Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

โลกาภิวัตน์กับสุขภาพคนไทย

ปรุฬห์ รุจนธำรงค์

WHO รุกแก้โรคอ้วนในเด็ก
คุมเข้มการตลาดและโฆษณาขนม
น้ำอัดลม และอาหารขยะ

เป็นที่ทราบกันดีว่าปัญหาโรคอ้วนในเด็กนั้น ส่วนหนึ่งเป็นผล ด้วยเหตุนี้ องค์การอนามัยโลก หรือ WHO จึงได้จัดประชุม

มาจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารทีม่ คี ณ ุ ค่าทางโภชนาการต่ำ ผู้ เ ชี่ ย วชาญ เพื่ อ เสนอแนวทางแก้ ไ ข และนำมาสู่ ก ารขอ

ยิ่งไปกว่านั้น โรคอ้วนยังนำมาซึ่งปัญหาสุขภาพอีกมากมาย ความเห็นจากประเทศสมาชิกที่อยู่ในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก


โดยเฉพาะโรคเรือ้ รัง อย่างเบาหวานและโรคหัวใจและหลอดเลือด เพื่อหากลยุทธ์ในการควบคุมการตลาดและการโฆษณาอาหาร
เป็นต้น ที่ มี คุ ณ ค่ า ทางโภชนาการต่ ำ และนำไปสู่ โ รคเรื้ อ รั ง ต่ า งๆ

เหล่านี้ โดยใช้มาตรการทางกฎหมาย การควบคุมกำกับโดย


ขณะที่ธุรกิจอาหารโภชนาการต่ำ ที่มีส่วนประกอบของไขมัน รัฐ การใช้วิธีสมัครใจร่วมกัน หรือมาตรการผสมผสาน
น้ำตาล และเกลือสูง เช่น ขนมกรุบกรอบ น้ำอัดลม และ
อาหารขยะ กำลังขยายตัวกันอย่างกว้างขวาง โดยใช้กลยุทธ์ ในส่ ว นขององค์ ก ารอนามั ย โลกภู มิ ภ าคเอเชี ย ใต้ ก็ เ พิ่ ง จั ด
ทางการตลาดและการโฆษณา เพือ่ สร้าง โอกาส (EXPOSURE) ประชุมเพือ่ เสริมความเข้มแข็งขององค์กรภาคีในการบูรณาการ
และพลังเร้า (POWER) ดึงเด็กและเยาวชนให้หันมาบริโภค การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ (NCD) ที่เมืองชานติกรา
อาหารเหล่ า นี้ จ ำนวนมาก ส่ ง ผลให้ มี เ ด็ ก ถึ ง 22 ล้ า นคน
ประเทศอินเดีย เมือ่ วันที่ 15 - 19 มิ.ย. ทีผ่ า่ นมา โดยมีประเทศ
ทั่วโลกต้องประสบปัญหาโรคอ้วน โดย 3 ใน 4 เป็นเด็กที่อยู่ สมาชิกเข้าร่วมทั้งหมด 9 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย อินโดนีเซีย
ในประเทศกำลังพัฒนาระดับปานกลางและระดับยากจน ไทย บังคลาเทศ พม่า ศรีลังกา เนปาล ภูฏาน และมัลดีฟส์
ร่ ว มด้ ว ยผู้ แ ทนองค์ ก รระหว่ า งประเทศ เช่ น ธนาคารโลก
นอกจากการโฆษณาและการตลาดของธุรกิจอาหารเหล่านี้
สหพันธ์องค์กรผู้บริโภคสากล สหพันธ์เบาหวานโลก สถาบัน
จะส่งผลต่อการเพิ่มปัจจัยเสี่ยงของโรคอ้วนในเด็กแล้ว ยังเพิ่ม มะเร็งศึกษา ออสเตรเลีย
โอกาสการเป็นโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด
อีกด้วย รวมทั้งยังสร้างพฤติกรรมติดรสชาติหวาน มัน เค็ม โดยในการประชุ ม ครั้ ง นี้ รศ.ภก.ดร.
ของอาหารอีกด้วย วิ ท ยา กุ ล สมบู ร ณ์ จากแผนงาน
คุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภคด้ า นสุ ข ภาพ คณะ
...สถานการณ์โรคอ้วนในเด็กจึงไม่ใช่ปัญหาเฉพาะของใครคน เภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใดคนหนึ่ ง หรื อ ประเทศใดประเทศหนึ่ ง เท่ า นั้ น หากเป็ น ได้ มี โ อกาสเข้ า ร่ ว มประชุ ม ในฐานะ

ปัญหาที่คนทั่วโลกต้องช่วยกันคิดและร่วมกันหาทางออก ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะกิจของ WHO


สานพลัง 12
เรื่องการตลาดอาหารที่มีผลกระทบต่อสุขภาพเด็ก กล่าวถึง การดูแลของคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติว่า
ความคืบหน้าในการประชุมครั้งนี้ว่า
เป็ น การจำกั ด โอกาส โดยลดการโฆษณาอาหารที่ ม ี

นับเป็นการเปิดบทบาทขยายความเข้มแข็งปฏิบัติการเชิงรุก
ผลกระทบต่ อ เด็ ก ให้ มี เ วลาน้ อ ยลงจากเดิ ม และจำกั ด

ของเครื อ ข่ า ยองค์ ก ารอนามั ย โลกในภู มิ ภ าคนี้ โดยเฉพาะ พลังเร้า จากการใช้นกั แสดง นักกีฬา ดารา ขวัญใจเด็ก เยาวชน
ตั ว แทนแต่ ล ะประเทศต่ า งร่ ว มกั น แสดงความกั ง วลต่ อ การ การ์ตูน มาเป็นผู้โฆษณา การแจกของรางวัล ตุ๊กตา หุ่นยนต์
ขยายตัวของโรคอ้วน และเห็นพ้องต้องกันว่าจำเป็นต้องหา ที่ทำให้เด็กและเยาวชนถูกเหนี่ยวนำ ให้บริโภคอาหารที่ไม่เป็น
มาตรการเพื่ อ ป้ อ งกั น การขยายตั ว ของโรคนี้ อ ย่ า งเร่ ง ด่ ว น
ประโยชน์และส่งผลต่อโรคอ้วน
เพราะนอกจากการป้องกันโรคอ้วนจะช่วยลดความเสี่ยงในการ
เกิดโรคเรื้อรังดังที่ได้กล่าวไปแล้ว ยังสามารถลดโอกาสเกิด มาตรการดังกล่าวได้รับความสนใจจากหลายประเทศและได้มี
โรคมะเร็งได้ถึง 1 ใน 3 อีกด้วย การแลกเปลี่ ย นหาข้ อ สรุ ป เพื่ อ นำไปสู่ ก ารพั ฒ นานโยบาย

การควบคุ ม การตลาดอาหารเด็ ก ในประเทศสมาชิ ก อย่ า ง


ในการประชุมครัง้ นี้ รศ.ภก.ดร.วิทยา ยังได้นำเสนอ มาตรการ จริงจัง ส่วนความคืบหน้าจะเป็นเช่นไร คงต้องตามกันต่อ
การควบคุมโฆษณาทางโทรทัศน์ของประเทศไทย จากเดิม เพราะจะมีการประมวลข้อเสนอเข้าสูท่ ปี่ ระชุมใหญ่สภาองค์การ
ที่เคยกำกับโดยกรมประชาสัมพันธ์ และปัจจุบันอยู่ภายใต้
อนามัยโลกทีเ่ จนีวา เพือ่ ให้มแี นวทางแก้ปญ
ั หาร่วมกันในปีหน้า

ภูมิใจนำเสนอ
กองบรรณาธิการ

Consumer พุทธกระบวนทัศน์เพื่อสุขภาพกับ
Dialogue

การเยี

ยวยาสังคมไทย
หนังสือทีร่ วมบทเรียน นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาสุขภาพผ่านมุมมองพุทธ
และบั น ทึ ก การต่ อ รอง
ศาสนา ซึ่ง พระวิชิต ธมฺมชิโต ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ได้
เพื่อสิทธิผู้บริโภค พ.ศ.2551 ไว้หลากแง่หลายมุม เพื่อให้ กลั่ น กรองเนื้ อ หา ทั้ ง จากการศึ ก ษาพระไตรปิ ฏ กและ

ผู้อ่านได้เห็นถึงกระบวนการขับเคลื่อนสู่ “สังคมผู้บริโภค” วิ ถี ชี วิ ต ของผู้ ที่ เ ข้ า ใจแก่ น พุ ท ธธรรม


อย่ า งครบถ้ ว น ไม่ ว่ า จะเป็ น กฎหมายวิ ธี พิ จ ารณาคดี
ทั้งหมด 7 ท่าน อาทิ ท่านพุทธทาส
ผู้บริโภค กฎหมายความรับผิดชอบต่อสินค้าที่ไม่ปลอดภัย ท่านเจ้าคุณพระธรรมปิฏก หลวงพ่อ
(ร่ า ง) กฎหมายองค์ ก ารอิ ส ระคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภค และ คำเขียน สุวณฺโณ เป็นต้น เพื่อให้ได้
(ร่าง) กฎหมายเพื่อการเข้าถึงยา รวมถึงรูปธรรมการต่อสู้ มาซึ่ ง ความหมาย ขอบเขตและ
ของกระบวนการผู้ บ ริ โ ภคที่ ท ำให้ เ กิ ด กลไกพิ ทั ก ษ์ สิ ท ธิ
ความสำคัญของสุขภาพในทางพุทธ
ผู้บริโภคในเรื่องราวต่างๆ อาทิ ‘สูญญากาศ’ โฆษณา ศาสนาว่าเป็นอย่างไรและจะนำมา
ขนมเด็ก, อนาโปรมีน บทเรียนที่สังคมต้องเรียนรู้, ก่อน ปรับใช้ในสังคมปัจจุบันได้อย่างไร
อ้าปากรับ ‘เมลามีน’, พลังผู้บริโภคแก้โกงโทรศัพท์มือถือ
ฯลฯ ซึ่งเคยตีพิมพ์นิตยสาร Way

หนังสือทั้งสองเล่มนี้ จัดพิมพ์และเผยแพร่โดยแผนงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (คคส.)

กรกฎาคม - กันยายน 2552 13

You might also like