือ
9

เป็ นอำานาจในการสร้างความจริงให้กับสังคมนั้ นๆ อันขึ้นกับว่าใครมี


อำานาจในการกำาหนดเรียกขานสิ่งนั้ นหรือให้นิยามกับสิ่งนั้ น (the
Power to name) โดยปิ ดบังอำาพรางความจริงในส่วนอื่น อาทิ เพศ
ชายเป็ นผ้่มีอำานาจในสังคมจึงเป็ นผ้่นิยามให้ความหมายกับการ
คลอดบ่ตร ว่าเป็ สิ่งที่สวยงาม สร้างความส่ขและมีค่ณค่าให้กับ
มน่ ษยชาติ โดยบิดบังอำาพรางความจริงในเรื่องความเจ็บปวด ทน

9
Julia T. wood. Communication Theories in Action: an Introduction.2nd ed. Australia 2000. Wadsworth.
Thomson. Pp.277.
11

ท่กข์ทรมานของเพศหญิงที่ฝ่ายผ้่นิยามไม่มีทางเข้าถึงรหัส
(encode) เข้าไปในภาษาที่จะใช้อธิบายประสบการณ์เรื่องนี้ ได้
วาทกรรมที่โน้มนำาอำานาจ
จากลักษณะของการก่อร่ปอัตตลักษณ์ และลัษณะทางอำานาจที่
กล่าวแสดงให้เห็นได้ว่า เป็ นสิ่งที่ล้วนเกี่ยวสัมพันธ์กับการสร้างความ
หมาย การนิ ยามที่ผ่านมาในฐานะของวาทกรรม (Discursivity) ที่
เป็ นกรอบกำากับความเชื่อ ความร้่ วิธีคิด วิธีเข้าใจสิ่งต่างๆ ในแต่ละ
ย่ค ที่แสดงผ่านข้อเขียนในเรื่องต่างๆ ที่ไหลเวียนอย่่ในสังคมจน
กลายเป็ นแหล่งอ้างอิงของผ้่คนในสังคมนั้ นๆ ที่นิยามความหมาย
และค่ณค่าของสรรพสิ่งจนนำาไปส่่ความมีและไม่มีอำานาจ
10

รศ.ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร ระบ่ถึงคำานิ ยามคำาว่า วาท


11

กรรมไว้ว่า เป็ นระบบและกระบวนการในการสร้างผลิต(constitute)


เอกลักษณ์(identity) และความหมาย (significance)ให้กับสรรพสิ่ง
ต่างๆ ในสังคมที่ห่อมห้่มเราอย่่ ไม่ว่าจะเป็ นความร้่ ความจริง
อำานาจ หรือตัวตนของเราเอง ซึ่งวาทกรรมยังมีหน้าที่ตรึงสิ่งที่สร้าง
ขึ้นให้ดำารงอย่่และเป็ นยอมรับของสังคมในวงกว้างด้วย ขณะ
เดียวกันก็ทำาหน้าที่ปิดกั้น หรือทำาให้เอกลักษณ์และควาหมายบาง
อย่างเกิดขึ้นหรือเลือนหายไป
ทั้งนี้ ในแต่ละย่ควาทกรรมในประเด็นต่างๆ ก็มีจ่ดกำาเนิ ดมา
จากล่่มคนต่างๆ ที่สังคมให้การยอมรับนั บถือ หรือ เชื่อว่าสามารถ
เข้าถึงความจริงในเรื่องนั้ นๆ ได้ ทำาให้คำาพ่ด ข้อเขียน ของคนกล่่ม

10
มิแช็ล ฟูโกต์. ร่างกายใต้บงการ. The Chapter “Les corps dociles” from surveiller et punir แปลโดย
ทองกร โภคธรรม. กรุงเทพฯ โครงการจัดพิมพ์คบ, 2547. น.10.
11
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. วาทกรรมการพัฒนา: อำานาจ ความรู้ ความจริง เอกลักษณ์ และความ
เป็ นอื่น. กทม. พิมพิค์ รัง้ ที่ 2 ศูนย์วิจัยและผลิตตำารา มหาวิทยาลัยเกริก. 2543. น. 19-20.
12

นั้ นเป็ นที่เชื่อถือ แต่ก็ข้ ึนอย่่กับสังคมในแต่ละย่คแต่ละสมัยว่าจะ


อ่ปโลกน์ยอมรับใครอย่างไรเป็ นสำาคัญ เมื่อเป็ นเช่นนี้ อัตตลักษณ์
ของบ่คคลที่มักก่อร่ปขึ้นด้วยวาทกรรมและปฏิบัติการต่างๆ ทาง
สังคมจึงเป็ นเพียงภาพลวงตาจึงเท่ากับว่า ผ้่ท่ีมีอัตตลักษณ์เป็ นของ
ตนเองเหมือนเป็ นผ้่กระทำา แต่แท้จริงแล้วก็เป็ นเพียงผ้่ถ่กกระทำา
จากผ้่ให้วาทกรรมนั้ นๆ
การพ่ดถึง กล่าวถึง หรือให้ข้อเท็จจริงถึงคนกล่่มต่างๆ ใน
ลักษณะต่างๆ จึงเท่ากับเป็ นกำาหนดตำาแหน่งแห่งที่ให้ผ้่คนนั้ นได้มี
อำานาจหรือไม่มีอำานาจในการดำารงอย่่ได้เช่นกันขึ้นกับว่า ผ้่ทพ
ี่ ่ด ผ้่ที่
กล่าว มีอำานาจและได้รบ
ั การยอมรับอย่างไร และนำาเสนอถึงผ้่อ่ ืน
อย่างไรจากม่มภายในของตนที่มองผ้่อ่ ืน หรือจากม่มภายในของตัว
ตนผ้่ท่ีพ่ดถึง วาทกรรมจึงมีอำานาจในตัวของมันที่สามารถไปสร้าง
เอกลักษณ์หรือตัวตนให้สรรพสิ่งผ่านระบบการสร้างจินตภาพ
(imagination)และภาพลักษณ์(image) ของผ้่คนจนเกิดร้่สึกเป็ น
จริงเป็ นจังในสิ่งนั้ น อันนั บเป็ นภาคปฏิบัติการของวาทกรรม
ตัวแบบในกำรศึกษำ
จากหลักเกณฑ์ความเป็ นข่าว แนวคิดเรื่องบทบาทของ
สื่อมวลชน การก่อร่ปของอัตตลักษณ์ ลักษณะของอำานาจและวาท
กรรม สามารถนำามาพัฒนาขึ้นเป็ นตัวแบบในการศึกษาวิเคราะห์
ความสัมพันธ์ทางอำานาจระหว่างสื่อ กับมอแกนได้ดังแผนภาพต่อไป
นี้

วาท
กรรม
อำำนำจ
13

สังคม
มอแกน กำรเมือง
อัต สื่อ
ตลักษณ์ บทบำท
วิถี เกณฑ์ข่ำว
วัฒนธรรม

แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ผ่านวาทกรรมและการโน้มนำาอำานาจ
ระหว่างมอแกนกับสื่อ
ตัวแบบนี้ แสดงให้เห็นว่า สื่อมีบทบาทเชื่อโยงชนเผ่ามอแกน
เข้าส่่ความมีและไม่มีอำานาจผ่านการสร้างวาทกรรมตามแบบแผน
ของเกณฑ์ความเป็ นข่าวที่เป็ นแนวปฏิบัติการสำาคัญของสื่อมวลชน
ข่าว ตลอดจนการกำาหนดเลือกบทบาทที่ม่งกระทำา ซึ่งนำาไปส่่การ
สร้างความรับจริงส่่การรับร้่เกี่ยวกับมอแกนของผ้่คนในสังคมในทาง
ที่อาจสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับวิถีวัฒนธรรมและความเป็ นจริง
ในท่กแง่ม่มของชนกล่่มนี้ อันจะนำาไปส่่การกำาหนดสถานะและ
อำานาจในสังคมให้กับตัวสื่อและชนชาวที่ถ่กเรียกว่า มอแกนด้วยเช่น
กัน
ขณะเดียวกันตัวแบบแสดงให้เห็นด้วยว่า ชนเผ่ามอแกนนั้ น
ดำารงอย่่ภายใต้อัตตลักษณ์และวิถีวัฒนธรรมของตนเองอันแตกต่างที่
สามารถนำาไปส่่การมีอำานาจที่อาจยึดโยงหรือไม่ยึดโยงกับสังคมได้
14

ด้วยการสร้างวาทกรรมให้กับตนเองแล้วสื่อสารผ่านสื่อออกส่่การรับร้่
ของผ้่คนได้เช่นกัน
หากมอแกนหรือแม้แต่ผ้่คนอื่นสามารถเข้าถึงสื่อ หรือใช้ส่ อ
ื เพื่อ
สร้างวาทกรรมให้กับตนเองในทางหนึ่ งทางใด อำานาจที่เป็ นไปก็จะ
เปลี่ยนแปลงไปโยงใยกับสภาพแวดล้อมบริบทของในสังคมด้วย

แง่มุมคนที่ถ้กเรียกว่ำมอแกนในสื่อ
จากการสำารวจข้อม่ลผ่านทางเว๊ปไซด์ต่างๆ พบว่า กล่่มนั ก
พัฒนาในพื้ นที่หรือนั กวิชาการเลือกใช้วิธีอธิบายเกี่ยวกับผ้่ท่ีถ่กเรียก
ว่ามอแกนโดยละเอียด โดยชี้ให้เห็นว่า มอแกนเป็ นคำาเรียกชนเผ่า
หนึ่ งของกล่่มคนที่เป็ นชาวเลอาศัยอย่่บริเวณริมฝั ่ งและเกาะในทะเล
อันดามันซึ่งมี 3 กล่่มใหม่ คือ หนึ่ ง) มอเก็น หรือมอแกน สอง) มอ
เกล็น หรือมอแกลน สาม) อ่รก
ั ลาโว้ย
ทั้งนี้ สำาหรับกล่่มที่เรียกว่ามอเก็นหรือมอแกน มี 2 กล่่มย่อย
คือ มอเก็ป่ลา อย่่แถบชายฝั ่ งประเทศพม่า รวมถึงจังหวัดระนอง
หม่่เกาะส่รน
ิ ทร์ สิมิลัน และมอเก็นตามับแยกเป็ นอีกกล่่มหนึ่ งอย่่
ตามเกาะพระทอง อำาเภอค่ระบ่ร ี จังหวัดพังงา และแถวอำาเภอ
ตะกัว่ ป่ า อำาเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา และต่อเนื่ องถึงอำาเภอ
ถลาง จังหวัดภ่เก็ต ซึ่งมีแง่ม่มต่างๆ ที่ได้นำาเสนอไว้ในสื่ออย่าง
กว้างขวางต่อเนื่ องโดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังการเกิดเหต่ธรณี พิบัติ
คลื่นยักษ์สึนามิ พอจำาแนกได้ดังนี้
มอแกนมีพวกเดียวและหลายพวกอันแตกต่างจากคนอื่น
การนำาเสนอเรื่องราวของมอแกนโดยสื่อมวลชนมีท้ ังที่นำาเสนอ
ให้เห็นชัดเจนว่ามีกล่่มมอแกนกล่่มเดียว และกล่่มที่หลากหลาย ซึ่ง
15

ไม่ว่านำาเสนอในลักณะใด สื่อได้ช้ ีให้เห็นว่า วิถีของกล่่มคนที่เรียกว่า


มอแกนนั้ นมีวิถีชีวิตที่แตกต่างจากคนทัว่ ไป แสดงออกได้ในลักษณะ
นี้
“...หลังคลื่นยักษ์ถล่มอันดามัน ชาวมอแกนในอันดามันได้ปราก
ฎตัวให้สังคมไทยได้รับร้้ชัดขึ้น เช่นเดียวกับชาวอุรักลาโว้ย ซึง่
ก่อนหน้านี้ น้อยคนนักที่จะร้้จัก นอกจากประมงท้องถิ่นที่เหมา
รวมเรียกพวกเขาว่า “ชาวเล” เพราะเห็นว่าชนทั้งสองกลุ่มมีวิถี
ชีวิตร่อนเร่อย่้ในทะเลเหมือนกัน ทั้งๆ ที่ความจริง ชาวมอแกน
และอุรักลาโว้ยมีภาษาและวัฒนธรรมหลายอย่างที่แตกต่างกัน...”

www.matichon.co.th(2007/01/07)
เข้าเมื่อ 1 ก.ย. 50

“มอแกนเป็ นชาวเลใช้ชีวิตและเดินทางอย่้ตามเกาะต่างๆ ใน
ทะเลอันดามัน มีวิถีชีวิต
มีภาษา และวัฒนธรรมที่ต่างจากผ้้คนส่วนใหญ่ในสังคมไทย
ก่อนเกิดสึนามิชาวมอแกน
มักจะมีวิถีชีวิตที่เร่ร่อนอย่้ตามหม่้เกาะต่างๆ ระหว่าง ไทย-พม่า
และหลังจากเกิดสึนามิ
ทางอุทยานแห่งชาติหม่้เกาะสุรน
ิ ทร์ได้สร้างบ้านที่ค่อนข้างถาวรให้
อย่้ในบริเวณอ่าว
บอน ตำาบลพระทอง อำาเภอคุระบุร ี จังหวัดพังงา...”
...โดยเฉพาะวิถีชีวิตที่คงจะต้องเปลี่ยนและไม่อยากให้อนุรักษ์ไว้
คือ การถ่ายอุจจาระ
16

ริมหดาในยามเช้าของผ้้ใหญ่ท้ ังๆ ที่ขณะนี้ ได้มีส้วมให้แล้วจำานวน


3 จุดแต่คงจะต้อง
ค่อยๆ เปลี่ยนแปลง...” เดลินิวส์ 14 มิ.ย. 2549.
มอแกนมีคุณภำพชีวิตและวิถีที่ยังสับสน
ในการนำาเสนอเกี่ยวกับวิถีชีวิตปกติของชาวมอแกนมีท้ ัง
ลักษณะที่โน้มน้าวไปในทางยกย่องเชิดช่และด่แคลนอย่่ในที แตก
ต่างกันไปตามแต่กล่่มผ้่เข้ามาทำาการส่งสาร อาทิ

“ผ้้ชายมอแกนขมักเขม้นทำาเรือขุดขนาดเล็กที่เรียกว่า “ฉ่า
ปั น”..เครื่องมือหลักคือ ขวานและสิ่วเท่านั้น ไม่มีเครื่องไฟฟ้า
.มอแกนเชี่ยวชาญการว่ายนำ้าและดำานำ้า ผ้้ชายและหญิงดำานำ้าได้
ทั้งลึกและทน มอแกน ดำานำ้าเพื่อแทงปลา งมหอย ปลิงทะเล
และสัตว์ทะเลอื่นๆ อุปกรณ์ท่ีใช้ในการดำานำ้าก็มีเพียงแว่นดำานำ้าค่้
เล็กๆ ฉมวก และถุงตาข่ายที่ใช้ใส่สัตว์ทะลที่จับได้...แม่เฒ่ามอ
แกนแม้ว่าจะมีอายุมากแล้วแต่ก็ยังขยันขันแข็งออกเก็บอาหาร
ตามชายหาดและแนว
ปะการัง...”www.cusri.chula.ac.th/ada,am เข้าเมื่อ 1
ก.ย.50

ขณะที่ข้อม่ลต่างเว็ปไซด์กลับระบ่ไว้ในอีกทางหนึ่ ง
“..มอแกนส่วนใหญ่มีอายุขัยไม่ยืนยาวนัก การติดสารเสพติด
เช่นยาเส้น เหล้าขาว และสารกระตุ้นอื่นๆ ซึง่ ต้องเพิ่มปริมาณ
การใช้มากขึ้นๆ เพื่อให้ทำางานหนักและอดทนได้ย่ิงขึ้น ทำาให้
17

ผ้้ชายมอแกนซึ่งต้องออกทำามาหากินทางทะเลเสียชีวิตไปเป็ น
จำานวนมาก และทำาให้ประชากรหยิ.ชายมอแกนมีสัดส่วนที่ไม่
สมดุล นอกจากนั้นยังทำาให้หญิงหม้ายมีภาระต้องเลี้ยงด้สมาชิก
ในครัวเรือนเพิ่มขึ้น ...”
.www.friendtravelthai.com/to_be
on_morgan.thm. เข้าเมื่อ 1 ก.ย. 50

อย่างไรก็ตามสิ่งที่ได้รบ
ั การกล่าวขานถึงโดยรวมสำาหรับมอ
แกน คือเรื่องของความสามารถที่เหนื อมน่ ษย์ป่ถ่ชนทัว่ ไป กับ
ปั ญหาข้อแย้งในการดำาเนิ นวิถีชีวิต
มอแกนเก่งกว่าคนธรรมดา
สื่อได้นำาเสนอเกี่ยวกับวิถีชีวิตชาวมอแกนนอกจากเป็ นไปใน
ทางที่แปลกแตกต่างจากวิถีชีวิตคนเมืองแล้ว จ่ดสำาคัญยังเน้นถึง
ความสามารถในทาวทะเลของชาวมอแกน ที่มักนำาเสนอผ่านชนเผ่า
มอแกนที่อ่ทยานแห่งชาติหม่่เกาะส่รน
ิ ทร์เป็ นสำาคัญ และความ
สามารถพิเศษนี้ ได้รบ
ั การยกย่องผ่านสื่อในลักษณะบอกต่อ อ้างถึง
อย่างชนิ ดที่เรียกว่าเหนื อมน่ ษย์ด้วยเมื่อเกิดเหต่คลื่นยักษ์สึนามิ
อาทิ
เก่งแบบคนเมืองทำาไม่ได้ ก่อนเกิดเหต่การณ์สึนามิ
“...ดีนะคนพาไปส่งเป็ นลุงซาลามะ เพราะหน้ามรสุมอย่างนี้ ไม่มี
ใครเขาเอาเรือเล็กออก
กันหรอกมันอันตราย แต่ว่าลุงซาลามะแกเชี่ยวทะเลมาก แต่ว่า
วันนั้นแกก็แย่เหมือนกัน เพราะกว่าแกจะขับเรือหางเลาะคลื่น
18

จากเกาะไปฝั ่ งได้กินเวลาไปกว่า 12 ชัว่ โมง ได้ข่าวว่าเพื่อนคุณอ๊


วกตลอดทางเลย...

...หากด้ลุงซาลามะจากภายนอก ก็จะเดาไม่ออกเลยว่าแกเป็ นก้ร้


แห่งท้องทะเลชนิ ดที่หาตัวจับยากในเมืองไทย และเป็ นผ้้นำาเผ่า
มอแน “ยิปซีแห่งท้องทะเล” กล่ม
ุ สุดท้ายของเมืองไทย”

“...ฟ้าอย่างนี้ ฝนจะตกก็ประมาณทุ่ม 2 ท่ม


ุ นัน
่ แหละ แต่ว่า
หลานกลับไปโรงเรียนอาบนำ้า อาบท่าก่อนก็ดี เพราะมานี่ ยังมได้
พักผ่อน แล้วหลังฝนตกลุงจะตามไป ฟ้าอย่างนี้ ฝนตกพักเดียว
แหละ...ขากลับผมคาใจยิ่งนัก เพราะสงสัยเหลือเกินว่าลุงซา
ลามะแกเป็ นขงเบ้งหรือไงที่หยัง่ ร้้ฟ้าดินว่าฝนจะตกช่วงไหน แถม
ยังตกไม่นานเสียด้วย...ถึงแม้ว่าลุงซาลามะจะไม่ได้เป็ นหัวหน้า
เผ่ามอแกน แต่ว่าลุงแกก็เป็ น the old man and the sea ใน
หัวใจผม...”
www.manager.co.th/travel/viewNews.
เข้าเมื่อ 2 ก.ย.50.

หลังเกิดเหตุการณ์ มีการกล่าวถึงความพิเศษของชาวมอแกน
อย่างมาก โดยมีการขยายความต่อเนื่ องจากสื่อหนึ่ งไปยังอีกสื่อหนึ่ ง
เริม
่ จากคำาบันทึกให้การของ สราวุฒิ มาตรทอง นักแสดงทีม
่ ีช่ ือเสียง
ระบ่ในส่วนนี้ ไว้ว่า
19

“...มอแกนอย่้กับนำ้ามาทั้งชีวิต พอเกิดความเปลี่ยนแปลงแบบนี้
เขาเลยกลัว สักพักนำ้าก็
ขึ้น ผมไมได้คิดว่าจะมีอะไรผิดปกติ ก็เหมือนนำ้าขึ้นธรรมดา ก็
ขึ้นไปถ่ายร้ปบนบ้านมอแกนบ้าง นำ้าเริม
่ ขึ้นถึงเอวแล้ว ผมกับนา
ธาน (นาธาน โอมาน) ยังเดินถ่ายร้ปกันอย่้ ตอนนั้นมอแกนวิ่ง
ขึ้นเขากันหมดแล้ว พอนำ้าขึ้นเร็วก็มีคนบอกว่า อ้นหนี เร็วๆ วิ่ง
เร็วๆ ผมเดินไปอย่้ตรงที่ส้งหน่อยเพราะนำ้ายังมาไม่เร็วมาก จน
นำ้าไล่มาส้งขึ้นเรื่อน จนท่วมบ้านมอแกนซึง่ ใต้ถุนส้งมาก
ประมาณ 15 นาทีน้ ำาก็ลด...”
www.sarakadde.com/web/modules.php
เข้าเมื่อ 2 ก.ย. 50

หนั งสือพิมพ์คมชัดลึก ฉบับวันจันทร์ท่ี 3 มกราคม พ.ศ.


2548 (หนึ่ งสัปดห์หลังเกิดเหต่การณ์สึนามิ)หน้าไลฟ์ สไตล์ พาดหัว
ข่าวไว้ว่า “ภ้มิปัญหาท้องถิ่น มอแกน ช่วยชีวิตจากคลื่นยักษ์”ซึ่งระบ่
ว่า สราว่ฒิ มาตรทองและเพื่อนรอดตายจากสึนามิเพราะ
สัญชาตญาณของชาวเลมอแกนที่ช่วยให้เขาวิ่งหนี ข้ ึนเขาได้ทัน รวม
ทั้งชาวมอแกนกว่าร้อยที่ไม่มีใครเสียชีวิต
นอกจากนั้ นยังมีการรายงานข่าวเกี่ยวกับความสามารถพิเศษ
ของชาวมอแกนนี้ อย่างต่อเนื่ อง เรื่องราวนี้ ได้กลายเป็ นข้อม่ลสำาหรับ
อีกหลายนั กเขียนที่กล่าวถึงความพิเศษของชาวมอแกน อาทิ บท
ความในเนชัน
่ ส่ดสัปดาห์ปีที่ 13 ฉบับที่ 658 วันที่ 10 มกราคม
พ.ศ. 2548 ได้ช้ ีให้เห็นว่า ชาวมอแกนมีวิถีชีวิตที่พิเศษใกล้ชิด
20

ธรรมชาติแต่แตกต่างจากคนทัว่ ไปจนสามารถรอดชีวิตจากคลื่นสึนา
มิได้ เช่นเดียวกับสัตว์ป่าต่างๆ ในอ่ทยานแห่งชาติยาล ประเทศศรี
ลังกาที่อย่่ในพื้ นที่ประสบภัยไม่พบสัตว์ถ่กคลื่นยักษ์ทำาลายอย่าง
มน่ ษย์เลย

“วิถีชาวมอแกนช่วยพ้นมหันภัย “สึนามิ” วิถีชีวต


ิ ที่ต้องอาศัยอย่้
กินกับนำ้า บวกกับคำาบอกเล่าจากมอแกนรุ่นป่ ้ย่าส่้ล้กหลานรุ่น
แล้วรุ่นเล่า ให้ตระหนักว่า “นำ้าลดเร็วก็จะมาเร็ว ลดมากก็
มากมา” จนทุกคนจดจำาฝั งใจ ณ วันนี้ มันได้ช่วยให้ชาวมอแกน
บนหม่้เกาะสุรน
ิ ทร์ รอดพ้นจากภัยพิบัติน้ ันมาได้อย่าง
หวุดหวิด...”(คำาใหสัมภาษณ์ของซาลามะ)

“...ก่อนหน้านี้ เพียง 2 วัน ผ้้ใหญ่บ้านมอแกนผ้้น้ ี ได้ฝันเห็นลม


เหลืองพัดพาหม่้บ้านมอแกนพังราบเป็ นหน้ากลอง เพื่อล้างสิ่งไม่
ดีออกจากหม่้เกาะให้หมด พอร้้สึกตัวตื่นขึ้นมาก็ตกใจ คิดว่าเป็ น
เรื่องจริงจึงนำาความฝั นมาเล่าให้ล้กเมียฟั ง โดยล้กชายก็บอกว่า
ฝั นเหมือนกัน เลยบอกให้ทุกคนระวังตัวไว้ อาจจะเกิดเหตุร้าย
ได้ จะเป็ นเพราะความประจวบเหมาะหรืออะไรก็ตาม แต่
อีก 2 วันถัดมา ก็เกิดคลื่นยักษ์สึนามิถล่มชายฝั ่ งทะเลอันดามัน
รวมทั้งหม่้บ้านมอแกนบนหม่้เกาะสุรน
ิ ทร์ด้วย...”
www.bangkokbiznew.com/2004
special/sunami/scoop เข้าเมื่อ 2 ก.ย.50
21

“...มีคนเล่าว่า เมื่อรุ่งเช้าวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2548...นำ้า


ทะเลลดลงมากผิดปกติ นักท่องเที่ยวมุงด้ด้วยความตื่นเต้น แต่
ชาวมอแกนไม่ เสียงตะโกนโหวกเหวกให้รบ
ี ขึ้นเขา ทุกคนปฏิบัติ
ตาม นักท่องเที่ยวที่ยังงงๆ แต่เมื่อทุกคนวิ่งก็จำาต้องวิ่งด้วย วิ่ง
ไปข้างหน้าโดยไม่ร้ว่าวิ่งทำาไม อีกเพียงคร่้เดียว...คลื่นบ้าระหำ่าก็
สาดซัดเข้ามาราวโกรธเกรี้ยวต่อสิ่งกีดขวาง ทุกอย่างพังทลายหาย
ไปในชัว่ เพียงเสี้ยวนาที...”
จากบทความเต่าทะเล บทเรียนแห่งทะเลคลัง่ เมื่อ 20
มิ.ย. 2548
www. 9dern.com/rsa/view
เข้าเมื่อ 2 ก.ย. 50.
“...ชาวมอแกนกลุ่มนี้ ได้กลายเป็ นที่กล่าวขานกันมากยิ่งขึ้น
หลังจากที่สามารถหนี เอาตัวรอดจากภัยพิบัติคลื่นยักษ์สึนามิถล่ม
ชายฝั ่ งทะเลอันดามัน เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ได้อย่าง
หวุดหวิด เพราะชาวมอแกนได้สังเกตเห็นถึงความเปลี่ยนแปลง
ของท้องทะเลก่อนที่จะเกิดคลื่อนยักษ์ จึงได้พากันหลบหนี ข้ ึนไป
อย่้บนเขาส้ง แต่ก็ต้องพบกับความยากรำาบากเพราะที่อย่้อาศัยถ้ก
คลื่นยักษ์พัดถล่มพังเสียหายจนหม...”
กล่่มศึกษาชาติพันธ์่และการ
พัฒนา
www.sri.cmu.ac.th/ethnic/editwe
b เข้าเมื่อ 2 ก.ย. 50.
22

มอแกนผู้ประสบชะตากรรมและไม่ได้รับการยอมรับ
แม้ว่าในสื่อต่างๆ มีการนำาเสนอความสามารถเหนื อคนเมือง
ทัว่ ไปของชาวมอแกน แต่
ในอีกทางหนึ่ ง ได้มีการนำาเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับปั ญหาในการดำารง
อย่่ของคนกล่่มนี้ ในหลายประเด็น ได้แก่ ปั ญหาที่ดินทำากิน การหา
เลี้ยงชีพ การเป็ นผ้่ท่ีไร้สัญชาติ เป็ นต้น ดังตัวอย่างต่อไปนี้

“พวกทางการเขามักจะบอกว่า ที่สัตว์น้ ำาเหลือมันน้อยลงเพราะ


พวกเรา จับไปกินเหมด เฮ้อ...ลุงก็ยังงงๆ เพราะตอนที่ลุงยัง
เล็กๆ พวกเราก็จับป้ ปลา กินกันมาตลอด มันก็เยอะอย่้เหมือน
เดิม เพราะพวกมอแกนจะจับกินป้ปลากินเฉพาะตอนที่หิว...”

“ใช่เวลามีอะไรมาหาเรา แต่เวลาลุงขอบัตรประชาชนไปตั้งหลาย
ครั้งแล้ว ไม่เห็นมีใครสนใจเลย ทั้งๆ ที่ลุง ก็เป็ นคนไทย เกิด
เมืองไทย และโตเมืองไทยมาเป็ นสิบๆ ปี แล้ว...”
www.manager.co.th อ้างแล้ว
“เสียงเพรียกจาก “ยิปซีทะเล” วันถ้กไล่ที่ให้นายทุนทำารี
สอร์ต...สุวัฒน์ คงแป้น
23

จากพอช.องค์การอิสระมหาชนที่มีบทบาทในการสร้างบ้านพัก
และฟื้ นฟ้อาชีพเหยื่อ
สึนามิ มีเรื่องเล่าของ ยิปซีทะเล หรือไทยใหม่ ในปั จจุบัน ...
...ด้วยเหตุท่ีไทยใหม่ไม่ค่อยสนใจหรือขาดความเข้าใจเกี่ยวกับ
การถือครองที่ดินตามกฎหมายทำาให้ท่ีดินส่วนใหญ่ท่ีไทยใหม่ (ซึ่ง
หมายถึงชาวเลที่รวมชาวมอแกนอย่้ด้วย..ผ้้เขียน) สร้างบ้านปั ก
ฐานอย่้ เป็ นที่ดินริมฝั ่ งทะเลที่เป็ นที่ดินสาธารณะบ้าง หรือมีการ
ออกเอกสิทธิให้กับนายทุนทับที่ดินที่ชาวเลอาศัยอย่้บ้าง ทำาให้
สภาพชาวเลกลายเป็ นผ้้บุกรุกไปโดยปริยาย
www.manager.co.th/home/viewnews.เข้าเมื่อ 3
ก.ย.50

“...ปั ญหาเกิดขึ้นในลักษณะเดียวกันทั้งในชาวมอแกนและชาว
เขาดั้งเดิม ก็คือ บรรพบุรุษของเขาที่เกิดในไทยไม่ตระหนักความ
สำาคัญในการแจ้งการเกิดของบุตรต่อเจ้าหน้าที่ของกรมการ
ปกครอง หรือในบางกรณี ก็อาจเห็นความสำาคัญแต่ก็ทำาไม่ได้ใน
ความเป็ นจริงเพราะอย่้ห่างไกลมากจากอำาเภอ หรือเจ้าหน้าที่รัฐ
กลับปฏิเสธที่รับแจ้งการเกิดของพวกเขาเหล่านี้ ...”
www.seub.or.th/ept เข้าเมื่อ 3
ก.ย.50
“สึนามิทำา"มอแกน"อดโซ 2 ปี ขายลูกยังชีพ-ซัดมีแต่"ขี้
ฮก"...ขณะนี้ ความเป็ นอย่้ของชาวมอแกน 75 ครอบครัวกว่า
300 คนตกอย่้ในสภาพยากลำาบาก เนื่ องจากหลังคลื่นยักษ์จับ
24

ปลาได้น้อยมาก ทำาให้ไม่มีรายได้พอที่จะไปซื้ อข้าว หลาย


ครอบครัวหาทางออกด้วยการไปเป็ นขอทานในตัวเมือง
จ.ระนอง... แต่ละกลุ่มต่างตกปากรับคำาว่าจะหาทางช่วยเหลือ แต่
ผ่านมาเกือบ 2 ปี ท่กอย่างยังตกอย่่ในสภาพเลวร้ายยิ่งกว่า
เดิม...”

"...ขณะนี้ มีชาวมอแกนขายล้กไปแล้ว 8 คน ในราคาคนละ 500


บาท หรือ 800 บาท แล้วแต่ความน่ารัก หากผิวขาวก็ราคาแพง
หน่อย" นางเนาวนิ ตย์กล่าว และว่า เด็กชาวมอแกนในหม่้บ้าน
ทั้งสิ้น 132 คนต่างขาดแคลนทุกอย่างแม้กระทัง่ เสื้ อผ้า ใน
จำานวนนี้ 24 คนเป็ นเด็กกำาพร้า หลายคนเป็ นโรคผิวหนัง บาง
คนขาลีบโดยไม่ทราบสาเหตุ แต่ก็ไม่ได้รับการด้แลด้านสุขภาพ
อนามัย...”มติชน วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ปี ที่ 29 ฉบับ
ที่ 10516 ถ่กบันทึกไว้ในศ่นย์ประสานงานเพื่อท้องถิ่น
www.matichon.co.th/matichon/matichon_de
tail. เข้าเมื่อ 3 ก.ย. 50

“บันทึกชะตากรรม......มอแกน...บ่ายวันที่ 24 พฤษภาคม
2550 ล้ก เมีย ครอบครัวของมอแกนบ้านเกาะช้าง ต.เกาะ
พยาม และบ้านเกาะเหลา ต.ปากนำ้า อ.เมือง จ.ระนอง ได้รับ
ข่าวร้ายจากนายทุนเจ้าของเรือที่พาสามี พ่อของเขาไปทำางานใน
เขตน่านนำ้าต่างประเทศว่า เรือถ้กจับที่ประเทศอินเดียพร้อม
แรงงานในเรือรวม 21 คนซึ่งทั้งหมดเป็ นชาวมอแกน มีเพียงไต๋
25

เรือและช่างเครื่องสองคนที่เป็ นคนไทย ในข้อหารุกลำ้าน่านนำ้าโดย


ไม่ได้รับอนุญาต...”
“... ชาวมอแกนที่เป็ นล้กเรือนั้นไม่มีบัตรประชาชนไทย ซึ่งตาม
กฎหมายถือว่าไม่ใช่คนไทย การประสานงานเพื่อขอความช่วย
เหลือเบื้ องต้นจากภาครัฐของไทยเองก็เป็ นเรื่องที่ยากลำาบากตาม
ไปด้วยด้วยเหตุผลด้านสถานภาพบุคคล ดังจะเห็นได้จาก
ประสบการณ์ในอดีตเคยมีมอแกนเกาะเหลา ไปทำางานระเบิดปลา
ให้นายทุนในน่านนำ้าของประเทศอินเดียและถ้กทหารอินเดียจับ
ได้ ในครั้งนั้นทั้งหมดถ้กจำาคุกที่อินเดียเป็ นเวลาถึง 6 เดือนจึงได้
อิสรภาพและเดินทางกลับประเทศ โดยที่ความช่วยเหลือ”
จากเว็ปของไทยเอ็นจีโอ
www.thaingo.org/writer/view.ph
p เข้าเมื่อ 3 ก.ย. 50

จนถึงวันนี้ มอแกนได้รบ
ั การกล่าวขานเรื่อยมาโดยรวมแม้ว่า
จะมีชาวมอแกนอย่่หลากหลายถิ่นฐาน หลายอาชีพและหลากวิถีชีวิต
แต่ภาพลักษณ์ของมอแกนตั้งแต่ในช่วงก่อนเกิดภัยพิบัติแห่งหม่่
เกาะส่รน
ิ ทร์ อันเป็ นแหล่งท่องเทีย
่ ว และเป็ นแหล่งเกิดตำานานมอ
แกนเก่งกล้าเหนื อธรรมชาติช่วยคนให้รอดพ้นสึนามิยังได้รบ
ั การ
กล่าวขวัญถึงแม้ว่าช่วงสึนามิมีชาวมอแกนเสียชีวิตจำานวนมากใน
หลายพื้ นที่ ปั จจ่บันยังมีการเสนอข่าวต่างๆ หากมีอะไรเกี่ยวกับมอ
แกนขึ้นมา มีการเข้ามาผลิตภาพยนตร์เกี่ยวกับมอแกน มีการนำา
เสนอข่าวสารมอแกนในแง่ม่มต่างๆ ที่เกี่ยวโยงกับสึนามิและความ
สามารถพิเศษในด้านสัญชาติญาณ ภ่มิปัญญาแห่งท้องทะเล พร้อมๆ
26

ไปกับการนำาเสนอปั ญหาต่างๆ อย่างต่อเนื่ องโดยฝ่ ายต่างๆ ในนาม


ของ ชาวเล มอแกน ผ้่มีแบรนด์ในด้านความเชี่ยวชาญในท้องทะล
แต่ยังคงถ่กกระทำาจากอำานาจรัฐอำานาจท่นอย่่อย่างต่อเนื่ อง

ควำมเป็ นแทูของคนที่ถ้กเรียกว่ำ มอแกน


จากการรวมรวมตัวอย่างข้อเขียน และงานการสื่อสารผ่านตัว
อักษรต่างๆ ที่ได้นำาเสนอแง่หลากแง่ม่มของชีวิตชนเผ่าที่ถ่กคนนอก
เรียกว่า มอแกน ดังที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ ผ้่ศึกษาวิจัยได้พยายามเข้า
ถึงสถานะสภาพความเป็ นจริงของชนเผ่าโดยได้เข้าไปสัมภาษณ์พ่ด
ค่ยกับกล่่มชาวมอแกน ซึ่งโดยทัว่ ไปกล่่มชาติพันธ์่ท่ีถ่กเรียกมอแกน
มักไม่พ่ดค่ยในรายละเอียดกับคนแปลกหน้า ยกเว้นดังที่พบในสื่อที่
มีคนอย่าง ซาลามะ หรือซาลาเมา ผ้ไ่ ด้รบ
ั การสถาปนาจากที่ทำาการ
อ่ทยานหม่่เกาะส่รน
ิ ทร์ให้เป็ นผ้่แทนของชาวมอแกนที่น้ ั นทำาการ
สื่อสารบอกกล่าวกับชาวอื่นต่อในเรื่องราวของชาวมอแกน
ขณะที่ภาพลักษณ์ของมอแกนที่ถูกสื่อสารผ่านสื่อต่างๆ ว่าเป็ น
ชาวเลชาวนำ้าอันยิ่งใหญ่ เปี่ ยมล้นด้วยภูมิปัญญาเหนื อกว่าธรรมชาติ
แต่สงิ่ ที่ผู้วิจัยได้พบปะพูดคุยกับกลายเป็ นสิ่งที่มีความลดน้อยถอยลง
อยู่มากจากสิ่งที่รับรู้ผ่านสื่ออยู่มาก
ผ้ว่ ิจัยได้เข้าไปพบปะพ่ดค่ยกับ อรวรรณ หาญทะเลย อาย่ 21
ปี ซึ่งเป็ นแกนนำาเยาวชนของกล่่มชนมอแกนที่หม่่บ้านทับตะวัน
12

อำาเภอตะกัว่ ป่ า จังหวัดวพังงา ซึ่งล่กขึ้นมาเป็ นกล่่มแกนสำาคัญใน


การพัฒนาศ่นย์วัฒนธรรมมอแกนทับตะวัน และผ้่ประสานงานหลัก

12
สัมภาษณ์ อรวรรณ หาญทะเล ณ หมู่บ้านทับตะวัน อ.ตะกัว่ ป่ า จ.พังงา 30 สิงหาคม พ.ศ. 2550.
27

ของการดำาเนิ นการจัดตั้งวิทย่ชมชนคนมอแกนบ้านทับตะวัน โดยมี


รายละเอียดดังนี้
อรวรรณ ได้อธิบายว่า แท้จริงแล้วชนชาวมอแกนซึ่งมี
กระจัดกระจายอย่่หลายกล่่มในแถบทะเลอันดามันทั้งในหม่่เกาะและ
ชายฝั ่ งหลายจังหวัดของไทยต่างต้องมีวิถีชีวิตเหมือนชนกล่่มน้อย
ทัว่ ไปในสังคมไทย ที่ไม่มีใครให้ความสำาคัญแถมยังได้รบ
ั การด่ถ่กต่อ
เนื่ องยาวนานในฐานบ่คคลแปลกประหลาด ดังคำากล่าวของเธอว่า
“แต่ก่อนหน่ อย่่น่ี เดินไปเรียนเสนาน่ ก่ลที่ตะกัว่ ป่ านี่ โดนเด็กคน
อื่นขวางก้อนหินใส่ เพื่อนบางคนก็โดนนำ้าแข็งขวาง ไปตลาด
ค่ยกับแม่ พวกแม่ค้าเขาก็ว่า ไอ้พวกพม่าก็มี มอแกนไม่ใช่
ไทย บางทีร้่สึกเหมือนไม่ใช่คน”
อรวรรณ กล่าวว่า เหต่การณ์สึนามิทำาให้อย่างน้อยวิถีชีวิตของ
กล่่มชนชาวมอแกนที่มีกันอย่่
กว่า 50 ครอบครัวที่บ้านทับตะวันได้รบ
ั การยอมรับมากขึ้นจากสังคม
ภายข้างเคียงโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากภาครัฐ คือ ทางที่ว่าการอำาเภอ
ที่แต่ก่อนมีอะไรไม่เคยเปิ ดรับฟั ง หรือให้ส่งิ ใดกับชาวมอแกนที่นี่
จนเมื่อมีสึนามิ คนพูดถึงว่ามอแกนเก่ง รอดตาย ช่วยคนไว้ได้อีก เขา
ก็ยอมรับเรามากขึ้น แต่ก็ไม่ได้ให้สิทธิอะไรมากขึ้นนัก เพียงแต่เด็กๆ
ไม่ถูกรังเกียจเหมือนแต่ก่อน เพราะหน่วยงานต่างๆ มาช่วยเรามาก
แต่ปัญหาอื่นๆ ก็ยังมีอย่่มาก เพียงแต่ว่ามีโอกาสพ่ดมากขึ้นเท่านั้ น
เอง
28

“จริงๆ มอแกนอย่างเราบรรพบ่ร่ษก็สอน ก็บอกเรื่องพวกนี้ ว่า


นำ้าลดก่อนมาก คลื่นใหญ่จะมาอะไรทำานองเนี่ ย แต่ไม่ใช่ว่า
มอแกนเชื่อกันหมด ก็แล้วแต่คน มอแกนไม่ใช่อย่่กับแต่ทะเล
เด็กร่่นใหม่ก็ไปโรงเรียน ร่่นกลางก็รบ
ั จ้างเป็ นช่าง เป็ น
แรงงานทำาในเมืองมานานแล้วไม่น้อย ที่อย่่กับทะเลก็สว่ นหนึ่ ง
พวกนี้ ค่อยร้่ดีจริง แต่ทัว่ ไปมันไม่ใช่มอแกนทั้งหมดที่เขารับร้่
กันหรอกพ่ดจริงๆ มอแกนตอนสึนามิตายก็เยอะเหมือนคน
อื่น”

แม้ว่ากล่่มชนมอแกนซึ่งรวมถึงที่บ้านทับตะวันได้รบ
ั ความเสีย
หายอย่างหนั กจากคลื่นยักษ์สึนามิ แต่ก็ได้รบ
ั ความช่วยเหลืออย่าง
มากจากองค์กรภายนอกเพราะการนำาเสนอของสื่อที่ถือว่ามอแกน
แปลกแตกต่างจากผ้่อ่ ืน และยังคงมีปัญหาในเรื่องความไร้สัญชาติ
และเอกสารสิทธิในที่ดินทำากินในฐานชนกล่่มน้อย ดังที่กล่่มมอ
แกนทับตะวันได้รบ
ั การช่วยเหลือจากหลายองค์กร อาทิ ม่ลนิ ธิเด็ก
ม่ลนิ ธิช่มชนไท องค์กร Save the Children สำานั กงานพัฒนา
องค์กรช่มชน (พอช.)
อย่างไรก็ตาม กล่่มชนมอแกนที่บ้านทับตะวันแห่งนี้ ยังคงมี
ปั ญหาขัดแย้งในเรื่องสิทธิทำากินที่กล่่มมอแกนไม่มีโฉนดหรือเอกสาร
สิทธิในการครอบครองพื้ นที่แม้ว่าจากคำาบอกเล่าจะยืนยันหนั กแน่น่า
ว่ากล่่มชนมอแกนได้อาศัยที่อย่่ท่ีน่ี มาก่อนเหต่การณ์สึนามิเป็ นเวลา
หลายชัว่ อาย่คน แต่ข้อขัดแย้งยังคงอย่่ในศาลที่ฝ่ายเจ้าที่ดินที่ไม่ใช่
29

มอแกนมีโฉนดและเอกสารสิทธิถ่กต้องตามกฎหมายไทยในการ
ครอบครงอแผ่นดินที่ชาวมอแกนอย่่ค่อนข้างชัดเจน
ศิรพ
ิ ล สัจจาพันธ์่ ผ้่ประสานงานเครือข่ายวิทย่ช่มชนภาคใต้
13

กล่าวว่า กล่่มคนชาวมอแกนที่หม่่บ้านทับตะวันแห่งนี้ ก็เหมือนกับ


ชาวมอแกนอีกหลายทีท่ีถ่กด่หมิ่นด่แคลน จนกระทัง่ มีเหต่การณ์สึ
นามิ เขาจึงได้รบ
ั สิทธิจากการกล่าวถึงมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งจาก
สื่อ ถ้าสื่อไม่ได้นำาเสนอเรื่องราวของกล่่มคนเหล่านี้ พวกเขาก็ถ่ก
ปล่อยปะละเลยตามยถากรรมเหมือนที่ผ่านมา
แต่ส่ิงที่ส่ ือนำาเสนอมันก็ไม่ใช่ท้ ังหมด จริงๆ วิถีชีวิตของมอ
แกนก็เป็ นกล่่มที่มีวัฒนธรรมรวมหม่่เหมือนคนไทยสมัยโบราณ
มากกว่า เป็ นคนที่อย่่กับธรรมชาติ หาอย่ห
่ ากินยังชีพกันไป ซึ่งก็มี
คติคำาสอนมากมายเหมือนกัน
“พอสื่อพ่ดถึงมอแกนกันเยอะเขาก็ได้รบ
ั ความสนใจ ได้รบ

โอกาสเยอะขึ้นจริง แต่ปัญหาอื่นก็ยังมีอย่่เยอะต้องส้่กันต่อ
เราก็ได้แต่หวังว่า วิทย่ช่มชนที่เราเอามาให้จะได้เป็ นเครื่องมือ
สื่อสารบอกกล่าวด้วยตัวของเขากันเอง แต่ก็ไม่ร้่ว่าจะไปได้แค่
ไหน” เขากล่าว
สำาหรับมอแกนบ้านทับตะวันวันนี้ วิทย่ช่มชนกำาลังเริม
่ ออก
อากาศเรื่องราวของพวกเขาเอง ตามคำาสัมภาษณ์ของอรวรรณได้แต่
หวังว่าจะเป็ นเครื่องในการสื่อกล่าวเรื่องราวของมอแกนที่ต้องการ
สื่อสารกับคนข้างในมอแกนและกับสังคมภายนอกด้วยตัวมอแกน
เอง
บทวิเครำะห์ว่ำดูวยขูอคูนพบควำมสัมพันธ์อำำนำจ สื่อ และมอแกน

13
สัมภาษณ์ศิริพล สัจจาพันธ์ุ ณ จังหวัดกระบี่ 31 สิ่งหาคม พ.ศ. 2550.
30

จากการรวบรวมข้อม่ลเกี่ยวกับกล่่มชนมอแกนทั้งจากเนื้ อหา
การนำาเสนอผ่านสื่อ และการข้อม่ลจากการสัมภาษณ์แกนนำาดังที่ได้
กล่าวมาแล้ว พบว่า ภาพลักษณ์ของมอแกนผ่านสื่อกับสภาพความ
เป็ นจริงในวิถีชีวิตชาวมอแกน มีความหลากหลายแตกต่างกันไป
โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาพลักษณ์ท่ีมอแกนถ่กเรียกโดยรวมว่าเป็ นกล่่ม
คนที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษเกี่ยวกับเรื่องของทะเลอันเป็ นเพราะการ
รอดชีวิตจากคลื่นยักษ์สึนามิของกล่่มมอแกนที่อ่ทยานแห่งชาติหม่่
เกาะส่รน
ิ ทร์ ขณะที่ในความจริงมีมอแกนกระจายตัวในหลากหลาย
อาชีพและหลายพื้ นที่ ลักษณะดังกล่าวเป็ นส่วนสัมพันธ์โดยตรงกับ
บทบาทของสื่อในการเลือกนำาเสนอ “แง่ม่ม” ชีวิตของชาวมอแกน
ซึ่งกระทำาผ่านการคัดสรรและจัดวางด้วยเกณฑ์แห่งความเป็ นข่าว
(News criteria) ที่แตกต่างกัน อันมีผลโดยตรงต่อการสร้างวาท
กรรมที่มากำาหนดตำาแหน่งและอำานาจในทางสังคมให้กับชนเผ่ามอ
แกน ดังแจกแจงรายละเอียดได้ดังนี้
เกณฑ์ความเป็ นข่าวกับเกณฑ์ความเป็ นมอแกน
การนำาเสนอเรื่องราวของมอแกนผ่านสื่อ พิจารณาแบ่งได้ใน 2
ลักษณะสำาคัญคือ หนึ่ ง)การนำาเสนอในด้านวิถีชีวิตที่เหนื อธรรมดา
แตกต่างจากคนอื่น และ สอง)การนำาเสนอในด้านปั ญหาในการดำารง
ชีพของชาวมอแกน ซึ่งทั้งสองประเด็นมีเกณฑ์ความเป็ นข่าวในด้าน
ความแปลก (unusual)อย่่ในตัวมากเพียงพอที่ทำาให้ส่ ือ และผ้ส
่ ่ง
สารอื่นที่ไม่ใช่มอแกนเลือกนำาเสนอให้สังคมได้รบ
ั ร้่
1. เกณฑ์ความเป็ นข่าวในชีวิตที่เหนื อธรรมดาของมอแกน สื่อได้
นำาเสนอตั้งแต่ก่อนการเกิดสึนามิ โดยมีภาพลักษณ์ของมอแกนที่
อ่ทยานแห่งชาติหม่่ส่รน
ิ ทร์เป็ นตัวแทนมอแกนทั้งหมดในสายตาของ
31

สื่อ โดยนำาเสนอในลักษณะเป็ นกล่่มคนที่มีความสามารถในด้านท้อง


ทะเล ซึ่งเป็ นความสามารถพิเศษที่คนอื่นไม่มี สอดคล้องกับเกณฑ์
ข่าวในเรื่องความแปลก และไม่คาดคิด (unexpected) ว่าสามารถ
ทำาได้ อาทิ การดำานำ้าลึกได้โดยไม่มีอ่ปกรณ์ช่วย การหยัง่ ร้่ฟ้าฝนใน
ทะเล
ที่สำาคัญไปกว่านั้ น เมื่อเกิดเหต่สึนามิมอแกนในสถานที่ท่อง
เที่ยวแห่งนี้ ไม่เสียชีวิต ยิ่งเป็ นการเสริมเพิ่มพลังแห่งเกณฑ์ความ
เป็ นข่าวได้ครบถ้วน กล่าวคือ การนำาเสนอเรื่องนี้ ในยามที่เกิดภัย
พิบัติขนาดใหญ่คนจำานวนมากให้ความสำาคัญ (Audience concern)
และถือว่ามีความใกล้ชิด(proximity)กับผ้่คนจำานวนมากรวมถึงคน
เมือง เพราะเป็ นเหต่การณ์ท่ีเกิดในพื้ นที่ท่องเทียวด้วย ซึ่งได้มี
การนำาเสนอเรื่องนี้ ออกไปในปั จจ่บันทันด่วน(Timeliness)ยังผลให้
ตระหนั กว่าอาจมีความเปลี่ยนแปลง(potential for change)มีคน
รอดชีวิตได้อีก
อีกทั้งบ่คคลผ้่เปิ ดประเด็นในเรื่องนี้ เป็ นดาราที่มีช่ ือเสียง
(Prominence) ที่สามารถรอดชีวิตได้ด้วยการวิ่งตามกล่่มชาวมอ
แกนซึ่งเป็ นเรื่องที่เหลือเชื่อ (Human interest) คนอยากร้่อยากเห็น
เพราะเป็ นสิ่งที่ไม่คาดคิดว่าจะมีได้(unexpected)อันเพราะมอแกนมี
ความสามารถร้่ได้ทันเมื่อยามนำ้าลด(unusual) ทำาให้เกิดผลในทางดี
มีคนรอดชีวิต(impact) อันเป็ นสิ่งที่ขัดแย้งกับสภาพการณ์ของคน
ทัว่ ไป (conflict) และอีกหลายพื้ นที่ประสบภัย
2. เกณฑ์ความเป็ นข่าวในปั ญหาการดำารงชีพของชาวมอแกน แม้
สื่อได้นำาเสนอเกี่ยวกับปั ญหาของชาวมอแกนเน้นการเสนอในแง่ท่ี
32

มอแกนเป็ นชนเผ่าที่แตกต่างจากคนไทยโดยทัว่ ไปจึงไม่ได้รบ


ั สิทธิที่
เท่าเทียมกับคนอื่นๆ ไม่ได้รบ
ั บัตรประชาชน และไม่มีเอกสารสิทธิ
ในที่ดินทำากิน แม้ว่าได้อาศัยอย่่ในประเทศไทยมาเป็ นเวลานาน
การนำาเสนอเรื่องนี้ เป็ นไปด้วยการเลือกสรรจากเกณฑ์ความเป็ นข่าว
เรื่องของข้อขัดแย้ง (conflict) การถ่กเอารัดเอาเปรียบได้รบ
ั ผลกระ
ทบ (impact) ต่อการดำาเนิ นชีวิตเป็ นประเด็นนำา โดยอาศัยความ
แปลก(unusual) ในการดำารงวิถีชีวิตเป็ นเนื้ อหาประกอบของเรื่อง
ทั้งนี้ ในเนื้ อหาที่นำาเสนอเกี่ยวกับปั ญหาของมอแกนส่วนใหญ่
เป็ นไปในลักษณะของปั ญหาเฉพาะของมอแกนเป็ นสำาคัญ ไม่ได้มี
การแสดง หรือนำาเสนอให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของปั ญหาที่
เกี่ยวข้องเกี่ยวพันกับคนอื่นในสังคม หากแต่เทียบเคียงให้เป็ นไปใน
ลักษณะปั ญหาเดียวกับชาวเขา หรือชนกล่่มน้อยๆ จึงทำาให้เนื้ อหามี
เกณฑ์ความเป็ นข่าวในด้านอื่นๆ น้อยกว่า แม้หลังเกิดเหต่การณ์สึ
นามิแล้วการนำาเสนอเกี่ยวปั ญหาต่างๆ ก็ยงั เป็ นไปในลักษณะเดิม
ด้วยความที่มีเกณฑ์ความเป็ นข่าวที่น้อยกว่า การนำาเสนอเรื่อง
เกี่ยวกับปั ญหาของชาวมอแกนในหลายพื้ นที่ จึงถ้กจำากัดวงไม่ได้ถ้ก
ขยายผลต่อมากนักเมื่อเปรียบเทียบกับเรื่องความสามารถพิเศษ หรือ
การรอดพ้นจากเหตุการณ์สึนามิของชาวมอแกนที่หม่้เกาะสุรน
ิ ทร์ที่มี
เกณฑ์ความเป็ นข่าวที่มากจนครบถ้วนในทุกด้าน เรื่องของมอแกนใน
แง่มม
ุ นี้ จึงได้รับการกล่าวถึง และนำาเสนออย่างต่อเนื่ องในหลายสื่อ
โดยสื่อละทิ้งหรือให้ความสำาคัญน้อยกับมอแกนในพื้ นที่อ่ ืนที่เสียชีวิต
จำานวนมาก รวมถึงปั ญหาต่างๆ ที่มอแกนล้วนเป็ นผ้้ถ้กกระทำาทั้งสิ้น
เพราะเรื่องราวเหล่านั้นไม่สอดคล้องกับประเด็นข่าวที่ได้ถ้กกำาหนดจาก
เกณฑ์ความเป็ นข่าวนี้ แล้วจึงมีสิทธิเพียงน้อยที่ชีวิตมอแกนอันแท้จริง
33

จะก้าวเข้ามาส่้พื้นที่ส่ ือได้ เกณฑ์ความเป็ นมอแกนจึงตกอย่้ภายใต้


เกณฑ์แห่งความเป็ นข่าวไม่น้อย
บทบาทของสื่อกับการรื้ อสร้างมอแกน
ผลพวงจากการยึดโยงเกณฑ์ความเป็ นข่าวดังกล่าวได้สะท้อน
ให้เห็นถึงบทบาทของสื่อมวลชนที่มีต่อชนเผ่ามอแกนในด้านต่างๆ
อย่างชัดเจนดังนี้
1. มอแกนในบทบาทผ้้รักษาประต้ข่าวสารของสื่อ(Gate
keeping) สื่อมวลชนได้เลือกนำาเสนอเฉพาะบางแง่ม่มที่มีความน่า
สนใจอันเป็ นไปตามเกณฑ์ความเป็ นข่าว ซึ่งในบทบาทนี้ สื่อเป็ นผ้่
คัดเลือกแง่ม่มข่าวสารของชาวมอแกนมานำาเสนอ พร้อมกับการ
กำาหนดวาระข่าวสารของมอแกน(Agenda setting) ซึ่งพบได้ว่า
สื่อมวลชนให้ความสำาคัญกับแง่ม่มความเหนื อมน่ ษย์ทัว่ ไปของชาว
มอแกนมากกว่าประเด็นชีวิตมอแกนด้านอื่น และยังเลือกม่มของ
ชาวมอแกนที่อ่ทยานแห่งชาติหม่่เกาะส่รน
ิ ทร์ เป็ นตัวแทนความจริง
ของชาวมอแกนอื่นๆ ซึ่งมีความสอดคล้องกับสภาพความเป็ นจริง
ของชนกล่่มนี้ เพียงน้อย
2. มอแกนในบทบาทผ้้ตีความของสื่อ(Interpretation) จาก
เนื้ อหาที่ได้นำาเสนอมามอแกนถ่กสื่อและผ้่ท่ีเข้ามาใช้ส่ ือหรือนำาเสนอ
เรื่องของมอแกนผ่านสื่อตีความทั้งในด้านขีดความสามารถเหนื อ
มน่ ษย์หรือความสามารถพิเศษ ซึ่งมีส่วนจริงเฉพาะบ่คคลเท่านั้ น
ไม่ใช่เป็ นความจริงในวิถีชีวิตของชาวมอแกนที่กระจายตัวอย่่ใน
หลายจังหวัดของฝั ่ งทะเลอันดามัน เพราะเรื่องความสามารถพิเศษ
ในการทำาเรือ ดำานำ้า หรือความสามารถในการหยัง่ ร้่ถึงเรื่องสึนามิ
พบว่าเป็ นความเชื่อส่วนบ่คคลในกล่่มมอแกน เพราะเป็ นคำาสอน
34

ของบรรพบ่ร่ษซึ่งปั จจ่บันมีการบอกกล่าวบ้างในบางแห่งบางที่โดย
เฉพาะกล่่มมอแกนที่ต้องอาศัยหรือหากินในท้องทะเล แต่สำาหรับ
ครอบครัวที่อย่่บนฝั ่ ง หรือรับจ้างทัว่ ไปก็ไม่ได้เชื่อหรือมีความ
สามารถในส่วนนี้ เรื่องดังกล่าวมิได้เป็ นความเชื่อที่นับถือเป็ นการ
ทัว่ ไป หากแต่ส่ ือตีความให้กับมอแกน
3. มอแกนในบทบาทผ้้เฝ้าระวังของสื่อ (Watchdog) บทบาทนี้
พบว่าในสื่อได้มีนำาเสนอเรื่องเกี่ยวกับปั ญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับสิทธิ
และสัญชาติของคนมอแกนในหลายพื้ นที่ ขึ้นอย่่กับว่าผ้่ส่งสารในสื่อ
นั้ นเป็ นกล่่มคนสังกัดใด หากเป็ นกล่่มนั กพัฒนาที่อย่่อาศัยก็เป็ นการ
นำาเสนอปั ญหาเรื่องสิทธิในที่ดิน หากเป็ นนั กสิทธิมน่ ษยชนหรือนั ก
วิชาการก็เป็ นเรื่องของชาติพันธ์่และการมีสัญชาติที่ถ่กต้องตาม
กฎหมายในพื้ นที่ต่างๆ ตลอดจนมีการนำาเสนอข้อกังวลเกี่ยวกับ
ค่ณภาพชีวิต การศึกษา การดำารงอย่่ร่วมกับคนในสังคมใหญ แต่พบ
มากนั กในการติดตามตรวจสอบการดำาเนิ นการแก้ไขปั ญหาต่างๆ ให้
กับมอแกนกล่่มต่างๆ การแสดงบทบาทที่เพิ่มเติมในส่วนของการ
เป็ นผ้่เชื่อมโยง(Linkage) ของสื่อในส่วนนี้ จึงขาดหายไป
4. มอแกนในบทบาทการสร้างความบันเทิงของสื่อ
(Entertainment) จากเนื้ อหาในสื่อที่นำาเสนอเรื่องราวของมอแกน
อย่างโดดเด่นในเรื่องความสามารถพิเศษ ความเก่งกาจ ตลอดจน
การนำาเสนอเรื่องของมอแกนของเหลือเชื่อระทึกทั้งก่อนและหลังค
ลื่นยักษ์สึนามิ มอแกนเป็ นทรัพยากรสำาคัญที่ส่ ือใช้นำาเสนอเรื่อง
อย่างบันเทิงทั้งในร่ปแบบข่าว บทความต่างๆ
บทบาทที่สำาคัญยิ่งโดยรวมอันเป็ นผลจากการนำาเสนอเรื่องราว
ของมอแกนที่โดดเด่นคือบทบาทในการยกสถานะมอแกน (Status
35

conferral) ที่ได้สร้างการรับร้้ใหม่โดยรวมให้คนรับร้้มอแกนในฐานะคน
เก่ ง ผ้ม
้ ีความสามารถพิเศษแห่งท้องทะเล ไม่ว่าเป็ นมอแกนที่ใด
ก็ตาม
ข้อค้นพบความสัมพันธ์วาทกรรมกับอำานาจที่มีต่อมอแกน
1. สื่อใช้วาทกรรมสร้างให้มอแกนมีอัตตลักษณ์เฉพาะมากยิ่งขึ้น
การนำาเสนอเรื่องราวข่าวสารเกี่ยวกับชีวิตชาวมอแกนภายใต้ร่ป
แบบของข่าวที่ต้องมีประเด็น มีความน่าสนใจตามเกณฑ์ความเป็ น
ข่าว เพื่อให้ผ้่อ่านจำานวนมากสนใจติดตาม นั บเป็ นกระบวนการใน
การสร้างผลิต(constitute)ความจริงขึ้นมาช่ดหนึ่ ง ซึ่งยังผลให้เกิด
อัตตลักษณ์(identity) ใหม่แก่ชนชาวมอแกน ที่ให้ความ
หมาย(significance)ไปถึงความเป็ นชาวเผ่าที่มีความเชี่ยวชาญใน
ท้องทะเลเป็ นสำาคัญ มีภาพของความเป็ นคนแปลกแตกต่างจากผ้่
อื่น ไม่มีการศึกษา ถ่กเอารัดเอาเปรียบจากผ้่ท่ีมีอำานาจกว่าเป็ นเนื้ อ
รองติดตามมา
การนำาเสนอของสื่อภายใต้พื้นที่ซื้อและเงื่อนเวลาอันจำากัด
(Limited time and space) ทำาให้การนำาเสนอมีลักษณะจำากัดตัวลง
มาไม่สามารถอธิบายรายละเอียดต่างๆ ที่สลัลซับซ้อน นั บเป็ นการ
จัดวางตำาแหน่งให้มอแกนในสถานะเดียวกันหมด คล้ายกับมอแกน
ในแหล่งท่องเที่ยวอย่างหม่่เกาะส่รน
ิ ทร์ที่ทางอ่ทยานจัดวางตำาแหน่ง
ไว้เป็ นของแปลกโชว์นักท่องเที่ยวได้ ซึ่งเมื่อเกิดสึนามิก็ย่ิงทำาให้
ตำาแหน่งในทางสังคมของชาติพันธ์่มอแกนในสังคมถ่กยกระดับส่ง
ยิ่งขึ้นเป็ นแบบแผนการรับร้่เดียวกันไม่หมด ไม่ว่าเป็ นมอแกนบน
แผ่นดินใหญ่ หรือในเกาะแก่งแห่งท้องทะเล
36

การนำาเสนอจึงเป็ นลักษณะของการกล่าวโดยรวมอย่างเข้าใจ
ง่ายๆ สำาหรับคนทัว่ ไป (oversimplify) ทำาให้เกิดภาพลักษณ์ในการ
รับร้่ของคนทัว่ ไปทั้งทีส
่ ภาพที่แท้จริงมอแกนมิใช่มีเพียงกล่่มเดียวมี
กระจายอย่่หลายแห่ง ทั้งตามเกาะแก่งและแผ่นดินใหญ่ท่ีมีปัญหา
มากมายทับซ้อนอย่่
วาทกรรมจากสื่อจึงกลายเป็ นสิ่งกดทับทำาให้มอแกนมีลักษณะ
เฉพาะลงมา เข้าใจได้ง่ายไม่สลับซับซ้อน เป็ นผลให้ประเด็นปั ญหา
ในด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในกล่่มต่างๆ ของชาวเลเหล่านี้ ถ่กบิดบัง
ซ่อนเร้นลดความสำาคัญลงไปอันนำาเป็ นอำานาจแห่งการนิ ยาม(the
power to name)จากสื่อผ้่อย่่นอกช่มชนมอแกน
2. สื่อเป็ นพื้ นที่ของผ้้อ่ ืนในการสร้างวาทกรรมให้มอแกน
ภายใต้พื้นที่ส่ อ
ื ซึ่งนั บเป็ นพื้ นที่สาธารณะ(public sphere) ที่
สามารถสร้างการรับร้่เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ได้ พบว่าในเรื่องของมอ
แกน ชนเผ่านี้ นั บเป็ นของแปลก ที่ถ่กนิ ยามไปต่างๆ โดยกล่่ม
บ่คคลต่างๆ อาทิ นั กข่าวสายท่องเที่ยว นั กเขียน คนเขียนสก๊่ป นั ก
วิชาการด้านชาติพันธ์่ศึกษา นั กเคลื่อนไหวสิทธิมน่ ษยชน นั กพัฒนา
ที่อย่่อาศัย หลายฝ่ ายเข้ามาพ่ดถึงมอแกนอย่างเป็ นจริงเป็ นจังตาม
แต่เบื้ องหลังแห่งความสนใจของแต่ละฝ่ าย
มอแกนจึงเป็ นผ้่ถ่กนิ ยาม โดยไม่มีโอกาสนิ ยามตนเอง การ
สร้างการรับร้่ของมอแกนต่อผ้่อ่ ืนจึงขึ้นกับว่าใครเข้ามานิ ยามให้มอ
แกนไปในแง่ม่มใด ซึ่งล้วนแต่เป็ นการนิ ยามจากข้างนอกเข้ามา
กำาหนดความเป็ นมอแกนที่อย่่ข้างใน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดเหต่
การณ์สึนามิได้นำามอแกนไปส่่การถ่กนิ ยามอย่างต่อเนื่ องถึงความเก่ง
กล้าสามารถแม้ผ้่ท่ีไม่ได้เข้าพบเจอหรือใกล้ชิดด้วยตนเองก็มีสิทธิ
37

นิ ยามให้มอแกนต่อๆ กันไปโดยใช้ข้อความในครั้งใหม่ในสื่อที่ถือว่า
เป็ นข้อความสาธารณะกล่าวถึงเรื่องนี้ จนกลายเป็ นวาทกรรมใหม่จด
จารไว้ให้มอแกนจนกลายเป็ นภาพเหมารวม (stereotype) ถึงความ
เป็ นมอแกนที่ไม่สร้างความย่่งยากซับซ้อนแต่น่าสนใจให้คนอื่นได้มี
จินตนาการถึงภาพลักษณ์ของมอแกนแม้ไม่ตรงสอดคล้องกับความ
จริงมากนั กก็ตาม อันเป็ นผลจากผ้่ท่ีเข้ามานิ ยามมอแกนไม่ได้เข้าไป
ให้ถึงรหัสของมอแกนด้วยตนเองเป็ นสำาคัญ
อย่างไรก็ตามการที่มอแกนได้รบ
ั การกล่าวขานถึงความสามารถ
ด้วยวาทกรรมใหม่ผ่านสื่อจนเป็ นที่รำ่าลือ ได้ทำาให้เกิดการเปิ ดพื้ นที่
ให้กับมอแกนในฐานะคนพิเศษได้มีโอกาสในการแสดงตัวตนในที่
ต่างๆ แตกต่างจากเดิมที่ถ่กกันไว้ให้เป็ นคนแปลกแยกจากคนทัว่ ไป
ในพื้ นที่ต่างๆ และทำาให้มอแกนหลายพื้ นที่เป็ นที่ร้่จักและได้รบ
ั การ
ช่วยเหลือจากหลายฝ่ ายในฐานะผ้่มีช่ ือเสี่ยงแม้เป็ นชื่อเสี่ยงที่ตนเอง
ไม่ได้สร้างขึ้นก็ตาม
์ ิทธิห้กับมอแกนในฐานะผ้้ถ้กระทำา
3.วาทกรรมสื่อนำาอำานาจศักดิส
การมีวาทกรรมใหม่โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านของความ
สามารถพิเศษต่างในการหยัง่ ร้่เรื่องทะเลทั้งๆ ทีเ่ ป็ นเพียงส่วนหนึ่ ง
ในวิถีการดำารงชีพ นั บเป็ นการยกสถานะแห่งความมีอำานาจอันศักดิ์
สิทธิของมอแกนขึ้นมาตั้งวางให้สังคมได้ประจักษ์ผ่านข้อความข้อ
เขียนต่างในสื่อ ทำาให้อำานาจนี้ ถ่กสถาปนาเข้าไปในความเป็ นมอ
์ ิทธิน้ ี ขณะที่คนอื่นหรือ คนทัว่ ไปไม่มี อำานาจนี้
แกนที่มีอำานาจศักดิส
นำาไปส่่การยอมรับสถานะความเป็ นคนพิเศษมอแกน ไม่ใช่ความ
เป็ นคนไทยปกติของมอแกน เป็ นการเปิ ดพื้ นที่ของอำานาจอิสระใน
38

ตัวมอแกนให้สาธารณะประจักษ์ แต่ไม่ได้ถ่กเชื่อมโยงไปยังอำานาจ
ทางสังคมการเมืองมน่ ษย์ในสังคมไทยคนหนึ่ งพึงได้
ทั้งนี้ การศึกษาพบว่า การจัดวางวาทกรรมใหม่เกี่ยวกับอำานาจ
พิเศษของมอแกนในช่วงการเกิดเหต่สึนามินับเป็ นจ่ดตัดขวางเชื่อม
ร้อยให้คนทัว่ ไปได้ยอมรับอำานาจพิเศษของมอแกนในส่วนนี้ พร้อม
กับการมีจินตนาการถึงในฐานะคนแปลกแห่งท้องทะเล ซึ่งไม่ได้แตก
ต่างไปจากการมีวาทกรรมถึงชาวเขา หรือชนเผ่ากระเหรีย
่ งคอยาวผ้่
ถ่กนิ ยามเช่นกัน
ขณะที่ส่ ือได้นำาเสนอเกี่ยวกับสภาพปั ญหาความไร้สัญชาติ สิทธิ
ต่างๆ อย่างกว้างขวางเช่นกัน การนำาเสนอของกล่่มนั กพัฒนา นั ก
วิชาการผ่านสื่อเองก็ไม่สามารถนำาพาให้ให้เกิดอำานาจสังคมการเมือง
เพราะได้ถ่กกันออกไปส่่ความเป็ นอื่นแล้วไม่มีความเกี่ยวข้องโยงใย
กับผ้่คนในสังคม
ปั ญหาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับมอแกนกลับด่เหมือนถ่กกันให้เป็ น
เฉพาะปั ญหาของชนกล่่มมอแกนเอง ไม่ใช่ปัญหาของสังคม ไม่ใช่
แม้แต่เป็ นปั ญหาของรัฐที่ต้องรับผิดชอบ ซึ่งตรงกันข้ามกับวาท
์ ิทธิของมอแกนที่เข้ามาสัมพันธ์กับผ้่คน
กรรมในเรื่องอำานาจศักดิส
ทัว่ ไปผ่านเหต่การณ์ภัยพิบัติขนาดใหญ่ จึงนั บได้ว่าสื่อไม่สามารถ
์ ิทธิของมอแกนเข้าส่่การมีอำานาจ
นำาพาอำานาจอิสระหรืออำานาจศักดิส
ทางสังคมการเมืองอันเป็ นผลให้มอแกนยังคงตกเป็ นคนชายขอบที่
แตกต่างไปจากประชาชนคนอื่น
ควำมสรุป
จากผลการศึกษาที่กล่าวมาแล้วนั้ นได้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจน
์ ิทธิท่ีมีอย่่ของมอแกนอันได้รบ
ว่า อำานาจศักดิส ั การสถาปนาผ่านวาท
39

กรรมจากสื่อที่อย่่ภายใต้เงื่อนแห่งกฎเกณฑ์และบทบาทของการสื่อ
ข่าวสาร นอกจากอำานาจนี้ ไม่ได้ถ่กเปลี่ยนผ่านไปเป็ นอำานาจในทาง
์ ิทธิเหล่านั้ นยังถ่กกดทับถ่ก
สังคมการเมืองแล้ว หากแต่อำานาจศักดิส
์ ิทธิ
คนนอกกระทำาให้มอแกนกลายเป็ นตัวแทนอำานาจอิสระศักดิส
เป็ นตัวแสดงทางสัญลักษณ์ค่สถานที่ท่องเที่ยวหรือถ่กนายท่นผ้่มี
อำานาจทางเศรษฐกิจเหนื อกว่ามาเลือกใช้ความสามารถพิเศษไปสร้าง
ความมัง่ คัง่ ในร่ปแบบต่างๆ
มอแกนยังไม่สำมำรถมีโอกำสเขูำถึงอัตตลักษณ์ในแบบสังคม
ปั จจุบันที่มีควำมเท่ำเทียมกันในทางกฎหมายและสิทธิด้านอื่นๆ แม้
กระทัง่ สิทธิเสรีภาพในการนิ ยามตนเองผ่านจริยธรรม ค่ณธรรมของ
กล่่มตน หากแต่ถ่กกำาหนดตัวตนด้วยคนอื่นตามที่ส่ ือได้นิยามอัต
ตลักษณ์ความเป็ นตัวตนไว้ให้ ดังนั้ นการเป็ นบ่คคลที่มีสิทธิตัดสินใจ
ในเรื่องอำานาจของตนได้อย่างเสรีภายใต้ระบอบประชาธิปไตยจึงยัง
ไม่มีวันไปถึง เพราะพวกเขาเหล่านี้ ได้ถ่กจัดวางตำาแหน่งไว้เพียงใน
์ ิทธิท่ีอิสระไม่ยึดโยงกับอำานาจทางสังคม
ขอบเขตในอำานาจศักดิส
การเมืองภายนอกที่เขาดำารงอย่่จนทำาให้ตกอย่่ในสภาวะแตกต่าง

You might also like