Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

บทที 11 แม่ เหล็กไฟฟ้า

1. กฏของคูลอมบ์
2. สนามไฟฟ้า
3. กฏของเกาส์
4. ศักย์ ไฟฟ้า
5. ความจุและไดอิเล็กทริก
6. สนามแม่ เหล็ก
7. แหล่งกําเนิดสนามแม่ เหล็ก
8. การเหนียวนําแม่ เหล็ก
9. สมการแมกซ์ เวล
1

ประจุไฟฟ้ า (electric charge) มีคุณสมบัติทีสําคัญดังนี&:


• ประจุไฟฟ้ ามีอยูส่ องชนิดคือ ประจุบวก และประจุลบ
• ประจุทีเหมือนกันจะผลักกันและประจุทีต่างกันจะดูดกัน
• ประจุไฟฟ้ าจะเป็ นไปตามกฏการอนุ รักษ์เสมอ
กล่าวคือ เมือวัตถุถูหรื อเหนียวนํากับวัตถุอืน ประจุไม่ได้ถูกสร้างขึ&นมาใหม่
สถานะทางไฟฟ้ าเกิดขึ&นจากการถ่ายเทประจุจากวัตถุหนึงไปยังอีกวัตถุหนึง
โดยทีวัตถุหนึงจะมีประจุลบเพิมขึ&น ในขณะทีอีกวัตถุหนึงมีประจุบวกเพิมขึ&น
• ค่าประจุไฟฟ้ าเป็ นค่าทีไม่ต่อเนือง
หน่วยทีเล็กทีสุ ดของประจุไฟฟ้ าเรี ยกว่า elementary charge e = 1.6 x 10-19 C
ประจุไฟฟ้ าหน่วยทีเล็กทีสุ ดในธรรมชาติคือประจุของอิเลกตรอน (-e)
หรื อโปรตอน (+e)
2

1
อนุภาค ประจุ (C) มวล (kg)
อิเล็กตรอน -1.6021917×10-19 9.1095×10-31
โปรตอน +1.6021917×10-19 1.67261×10-27
นิวตรอน 0 1.67492×10-27

รู ป (a) แท่งแก้วทีมีประจุบวกผลักกัน (b) แท่งแก้วทีมีประจุบวกดูดกับแท่งพลาสติกทีมีประจุลบ


3

รู ป (a) แท่งยางทีมีประจุลบผลักกัน (b) แท่งแก้วทีมีประจุบวกดูดกับแท่งยางทีมีประจุลบ

2
ตัวนําไฟฟ้า (Conductors) คือวัตถุซึงประจุไฟฟ้ าสามารถ
เคลือนทีได้อย่างอิสระ เช่น ทองแดง
เหล็ก ทองแดง เป็ นตัวนําไฟฟ้ าทีดี ถ้าวัตถุเหล่านี& ถูกทําให้มี
ประจุในบริ เวณใดบริ เวณหนึ งประจุจะสามารถกระจายไปได้
ทัวพื&นผิวของวัตถุเหล่านั&น
รู ปการประจุวตั ถุโลหะโดยการเหนียวนํา
(a) ทรงกลมโลหะที เป็ นกลางมี จาํ นวนประจุ บ วกและ
ประจุลบเท่ากัน
(b) ประจุ บ นทรงกลมที เป็ นกลางมี ก ารจัด เรี ยงตัวใหม่
เมือนําแท่งยางทีมีประจุลบเข้าใกล้
(c) มีการต่อสายดินอิเล็กตรอนจะเคลือนทีผ่านสายดิน
(d) เมื อนําสายดิ น ออกทรงกลมจะมี ป ระจุ บ วกกระจาย
ไม่สมําเสมอ
(e) เมื อนําแท่ งยางที มี ป ระจุ ออกไปประจุ บ วกจะมี ก าร
กระจายอย่างสมําเสมอทัวทรงกลม
Note that only conduction electrons, with their negative
charges, can move; positive ions are fixed in place. Thus, an
object become positively charged only through the removal
of negative charges.
5

ฉนวนไฟฟ้า (Nonconductors or Insulators) คือวัตถุ


ซึ งประจุไฟฟ้ าไม่สามารถเคลื อนทีได้อย่างอิสระ วัสดุ
เช่ น แก้ ว ยาง จัด อยู่ ใ นพวกฉนวนไฟฟ้ า โดยวัส ดุ
เหล่านี& สามารถทําให้มีประจุได้โดยการขัดถู โดยพื&นที
ที เกิ ด การขัด ถู จ ะเกิ ด ประจุ ข& ึ น แต่ ป ระจุ ที เกิ ด ขึ& น ไม่
สามารถเคลือนทีไปทีอืนได้
ฉนวนก็สามารถเหนี ยวนําได้ในขบวนการที คล้ายกัน
ในโมเลกุลทีเป็ นกลางทัวไปศูนย์กลางประจุบวกเป็ น
จุดเดี ยวกับศูนย์กลางประจุลบ ในการแสดงตัวว่าเป็ น
วัตถุ ที มี ป ระจุ จุด ศู น ย์ก ลางของฉนวนจะมี ก ารเลื อน
เล็กน้อยเป็ นผลทําให้มีประจุบวกที ด้านหนึ งมากกว่า
อีกด้านหนึ งทําให้เกิดการเหนี ยวนําประจุทีผิวด้านหนึ ง รู ปวัตถุมีประจุทางด้านซ้ายเหนี ยวนําประจุ
ของฉนวนได้ดงั รู ป บนพื&นผิวของฉนวน
There are few (if any) free electrons in a nonconductor
สารกึงตัวนํา (Semicondutor) จะมีคุณสมบัติทางไฟฟ้ าอยูร่ ะหว่างตัวนําไฟฟ้ าและฉนวนไฟฟ้ า
เช่น ซิ ลิกอน เยอร์ มาเนี ยม
สารตัวนํายิง ยวด (Supercondutors) จะไม่มีความต้านทานไฟฟ้ าเลย
In a superconductor, the resistance is not just small; it is precisely zero. 6

3
ตัว อย่า งที แสดงถึ ง การมี อ ยู่ข องแรงทางไฟฟ้ าและ
ประจุ เช่น หลังจากทีเราหวีผมในวันทีมีอากาศแห้ง
เราจะเห็ นได้ว่าหวีสามารถดูดกระดาษชิ& นเล็กๆ ได้ H22-1
แรงดู ดนี& มกั จะแรงพอที ดู ดกระดาษให้ลอยขึ& นมาได้
แรงแบบเดียวกันนี& เกิดขึ&นเมือนําแท่งแก้วถูกบั ผ้าไหม
หรื อขนสัตว์
กล่าวคือเมือวัตถุเกิดพฤติกรรมในแนวทางนี& เรากล่าวได้
ว่าเกิด สนามไฟฟ้ า (electric field) ขึ&นเราสามารถทําให้
ตัว ของเรามี ไฟฟ้ าเกิ ด ขึ& นได้โ ดยการถู รองเท้าที ใส่ กับ
พรมขนสัตว์แรงๆ จะทําให้เกิดประจุไฟฟ้ าบนตัวของ
เราและประจุไฟฟ้ าจะเกิ ดการเคลือนที ถ้าเราสัมผัสกับ
พื&นภายใต้สภาวะทีเหมาะสม (ในวันที อากาศแห้ง ถ้า
อากาศชื&นจะทําให้ประจุทีเกิดขึ&นเกิดการถ่ายเทจากตัวเรา
ลูกโป่ งที'ถกู บั ผมในวันที'อากาศ
ไปสู่ โลก) เราจะพบว่าเกิดการ spark ขึ&นโดยทั&งคุณ แห้ งทํ า ให้ ผมและลู ก โป่ งมี
และเพือนจะรู ้สึกชาเหมือนโดนไฟฟ้ าช๊อต ประจุเกิดขึ 5น 7

http://www.rit.ac.th/homepage-sc/charud/naturemystery/electric1/electric.htm

ไฟฟ้ าทีไม่เคลือนที เรี ยกว่า ไฟฟ้ าสถิต ประจุอยูน่ ิ งกับที ตัวอย่างเช่นเกิดได้จากการถู


ลูกโป่ งกับวัตถุเช่ นผ้าขนสัตว์ อิ เล็กตรอนจะถ่ายเทจากผ้าขนสัตว์ไปยังอะตอมของ
ลูกโป่ ง ลูกโป่ งได้รับประจุไฟฟ้ าลบ และผ้าขนสัตว์ได้รับประจุไฟฟ้ าบวก

4
http://www.rit.ac.th/homepage-sc/charud/naturemystery/electric1/electric.htm

แรงในธรรมชาติ
นักฟิ สิ กส์ได้แบ่งแรงต่างๆ ในธรรมชาติออกเป็ น 4 ชนิด ได้แก่
1. แรงโน้ มถ่ วง
2. แรงไฟฟ้าและแรงแม่ เหล็กทีเ กีย วข้ องกัน
3. แรงนิวเคลียสอย่ างแรง
4. แรงนิวเคลียสอย่ างอ่ อน
ในบทนี&จะอธิบายแรงชนิดที 2
แรงไฟฟ้า
• ถ้าเอาหวีพลาสติกถูกบั ขนสัตว์ จะมีประจุไฟฟ้ า
เกิดขึ&นบนหวีตรงส่วนทีถูกถู และหวีน& นั สามารถ
ดูดเศษกระดาษชิ&นเล็กๆ ได้ เราเรี ยกแรงดู ดนี& ว่า
แรงไฟฟ้ า (electrical force)
• แรงไฟฟ้ ามีท& งั แรงดูดและแรงผลัก 10

5
1. กฏของคูลอมบ์ (Coulomb Law)
แรงไฟฟ้ า (แรงดูดหรื อแรงผลัก) ระหว่างประจุไฟฟ้ าคู่หนึ งจะแปรผันตามผลคูณของ
ขนาดของประจุท& งั สองและแปรผกผันกับกําลังสองของระยะห่างระหว่างประจุคู่น& นั
แรงไฟฟ้ าทีกระทําต่อประจุคู่น& ีจะมีขนาดเท่ากับ
r q1q 2
q2 q1 FE = F12 = F21 = k E
r̂12
r2
ส ม กา ร แ ส ดง เว กเ ต อร์ ข อ งแ ร งไ ฟฟ้ า ที
ทิศของ F12 เมือ q1 และ q2 ทิศของ F12 เมือ q1 และ q2 ประจุ q2 กระทําต่ อประจุ q1 เขียนได้ เป็ น
เป็ นประจุไฟฟ้ าต่างชนิดกัน เป็ นประจุไฟฟ้ าชนิดเดียวกัน
v qq
F12 = k E 1 2 2 r̂12
โดย r
v
F12 เป็ นเวกเตอร์ของแรงไฟฟ้ าที q2 กระทําต่อ q1
r̂12 เป็ นเวกเตอร์หนึงหน่วยมีทิศจาก q ไปยัง q ในสมการนี&ประจุบวกและลบจะมี
2 1
1 เครื องหมายเป็ นบวกและลบตามลําดับ
kE = = 9 x10 9 N ⋅ m 2 /C 2
4 πε 0
ε 0 = สภาพยอมของสู ญญากาศ (permittivity of free space) = 8.85x10-12 C2/N.m2 11

เมือปฎิบตั ิตามกฎของคูลอมบ์จะต้องจําไว้วา่ แรงคือปริ มาณเวกเตอร์ ดังนั&น


แรงทางไฟฟ้ าทีเกิดจากประจุ q2 กระทําต่อประจุ q1 คือ v q1q 2
F12 = k E r̂12
r2
รู ปจุดประจุ 2 อันอยูห่ ่างกันเป็ นระยะทาง r
q1 ออกแรงกระทําต่อกันตามกฎของคูลอมบ์
(a) เมือประจุมีเครื องหมายเดียวกัน
q2
(b) เมือประจุมีเครื องหมายต่างกัน
โดยที
r̂12คือเวกเตอร์ หน่วย (unit vector) มีทิศออกจาก
q1
q2 ไปยัง q1 และเนื' องจากแรงทางไฟฟ้าเป็ นไปตามกฎ
ข้ อ ที' ส ามของนิ ว ตัน ดังนั น5 แรงที' q2 กระทํ า ต่อ q1จะมี
ขนาดเท่ากับแรงที' q1 กระทําต่อ q2 แต่มีทิศทางตรงกัน
v v
q2 ข้ ามกันนัน' คือ F12 = − F21
ถ้ า q1 และ q2 มีเครืองหมายเดียวกันผลคูณระหว่ าง q1 และ q2 มีค่าเป็ นบวกและแรงเป็ นแรงผลัก
ถ้ า q1 และ q2 มีเครืองหมายตรงข้ ามกันผลคูณระหว่ าง q1 และ q2 มีค่าเป็ นลบและแรงเป็ นแรงดูด 12

6
แรงไฟฟ้ าเป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เขียนในรู ปเวกเตอร์ ได้เป็ น
v qq v q q
F12 = k E 1 2 2 r̂12 F21 = k E 22 1 r̂21
r r
v
F12 เป็ นแรงไฟฟ้ าทีประจุ q กระทําต่อประจุ q มีทิศออกจาก q
2 1 1
r̂12 เป็ นเวกเตอร์ หนึ งหน่วยมีทิศจาก q2 ไปยัง q1
v
F21 เป็ นแรงไฟฟ้ าทีประจุ q1 กระทําต่อประจุ q2 มีทิศออกจาก q2
r̂21 เป็ นเวกเตอร์ หนึ งหน่วยมีทิศจาก q1 ไปยัง q2
ประจุชนิดเดียวกัน จะส่ งแรงไฟฟ้าซึงกันและกันเป็ น แรงผลัก (Repulsive force)
ประจุต่างชนิดกัน จะส่ งแรงไฟฟ้าซึงกันและกันเป็ น แรงดูด (Attractive force)
vF vF vF vF
12 21 12 21
q1 q2 q1 q2
r r
ประจุชนิดเดียวกัน ประจุต่างชนิดกัน 13

กฎของคูลอมบ์ยงั อธิบายได้อีกว่า แรงไฟฟ้ าทีเกิดขึ&นกระทํากันเป็ นคู่ๆ แม้วา่ จะมีประจุ


อืนๆ มาวางอยูใ่ กล้ก็ตาม แสดงว่าแรงกระทําระหว่างประจุคู่หนึงจะไม่เปลียนเลย เมือ
มีประจุทีสามเข้ามาเกียวข้อง นันคือ ไม่วา่ ระบบจะประกอบด้วยประจุไฟฟ้ าจํานวน
เท่าใดก็ตาม กฎของคูลอมบ์สามารถใช้คาํ นวณหาแรงระหว่างประจุทุกๆ คู่ได้
q2 q3 q2 q3
-+ - +
r̂ r̂ r̂

r r r
= + v
F13
q1 - q1 - q1 -
v v
F1 F12

(ก) (ข) (ค)


แรงทีกระทําบน q1 ในรู ป ก. จะเท่ ากับผลบวกของแรงทีกระทําบน q1 ในรู ป ข. และรู ป ค. 14

7
ถ้าประจุ q1, q2 และ q3 อยูใ่ นตําแหน่งใดๆ ดังรู ป แรงทีกระทําบน q3 เนืองจาก
v v
q1 และ q2 จะหาได้จากผลรวมแบบเวกเตอร์ ระหว่างแรง F31 และ F32
q1 v v v
F3 = F31 + F32
-
r31 r̂31
v q 3 q1
v F31 = r̂31 แรงผลัก
q2 2
4πε 0 r31
q3 F32 r̂32
v - r32 +
F31 v q q
F32 = − 3 2 r̂32 แรงดูด
2
4πε 0 r32
v
F3

15

ดังนั&น ระบบประจุ n ตัว ประจุ q1, q2,…,qn แรงลัพธ์ทีประจุใดๆ กระทําต่อ


ประจุ qi จะหาได้จากผลบวกเวกตอร์ของแรงตามสมการ
v n v
1 n q iq j
Fi = ∑ Fij = ∑ r̂ij
j≠ i 4πε 0 j≠ i rij2
v
Fi เป็ นแรงลัพธ์ทีกระทําต่อประจุ qi
v
Fij เป็ นแรงไฟฟ้ าทีกระทําต่อประจุ qi โดย qj
r̂ij คือเวกเตอร์หน่วย (unit vector) มีทิศออกจาก qj ไปยัง qi
rij คือระยะห่างระหว่าง qi กับ qj
ประจุ qi , qj มีหน่วยเป็ น คูลอมบ์ (C)
ระยะ rij มีหน่วยเป็ น เมตร (m)
แรง Fi , Fij มีหน่วยเป็ น นิวตัน (N) 16

8
ตัวอย่ าง 1 อิเลกตรอนและโปรตอนของไฮโดรเจนอะตอมกระจายโดยมี
ระยะห่างระหว่างกันเป็ น 5.3x10-11 m จงหาขนาดของแรงทางไฟฟ้ า
วิธีทาํ
อิเลกตรอนมีประจุตรงข้ามกับโปรตอน แต่มีขนาดประจุเท่ากัน คือ 1.6x10-19 C
จึงเป็ นแรงดึงดูดกันทีมีขนาดทีหาได้จากกฎของคูลอมบ์ ดังนี&
q1 q 2
FE = k E
r2
(1.6 × 10−19 )(1.6 ×10−19 )
= (9 ×10 ) 9
(5.3 ×10−11 ) 2
= 8.2x10-8 N

17

ตัวอย่ าง2 ประจุ q1= +7x10-5C , q2 = -4x10-5C


q1
+ และ q3 = -5x10-5C วางอยูท่ ีมุมของรู ปสี เหลียมทีมี
v 5 cm
F3 3 cm
v
ด้านยาว 3 , 4 และ 5 cm จงหาขนาดและทิศของแรง
θ F31 ทีกระทําบน q3
v - -
F32 q3 4 cm q2 วิธีทาํ v v v
F3 = F31 + F32
q 3 q1 (9 x10 9 )( 5 x10 − 5 )( 7 x10 − 5 )
F31 = = = 35 x10 3 N
2
4πε 0 r31 ( 3 x10 − 2 ) 2

q 3q 2 (9 x10 9 )( 5 x10 − 5 )( 4 x10 − 5 )


F32 = = = 11 .25 x10 3 N
2 −2 2
4πε 0 r32 ( 4 x10 )

F3 = ( 35 x10 3 ) 2 + (11 .25 x10 3 ) 2 = 3 .7 x10 4 N


 11 .25 x10 3 
θ = tan −1   = 18 o
 35 x10 3 
  18

9
ตัวอย่าง3 จุดประจุ 3 จุด วางตัวอยูใ่ นแกน x ดังแสดงในรู ป
ประจุบวก q1= 15 µC อยูท่ ี x = 2 m ประจุบวก q2 = 6 µC อยูท่ ีจุดกําเนิด
และแรงลัพธ์ทีกระทําต่อ q3 มีค่าเป็ นศูนย์ q3 มีตาํ แหน่งใดบนแกน x

2m
x 2-x
q2 q3 q1
+ v - v +
F32 F 31
วิธีทาํ
จากรู ปจุดประจุ 3 จุด วางตัวอยูใ่ นแนวแกน x ถ้าแรงสุ ทธิ ทีกระทําต่อ q3
v v
มีค่าเป็ นศูนย์จะได้วา่ F31 จะต้องเท่ากับและมีทิศทางตรงข้ามกับแรง F32
19

v v
เนืองจาก q3 มีเป็ นลบและ q1 และ q2 เป็ นบวก แรง F31 และ F32 จึงเป็ น
แรงลบทั&งคู่และมีขนาดดังนี&
q 3 q1 q3 q 2
F31 = k E F32 = k E
(2 − x) 2 (x) 2
v
ถ้าจะให้แรงลัพธ์ทีกระทํvาต่อ q3 มีค่าเป็ นศูนย์ F32 จะต้องเท่ากับและมี
ทิศทางตรงข้ามกับแรง F31 นันคือ
q 3 q1 q3 q 2
kE = kE แก้สมการจะได้วา่
(2 − x) 2 (x) 2

x 2 q1 = (2 − x) 2 q 2

(4.00 − 4x + x 2 )(6 × 10 −6 ) = x 2 (15 × 10 −6 )


แก้สมการกําลังสองเพือหาค่า x จะได้ x = 0.775 m 20

10
q 3 q1 (5 .0 × 10 −6 )(5 .0 × 10 −6 )
F31 = k E = (9 × 10 9 ) = 11 N
(a 2 ) 2 2 ( 0 .10 ) 2

q3 q 2 (5 × 10 −6 )(2 × 10 −6 )
9
F32 = k E = (9 × 10 ) =9 N
a2 (0.1) 2
v
แรง เป็ นแรงผลักและทํามุม 45o กับแกน x ดังนั&นองค์ประกอบใน
F31
v
แนวแกน x และ y ของ แรง F31 มีค่าเท่ากับ F31cos45 o = 7.9 N
v
แรง F32 มีทิศในแกนลบ x ดังนั&น องค์ประกอบในแนวแกน x และ y
ของแรงลัพธ์ทีกระทําบน q3 คือ
F3x = F31x + F32 = 7.9 − 9.0 = −1.1N
F3y = F31y = 7.9 N
สามารถแสดงแรงลัพธ์ทีกระทําต่อ q3 ในรู ปของเวกเตอร์ หน่วยดังนี&
v
v
F3 = (−1.1 î + 7.9 ˆj) N แบบฝึ กหัด จงหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ F3
ตอบ 8.0 N , ทํามุม 98o กับแกน x 21

ตัวอย่ าง 5 มีประจุทีมี ขนาดเท่ากัน 2 ประจุ แต่ละประจุ มีมวล 3.0x10-2 kg


แขวนอยู่อย่างสมดุ ลดังรู ป ระยะทางของเชื อกแต่ละเส้นคือ 0.15 m มุม จงหา
ขนาดของประจุบนทรงกลมแต่ละอัน วิธีทาํ
sin θ = a / L
a = L sin θ = 0.15 sin 5 o = 0.013 m

ระยะห่างระหว่างทรงกลม = 2a = 0.026 m
∑ Fx = T sin θ − FE = 0
∑ Fy = T cos θ − mg = 0
T = mg/cosθ
FE = mg tan θ
รู ป (a) ทรงกลม 2 อันทีเหมือนกันแต่ละอันมี
= (3.0 × 10 −2 )(9.8) tan5o
ประจุ q อยูใ่ นภาวะสมดุล
(b) แผนภาพทรงกลมอิสระทางด้านซ้าย = 2.6 × 10 − 2 N 22

11
2
q
จากกฎของคูลอมบ์ ขนาดของแรงทางไฟฟ้ าคือ FE = k E
r2
เมือ r = 2a = 0.026 m
2
q คือขนาดของประจุในทรงกลมแต่ละอัน ทําการแก้สมการเพือหาค่า q

2 FE r 2 ( 2 .6 × 10 − 2 )( 0 .026 ) 2
q = =
kE 9 × 10 9
q = 4 .4 × 10 − 8 C

แบบฝึ กหัด ถ้าประจุบนทรงกลมเป็ นประจุลบต้องเพิมอิเลกตรอนอีกกีตัว


เพือจะทําให้ประจุสุทธิ มีค่า -4.4x10-8 C
ตอบ 2.7x1011 ตัว
23

สรุป 1. กฏของคูลอมบ์
• ประจุไฟฟ้ าเหมือนกันผลักกัน ประจุไฟฟ้ าต่างกันดูดกัน
• ประจุไฟฟ้ าหน่วยเล็กทีสุดในธรรมชาติคือประจุของอิเลคตรอน (ประจุลบ)
หรื อโปรตอน(ประจุบวก) ซึงมีขนาดเท่ากับ 1.6x10-19 C
• กฎของคูลอมบ์ :
ขนาดของแรงทางไฟฟ้ า FE ระหว่างประจุ q1 และ q2 ทีอยูห่ ่างกันเป็ นระยะทาง r
q1q 2 1
FE = k E where k E = = 9x109 N ⋅ m2 / C2
r2 4πε0
• ระบบประจุ n ตัว ประจุ q1, q2,…,qn แรงลัพธ์ทีประจุใดๆ กระทําต่อประจุ qi
จะหาได้จากผลบวกเวกตอร์ของแรงระหว่างประจุแต่ละคู่ตามสมการ
v
Fi เป็ นแรงลัพธ์ทีกระทําต่อประจุ qi
v n v n qq
Fi = ∑Fij = kE ∑ 2 r̂ij
i j v
Fij เป็ นแรงไฟฟ้ าทีกระทําต่อประจุ qi โดย qj
j≠i j≠i rij r̂ij คือเวกเตอร์ หนึ งหน่วย มีทิศออกจาก qjไปยัง qi
แรง Fij เป็ นบวก จะเป็ นแรงผลัก rij คือระยะห่ างระหว่าง qi กับ qj
แรง Fij เป็ นลบ จะเป็ นแรงดูด 24

12
กฎของคูลอมบ์ยงั อธิบายได้อีกว่า แรงไฟฟ้ าทีเกิดขึ&นกระทํากันเป็ นคู่ๆ แม้วา่ จะมีประจุ
อืนๆ มาวางอยูใ่ กล้ก็ตาม แสดงว่าแรงกระทําระหว่างประจุคู่หนึงจะไม่เปลียนเลย เมือ
มีประจุทีสามเข้ามาเกียวข้อง นันคือ ไม่วา่ ระบบจะประกอบด้วยประจุไฟฟ้ าจํานวน
เท่าใดก็ตาม กฎของคูลอมบ์สามารถใช้คาํ นวณหาแรงระหว่างประจุทุกๆ คู่ได้
เช่น ถ้าประจุ q1, q2 และ q3 อยูใ่ นตําแหน่ ง
q1 ใดๆ ดังรู ป แรงทีกระทําบน q3 เนืองจาก q1
- และ q2 จะหาได้v
จากผลรวมแบบเวกเตอร์
v
r31 r̂31 ระหว่างแรง F31 และ F32
v v v
v q2 F3 = F31 + F32
q3 F32 r̂32
v - r32
+ v q q
แรงผลัก
F31 F31 = k E 32 1 r̂31
r31
v v
F32 = − k E 32 2 r̂32 แรงดูด
F3 q q
r32
25

คําถามและแบบฝึ กหัดเพิม เติม


http://www.physics.sci.rit.ac.th/charud/oldnews/48/magnetic/OnlineTest_V4/index.asp

26

13
เอกสารประกอบการค้ นคว้ า
ภาควิชาฟิ สิ กส์. เอกสารประกอบการสอนฟิ สิ กส์เบื&องต้น, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ภาควิชาฟิ สิ กส์. ฟิ สิ กส์2, คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
D.C. Giancoli. Physics Principles with Applications, 3rded., Prentic-Hall,
ISBN: 0-13-666769-4, 1991.
D. Halliday, R.Resnick and K.S. Krane. Volume Two extended Version Physics, 4th ed.,
John Wiley & Sons, 1992.
R.A.Serway, Physics for Scientists & Engineers with Modern Physics, 4th ed., 1996.
http://www.physics.sci.rit.ac.th/charud/howstuffwork/electro-mag/electro-magthai1.htm
http://www.skn.ac.th/skl/skn422/file/field.htm
http://www.physics.uoguelph.ca/tutorials/tutorials.html
http://www.thinkquest.org/library/site_sum.html?tname=10796&url=10796/index.html
http://www.launc.tased.edu.au/online/sciences/physics/tutes1.html
http://www.colorado.edu/physics/2000/index.pl
http://www.dctech.com/physics/tutorials.php
http://www.physics.sci.rit.ac.th
http://www.physics.sci.rit.ac.th/charud/oldnews/48/magnetic/OnlineTest_V4/index.asp 27

14

You might also like