Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 41

1

ประเทศสหรัฐอเมริกา
(The United States of America)

เมื่อกลาวถึงระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม คนทั่วไปมักจะนึกถึงประเทศสหรัฐอเมริกาเกือบ
ทั้งสิ้น จึงไมอาจปฏิเสธความสําคัญของสหรัฐอเมริกาในระบบเศรษฐกิจการเมืองของโลกได โดย
เฉพาะอยางยิ่งในประเด็นความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกิดขึน้
อยางรวดเร็ว ทั้งๆ ที่สหรัฐอเมริกาเปนประเทศที่เพิ่งกําเนิดมา 200 กวาปเทานั้น ดังนั้นจึงเปนเรื่องที่
นาสนใจที่จะศึกษาการพัฒนาของระบบเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน

การพัฒนาระบบเศรษฐกิจของประเทศสหรัฐอเมริกา
สหรัฐอเมริกาเปนประเทศหนึ่งในโลกที่ไดรับเอาแนวคิดเสรีนิยมและการพัฒนาอุตสาห
กรรมที่เกิดขึ้นในยุโรปชวงคริสตศตวรรษที่ 17-18 ไปมากที่สุด ในชวงหลังสงครามอิสรภาพในป
1776 ที่สหรัฐอเมริกาประกาศตัวเองเปนอิสระไมยอมตกเปนอาณานิคมของอังกฤษอีกตอไปนั้น จะ
พบวาการเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมตางๆเจริญกาวหนาอยางมาก นอกจากนี้มีการขยายตัวของ
การคมนาคมขนสง เริ่มจากการสรางถนน ขุดคลอง การใชเรือกลไฟขนสงในแมนา้ํ และการสราง
ทางรถไฟ ทําใหมีการอพยพของประชากรขยายตัวไปทางตะวันตกบุกเบิกที่ดินเปนเขตเกษตรกรร
มมากขึ้น และในขณะเดียวกันก็มีสวนกระตุนใหการพัฒนาอุตสาหกรรมขยายตัวดวยเชนกัน นอก
จากนี้ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรปก็มีสวนสําคัญ เพราะกอใหเกิดมีการนําเทคโนโลยีการ
ผลิตใหมๆรวมทั้งเครื่องจักรเขาสูระบบโรงงาน

การพัฒนาระบบเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาในชวงป ค.ศ. 1815-1973


สหรัฐอเมริกาเปนประเทศทีไ่ ดรับการถายทอดวิชาการทางเทคนิคจากการปฏิวัติอุตสาห
กรรมในระหวาง ค.ศ. 1815-1914 ซึ่งทําใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและวัฒนธรรมแบบใหมที่มีผล
ตอการเปลี่ยนแปลงทางดานบุคคล สังคม การเมือง และเศรษฐกิจ เชน ทําใหเกิดการคาขายผลผลิต
ที่ผลิตได มีจํานวนแรงงานในสาขาเกษตรลดนอยลง คนมีการศึกษาดีขึ้น มีการใชวทิ ยาการทันสมัย
ในการผลิต และมีการรวมตัวเปนรัฐชาติมากขึ้น (G.Dalton, 1974) การพัฒนาอุตสาหกรรมทําให
เกิดผลดานเศรษฐกิจ เชน มีสินคาบริโภคชนิดใหมๆ มีเครื่องมือเครื่องใชใหม มีแหลงพลังงานมาก
ขึ้น และมีสาขาบริการมากขึ้น ผลของการพัฒนาอุตสาหกรรมทางดานอื่นๆ เชน ทางดานการเมืองก็
มีมากขึ้น เชน การนิยมมีอาณานิคมในบริเวณเกาะทะเลคาริเบียน และเขาครองประเทศฟลิปปนส
ในชวงป ค.ศ. 1815-1925 สหรัฐอเมริกาเต็มไปดวยผูผ ลิตรายยอย ซึ่งแตละคนมีบทบาทตอ
ตลาดในการผลิตสินคาและบริการ ในขณะเดียวกัน ผูบริโภคก็มีอํานาจในการเลือกซื้อสินคา ซึ่ง
2

เปนลักษณะของตลาดแขงขันสมบูรณ ในชวงป ค.ศ. 1875-1929 ไดมีผูผลิตรายใหญ หรือทุนนิยม


แบบผูกขาดเกิดขึ้นมากมาย โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมหลัก เชน เคมี ไฟฟา รถยนต น้ํามัน เหล็ก
ฯลฯ การรวมตัวของผูผลิตทั้งลูกจาง และกลุมเกษตรกรมีมากขึ้น อํานาจของผูบริโภคก็ลดลง ใน
ชวงป 1930 – 1940 ไดมวี ิกฤติการณเศรษฐกิจตกต่ําทัว่ โลก ระบบเศรษฐกิจมีการเนนดานรัฐ
วิสาหกิจมากขึน้ กลไกตลาดจึงมีรัฐเขามาควบคุม ทั้งในดานการจางงาน การผลิต และรายได จาก
นั้น ในป ค.ศ. 1945 เปนตนมา ระบบก็ไดเปลี่ยนเปนทุนนิยมแบบควบคุมหรือแบบบังคับ ซึ่งรัฐ
บาลเขามาเกี่ยวของมากยิ่งขึน้ ในดานเศรษฐกิจ มีการตัง้ หนวยงานทางเศรษฐกิจมากมายเพื่อศึกษา
และวิเคราะห ตลอดจนสรางความเจริญเติบโตใหแกประเทศ การเขามาเกี่ยวของของรัฐบาลนี้ก็มี
ขอบเขตจํากัดอยูมาก และจํากัดมากกวาประเทศทุนนิยมหลายๆประเทศ เชน ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม เน
เธอรแลนด ญี่ปุน เปนตน
ในชวงป ค.ศ.1961-1965 ธุรกิจขนาดใหญและสหภาพแรงงานไดมีสวนชวยใหเกิดภาวะ
เงินเฟอในประเทศ รัฐบาลไดเขามาควบคุมราคาสินคาและคาจาง และใชนโยบายดานการคลังทําให
ผลผลิตขยายตัว แตก็มีขอบกพรองในเรื่องการแกปญหาทางเศรษฐกิจ เชน การใชนโยบายการคลัง
ซึ่งทําใหเกิดผลลาชา รัฐบาลยังไมสามารถกําหนดนโยบายดานรายไดที่แนนอนได
ในชวงป ค.ศ.1966 – 1968 รัฐบาลก็ยงั มีปญหาภาวะเงินเฟอ ไดมกี ารเสนอใหควบคุมการ
บริโภค และการลงทุนของเอกชน เมื่อรัฐบาลไดใชจายและลงทุนมากขึ้น แตก็ไมมนี โยบายทีแ่ นชัด
ในเรื่องเหลานี้
ในชวงป ค.ศ.1969-1973 ปญหาภาวะเงินเฟอก็ยังมีอยูเ รื่อยมา ทั้งนี้เพราะปญหาของการขึ้น
อัตราคาจาง ไดมีการเสนอใหมีการควบคุมราคาสินคาและคาจาง โดยเฉพาะในกิจการขนาดใหญ
และควบคุมบทบาทของสหภาพแรงงานสําคัญๆในการตอรอง สภาพการคาระหวางประเทศก็เลว
ลงมาก มีดุลการชําระเงินขาดดุลเรื่อยมาตัง้ แตป ค.ศ.1967 คาของเงินดอลลารลดต่ําลง และตั้งแตป
ค.ศ. 1973 เปนตนมา การขึน้ ราคาน้ํามันก็ผลตอภาวะเงินเฟอในประเทศนี้อยางเห็นไดชัด รัฐบาล
ตองเขามากําหนดหลักการดานนโยบายการเงินและการคลังหลายประการเพื่อแกไขภาวะนี้
อาจกลาวไดวา ระบบเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาไดเปลีย่ นแปลงจากตลาดแขงขันสมบูรณ
มาเขาสูระบบเศรษฐกิจทุนนิยมสมัยใหม (Grossman, 1974) ซึ่งมีดุลยภาพทางการเมืองและ
เศรษฐกิจระหวางหนวยเศรษฐกิจ คือ รัฐบาลและสหพันธกรรมกร โดยที่ธุรกิจก็ยอมรับการเขามา
เกี่ยวของของรัฐบาล เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ สนับสนุนความเจริญเติบโต เปนตน ปญหา
เศรษฐกิจเกีย่ วกับความเจริญเติบโต การจางงาน เสถียรภาพของราคาสินคา ตลอดจนขาดดุลการ
ชําระเงิน เปนปญหาที่เรื้อรังและไมสามารถแกไขใหสําเร็จลุลว งไปไดในชวงเวลานัน้ ๆ ซึ่งพิจารณา
ไดจากตารางที่ 1
ตารางที่ 1. ขอมูลแสดงสภาวะเศรษฐกิจของประเทศสหรัฐอเมริกาในชวง ค.ศ.1929 - 1969
3

1929 1939 1949 1959 1969


ผลิตภัณฑมวลรวมแหงชาติ 314.6 319.7 490.7 720.4 1,078.7
(พันลานเหรียญสหรัฐ)
(1972=100)
รายไดประชาชาติ 84.8 71.3 212.7 397.1 767.9
(พันลานเหรียญสหรัฐ)
รายไดที่ใชจายไดจริงตอคน 1,886 1,756 2,253 2,696 3,515
(เหรียญสหรัฐ)
(1972=100 DI/คน)
อัตราสวนรอยละของการวางงาน 3.2 17.2 5.9 5.5 3.5
ดัชนีการผลิตภาคอุตสาหกรรม 21.6 21.7 38.8 64.8 111.1
(1967=100)
ดัชนีราคาขายสง 49.1 39.8 78.7 94.8 106.5
(1967=100)
ดัชนีผลผลิตในฟารม 54 58 74 89 102
(1967=100)
อัตราสวนรอยละของประชากรที่ทํางานใน 25.1 23.5 16.2 9.4 5.1
ฟารม
ดัชนีพืชผล/เอเคอร 56 60 70 85 106
(1967=100)
จํานวนชั่งโมงทํางานในฟารม(พันลาน) 23.2 20.7 16.2 10.3 6.2
อัตราสวนรอยละของอุตสาหกรรมในมูลคา - - 23 23 25
ผลิตภัณฑประชาชาติเบื้องตน
อัตราสวนรอยละของเกษตรกรรมในมูลคา - - 5.6 4 3
ผลิตภัณฑประชาชาติเบื้องตน
จํานวนประชากร(พันคน) 121,875 131,028 149,188 177,073 202,677

ที่มา : United States Government, “Economic Report of the President.” U.S.Government Printing
Offict, Wasington, 1977.

การพัฒนาทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาในชวงป 1974 จนถึงปจจุบัน


4

จนถึงปจจุบันแมวาสหรัฐอเมริกาจะมีธุรกิจขนาดใหญจํานวนมากที่เปนที่รูจักกันดีทวั่ โลก
แตธุรกิจที่เปนรากฐานที่แทจริงของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา คือ ธุรกิจขนาดเล็กซึ่งเปนแหลงรวม
แรงงานสวนใหญของประเทศเอาไว มีการประมาณการณวาในระหวางป 1990 – 1995 ธุรกิจขนาด
เล็กสรางแรงงานใหมๆ ขึ้นในสหรัฐอเมริกาในอัตรา 3 ใน 4 ของแรงงานใหมๆทั้งสิ้นที่เกิดขึน้ ใน
ชวงระยะเวลาดังกลาว นอกจากนี้ธุรกิจขนาดเล็กยังเปนแหลงผลิตแรงงานกลุม ใหมคือแรงงานสตรี
แรงงานสูงอายุ และแรงงานที่เปน part-time
จากสถิติของ U.S. Small Business Administration (SBA) ระบุวารอยละ 52 ของแรงงาน
ทั้งสิ้นในประเทศเปนแรงงานรับจางในธุรกิจขนาดเล็ก และรอยละ 99 ของธุรกิจขนาดเล็กเหลานี้มี
การจางแรงงานในไมเกิน 500 คน คนงานสหรัฐอเมริกาประมาณ 19.6 ลานคน เปนแรงงานรับจาง
ในบริษัทที่มีลกู จางไมเกิน 20 คน ประมาณ 18.4 ลานคน เปนแรงงานรับจางในบริษัทที่มีลูกจางใน
ระหวาง 20 – 99 คน และ ประมาณ 14.6 ลานคน เปนแรงงานรับจางในบริษัทที่มีลูกจางระหวาง
100 – 499 คน ในขณะที่ 47.7 ลานคน เปนแรงงานรับจางในบริษัทที่มีลูกจางเกินกวา 500 คนขึ้นไป
ธุรกิจขนาดเล็กเหลานี้ มีคุณสมบัติสําคัญ คือ สามารถปรับตัวตอบสนองตอการเปลี่ยน
แปลงทางเศรษฐกิจไดอยางรวดเร็ว หลายรายสามารถเติบโตอยางรวดเร็วและกลายเปนธุรกิจขนาด
ใหญที่มีความสําคัญตอเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาและของโลก ยกตัวอยางเชน Microsoft, Federal
Express และ Nike เปนตน
ในขณะที่ธุรกิจขนาดเล็กมีบทบาทสําคัญในฐานะเปนรากฐานของโครงสรางทางเศรษฐกิจ
ของสหรัฐอเมริกา ธุรกิจขนาดใหญในระดับ corporation มีบทบาทที่เห็นไดเดนชัดกวาตอเศรษฐกิจ
โดยรวมของประเทศ เนื่องจากธุรกิจขนาดใหญนี้ใหบริการแกผูบริโภคในจํานวนมากและสามารถ
เสนอขายสินคาไดในราคาทีต่ ่ํากวาธุรกิจขนาดเล็ก และมีโอกาสที่จะเขาถึงแหลงเงินสนับสนุนได
มากกวาและงายกวาธุรกิจขนาดเล็ก ทําใหธุรกิจขนาดใหญมีความสําคัญตอเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา
ในฐานะเปนบอเกิดของการวิจัยและการพัฒนาสินคาใหมๆที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วและกวางขวาง ใน
สหรัฐอเมริกาเปนแหลงจางแรงงานหลายหลากชนิด ที่มีความมั่นคงของการจางงานและการใหผล
ตอบแทนดานการเงินในระดับที่สูงกวาธุรกิจขนาดเล็ก

ระบบเศรษฐกิจ
กฎหมายรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกากําหนดไววา เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะตองเปนไป
ในลักษณะตลาดที่รวมเปนหนึ่งเดียว หรือ common market ที่ไมมีการเก็บภาษีในการคาระหวางมล
รัฐ ประชากรมีเสรีภาพในการประกอบธุรกิจของตน โดยรัฐบาลเขาไปแทรกแซงในระดับต่ํา บท
บาทของรัฐบาลกลางในระบบเศรษฐกิจของประเทศถูกจํากัดหนาที่เฉพาะในการควบคุมระบบการ
คาภายในประเทศและระหวางประเทศ โดยผานทางการจัดทํากฎหมายตางๆที่เกี่ยวของและการควบ
คุมการจัดสรางเงินตราและการกําหนดมูลคาของเงินตรา
5

จากขอกําหนดในกฎหมายรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา สงผลใหเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาเปน
ไปในรูปแบบของเศรษฐกิจการตลาด หรือการคาขายเสรี ที่อยูบ นรากฐานของความสัมพันธ
ระหวางอุปทานและอุปสงคหรือความพอใจ และการตกลงใจระหวางผูซื้อและผูขายเปนตัวกําหนด
ราคาและประเภทของสินคาที่จะถูกผลิตปอนตลาด ตัวจักรกลสําคัญ คือ เจาของธุรกิจ ภาครัฐบาล
หรืออิทธิพลของภาคเอกชนกลุมใดกลุมหนึ่ง เขาไปมีอิทธิพลควบคุมระบบในระดับต่ํามาก
เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา มีลักษณะเปนระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมที่มีความสลับซับซอน
ในระดับสูงมาก อุตสาหกรรมการผลิตและอุตสาหกรรมการบริการมีบทบาทสําคัญตอระบบ
เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาในระดับที่เทาเทียมกัน จํานวนแรงงานสวนใหญของสหรัฐอเมริกาจะอยูใน
ระบบอุตสาหกรรมการบริการมากกวาอุตสาหกรรมการผลิต
ตัวจักรกลสําคัญที่ขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาปจจุบัน คือ การดําเนินธุรกิจใน
ลักษณะ “corporation” หรือการรวมกลุมของเจาของบริษัทในลักษณะผูถือหุน จัดตั้งและดําเนิน
ธุรกิจภายใตกฎระเบียบและขนบธรรมเนียมที่ซับซอน เงินทุนในการดําเนินธุรกิจของ corporation
มาจากรายไดจากการขายหุนหรือพันธบัตรใหแกบริษัทประกันภัย ธนาคาร นักลงทุนอื่นๆหรือ
บุคคลทั่วไป เปนตน หรือจากการกูย ืมเงินจากธนาคารหรือสถาบันการเงินตางๆ ทั้งนี้การดําเนินการ
ตางๆของ corporation อยูภายใตการบริหารของนักบริหารมืออาชีพ ที่จะเปนผูจดั ทํา กลยุทธในการ
ไดมาซึ่งทรัพยากรตางๆ ทั้งดานวัตถุดิบ เงินทุน แรงงาน และเทคโนโลยี เพื่อการผลิตสินคาและ
บริการที่จะใหผลกําไรแกบริษัทมากที่สุด
กลยุทธตางๆที่ใชในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา มีความยืดหยุน ในระดับ
สูงมาก ซึ่งหมายถึงการดําเนินโยบายดานการวางแผนการลวงหนาระยะยาวเปนไปในระดับต่ํา แต
จะใหความสําคัญอยางสูงตอสมรรถนะในการแขงขันในตลาดโลก
จากการที่สหรัฐอเมริกา มีความเชื่อวาภาคเอกชนสามารถดําเนินธุรกิจไดมีประสิทธิภาพ
กวาภาครัฐบาล สงผลทําใหบทบาทและอิทธิพลของภาครัฐบาลในดานการควบคุมระบบเศรษฐกิจ
ของประเทศถือไดวาอยูในระดับต่ํา อยางไรก็ตาม ความรวมมือระหวางภาครัฐบาลและภาคเอกชน
ในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจถือวาอยูในระดับสูง บทบาทของภาครัฐบาลสวนใหญจะเปน
ไปในดานการดูแลควบคุมกิจกรรมตางๆทางเศรษฐกิจผานทางการออกกฎหมายตางๆ ที่จะปองกัน
ไมใหธุรกิจใดธุรกิจหนึ่งหรือกลุมบุคคลใดกลุมบุคคลหนึ่งถือครองอํานาจทางเศรษฐกิจไวในมือใน
ระดับที่มากเกินไป จนอาจกอใหเกิดอันตรายตอโครงสรางของเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศได
และทําการเฝาสังเกตสัญญาณตางๆ ที่บงบอกถึงภัยอันตรายที่อาจจะมีตอเศรษฐกิจของประเทศเชน
สภาวะเงินเฟอเปนตนและหาทางปองกันไมใหเกิดสภาวะการณดังกลาวขึ้น

บทบาทของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ
1. การรักษาเสถียรภาพการเติบโตของเศรษฐกิจผานทางนโยบายดานการเงิน
6

2. การควบคุมเศรษฐกิจโดยการออกกฎหมาย กฎระเบียบ
การออกกฎหมายเพื่อควบคุมระบบเศรษฐกิจโดยรัฐบาล แบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้
2.1 กฎหมายเศรษฐกิจที่เปนไปเพื่อการดูแลและควบคุมเสถียรภาพดานราคา
2.2 กฎหมาย Antitrust law ที่เปนไปเพือ่ การเสริมสรางความแข็งแกรงของตลาด
โดยการประกันความเสมอภาคของความสามารถในการแขงขันของตลาด
3. การใหบริการโดยตรงผานทางการดําเนินงานของหนวยงานรัฐบาลทุกระดับ ในกิจกรรม
ตางๆ ที่เปนการสนับสนุนการจางงาน การพัฒนาคุณภาพของแรงงาน การพัฒนาอาชีพ
และการพัฒนาผลิตภัณฑ เปนตน
4. การใหความชวยเหลือโดยตรงแกภาคธุรกิจและเอกชนทัว่ ไป โดยผานทางกิจกรรมตางๆ
เชน การใหกูยืมเงินโดยเสียดอกเบีย้ ในระดับต่ําและการใหการสนับสนุนดานเทคโนโลยี
ตอภาคธุรกิจขนาดเล็ก การใหกยู ืมเงินเพื่อการศึกษา การสงเสริมธุรกิจการสงออก การให
ความชวยเหลือทางดานการเงิน และบริการพิเศษแกบุคคลพิการและบุคคลยากจน เปนตน

นโยบายดานเศรษฐกิจและสังคม
การดําเนินนโยบายดานเศรษฐกิจและสังคมของสหรัฐอเมริกาดําเนินไปภายใตการ
สนับสนุนของนโยบายสําคัญ 2 ประการคือ
1. นโยบายการเงินที่เปนรายไดและรายจายของแผนดิน ซึ่งไดแกการเก็บภาษีอากรและการ
ใชจายเงิน ขบวนการจัดทํานโยบายนี้เกิดขึ้นทุกป เมือ่ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาจัดทําขอเสนอขอ
เงินงบประมาณสงใหสภาคองเกรสสหรัฐอเมริกาพิจารณาในชวงตนเดือนกุมภาพันธ ฝายนิติ
บัญญัติของสหรัฐอเมริกาจะทําการพิจารณาขอเสนอของประธานาธิบดีในหลายขัน้ ตอน โดยเริ่ม
จากการพิจารณาระดับการใชจายเงินและภาษีอากร หลังจากนั้นก็จะแบงตัวเลขทั้งหมดออกไปตาม
ประเภท เชน คาใชจายในการปองกันประเทศ การใหบริการสุขภาพและสังคม และการขนสง
เปนตน ทายสุดสภาคองเกรสจะทําการพิจารณารางกฎหมายที่เกี่ยวของเปนเรื่องๆไปเพือ่ ตัดสินวา
แตละรายการจะตองใชเงินเทาใด กอนที่จะสงตอรางกฎหมายที่ผานการยินยอมแลวไปให
ประธานาธิบดีลงนาม ถือเปนอันสิ้นสุด ซึ่งอาจจะเปนในเดือนกันยายนปเดียวกันหรือลาชากวานั้น
2. นโยบายดานการเงินที่เปนการบริหารอุปทานดานการเงิน โดย Federal Reserve System
ซึ่งเปนหนวยงานอิสระของรัฐบาลประกอบไปดวย Federal Reserve Banks ระดับภูมิภาคจํานวน 12
แหงและสาขาของ Federal Reserve Bank จํานวน 25 สาขา กฎหมายกําหนดใหธนาคารพาณิชยทกุ
แหงที่เปน chartered bank เปนสมาชิกของ Federal Reserve Bank ธนาคารพาณิชยที่เปน
Non-chartered bank จะเปนสมาชิกหรือไมเปนก็ไดตามแตความสมัครใจ
Federal Reserve System บริหารงานโดย Federal Reserve Board of Governors ที่มีสมาชิก
รวมทั้งสิ้น 7 นาย ทีม่ าจากการแตงตั้งโดยประธานาธิบดีและอยูในตําแหนงครั้งละนาน 14 ป
7

กฎหมายใหอํานาจ Governors ทั้ง 7 นาย ปฏิบัติหนาที่อยางเปนอิสระจากอํานาจการควบคุมของ


สภาคองเกรสและประธานาธิบดี
การตัดสินใจนโยบายดานการเงินของประเทศเปนหนาทีข่ อง Federal Open Market
Committee (FOMC) ซึ่งประกอบไปดวย Federal Reserve Board of Governors ทั้ง 7 นาย ประธาน
Federal Reserve Bank สาขานิวยอรค และประธานของ Federal Reserve Bank อื่นๆ อีก 4 นายที่รบั
หนาที่หมุนเวียนกันไป
คาใชจายในการดําเนินงานของ Federal Reserve Bank มาจากเงินรายไดและคาธรรมเนียม
การลงทุนตางๆที่ Federal Reserve Bank จะตองหามาเอง
ในการควบคุมและดูแลรักษาอุปทานเงินตราและเครดิตในระบบเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา
Federal Reserve Bank จะดําเนินการใน 3 ลักษณะคือ
1. “Open market operations” หรือ การซื้อและขายพันธบัตรรัฐบาล การเพิ่ม การซื้อ
หรือการขาย และการลดการซื้อหรือการขาย เปนกลไกในการควบคุมจํานวนอุปทานและอุปสงค
ของเงินตราที่หมุนเวียนอยูในตลาด
2. การระบุจํานวนเงินสํารองที่เปนเงินฝากที่ธนาคารจะตองเก็บแยกไว ไมวาจะเปนใน
รูปของตัวเงินในตูเซฟของธนาคารหรือการฝากเก็บไวที่ Reserve Bank การระบุตัวเลขจํานวนเงิน
สํารองขางตนไปในทางเพิ่มขึ้นหรือลดลง ถือเปนกลไกอีกประการหนึ่งในการควบคุมจํานวนอุป
ทานและอุปสงคของเงินตราที่หมุนเวียนอยูในตลาด เพื่อใหมีจํานวนเงินสํารองครบตามขอกําหนด
ของ Federal Reserve Bank ธนาคารตางๆจะทําการยืมเงินซึ่งกันและกัน อัตราดอกเบี้ยการกูย ืมนี้ที่
เรียกวา “federal funds rate” จะเปนตัววัดระดับนโยบายดานการเงินของสหรัฐฯในขณะนั้นวามี
ความตึงตัวมากนอยเพียงใด
3. อัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารพาณิชยตอ งจายชําระคืนในการขอยืมเงินทุนจาก Reserve
Bank ซึ่ง Federal Reserve จะใชการเพิ่มหรือลดอัตราดอกเบี้ยเปนเครือ่ งมือในการสงเสริมหรือไม
สงเสริมการกูยืมเงินซึ่งจะสงผลกระทบตอจํานวนเงินที่ธนาคารพาณิชยมีปลอยใหเอกชนกูยืม

การคาตางประเทศ
สหรัฐอเมริกาเปนประเทศที่ใหญที่สุดในโลกที่มีบทบาทสําคัญสูงสุดในตลาดการคาโลก
ทั้งในดานการนําเขาและการสงออกทั้งสินคาและบริการ การคาตางประเทศของสหรัฐอเมริกาคิด
เปนอัตราสวนประมาณรอยละ 20 ของการคาผลิตภัณฑสินคารวมทั้งสิ้นทั่วโลก และคิดเปน
ประมาณรอยละ 16 ของการคาสินคาบริการทั่วโลก
มูลคาการคาของสหรัฐอเมริกานับตั้งแตป 1970 เปนตนมา มีการเติบโตเพิ่มขึ้นประมาณ 24
เทา และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 70 นับตั้งแตป 1994 มาจนถึงปจจุบัน ซึ่งแมวาระดับมูลคาการคาตาง
ประเทศของสหรัฐอเมริกาจะเริ่มลดลงในป 2001 แตก็ยงั ถือไดวาสูงกวาในป 1994 และอัตราการ
8

เติบโตของการคาตางประเทศสหรัฐอเมริกาในระหวางป 1994 – 2001 สูงกวาอัตราการเติบโตของ


เศรษฐกิจโดยรวมของสหรัฐอเมริกาในชวงระยะเวลาเดียวกัน การเติบโตของมูลคาการคาสหรัฐ
อเมริกาเกิดขึน้ ทั้งในการคาสงออกและการคานําเขา การคาสงออกของสหรัฐอเมริกาในป 2001 มี
การเติบโตเพิ่มขึ้นจากป 1994 ในอัตรารอยละ 58 ในระยะเวลาเดียวกันการคานําเขาของสหรัฐ
อเมริกามีอัตราเติบโตเพิ่มขึ้นรอยละ 82
ป 2001 เปนปแรกนับตั้งแตป 1995 เปนตนมาที่ระดับการขาดดุลการคาตางประเทศสินคา
และบริการของสหรัฐอเมริกาลดลงเปนครั้งแรก และเปนการลดลงมากที่สุดนับตั้งแตป 1991
เปนตนมา และเปนครั้งแรกนับตั้งแตป 1991 ที่ระดับการขาดดุลการคาตางประเทศของผลิตภัณฑ
สินคาลดลง การคาสินคาบริการยังคงไดดุลการคาตางประเทศแตคิดเปนอัตราการเติบโตที่ต่ํามาก

แนวนโยบาย
เนนนโยบายการคาเสรีโดยมีความเชื่อวาการเปดการคาเสรีกับประเทศตางๆจะเปนผลดีตอ
ระบบเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา ในแงที่วาเปนการเปดตลาดตางประเทศใหแกสินคาที่ผลิตไดใน
สหรัฐอเมริกาและเปนผลดีตอ การเมืองของสหรัฐอเมริกาในแงทวี่ าเปนการสรางความสัมพันธกับ
ประเทศตางๆในโลก ปจจุบันสหรัฐอเมริกากําลังเรงทําความพยายามในการหาทางเปดการเจรจา
การคากับหลายๆ ประเทศในภูมิภาคตางๆทั่วโลกทั้งในยุโรป ลาตินอเมริกา และเอเซีย
แมวาในหลักการแลว แนวนโยบายดานการคาตางประเทศของสหรัฐอเมริกา คือ การเปด
การคาเสรี ในทางปฏิบัติในปจจุบัน สหรัฐอเมริกาเริ่มมีความระมัดระวังเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ตอการ
ดําเนินนโยบายการคาเสรี ทั้งนี้เปนผลมาจากชองวางของการเสียดุลการคาตางประเทศที่ขยายกวาง
ออกไปมากยิ่งขึ้นทุกป นับตั้งแตทศวรรษที่ 80 เปนตนมา สภาสูงสหรัฐอเมริกาไดลดระดับการ
สนับสนุนนโยบายการคาเสรีลงเรื่อยๆ และไมสนับสนุนหลักการทีจ่ ะใหประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา
มีอํานาจเสรีในการเจรจาและจัดทําขอตกลงดานการคา ในขณะทีส่ ภานิติบัญญัติไดหาหนทางออก
กฎหมายตางๆขึ้นมาเพื่อปกปองอุตสาหกรรมในประเทศจากผลกระทบรายแรงที่มาจากการคาตาง
ประเทศ อยางไรก็ตาม ปจจุบนั ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกายังคงมีอํานาจเสรีในการตัดสินใจเจรจา
และจัดทําขอตกลงดานการคากับประเทศคูค าตางๆของสหรัฐอเมริกาโดยไดรับการแทรกแซงจาก
สภาสูงในระดับต่ํา และสหรัฐฯยังคงดําเนินนโยบายการคาเสรีอยางเขมแข็ง
ขอตกลงทางการคาที่สหรัฐอเมริกาทํากับประเทศตางๆ จะเนนไปที่การเปดโอกาสให
ประเทศคูสัญญาเขาสูตลาดสหรัฐอเมริกาไดฐานะคูคาทีไ่ ดรับสิทธิพิเศษบางประการ โดยแลก
เปลี่ยนกับการปฏิบัติตางๆที่จะเปนการเพิ่มโอกาสการสงออกของสหรัฐอเมริกาเขาสูตลาดนั้นๆ
เงื่อนไขสําคัญๆ ที่สหรัฐอเมริกามักจะระบุเพื่อเปนขอแลกเปลี่ยน
1. การยกเลิกขอกีดกันทางการคา โดยการลดพิกัดศุลกากรหรือยกเลิกขอกีดกันอืน่ ทางการคา
ที่ไมใชพิกัดศุลกากรตอสินคาสงออกของสหรัฐอเมริกา
9

2. การขอใหมีการออกกฎหมายทางการคาและการดําเนินธุรกิจการคาอยางโปรงใส กลาวคือ
ทุกคนในประเทศคูสัญญาควรมีความรูและควรปฏิบัติตามกฎระเบียบดานการคาและมี
ความเสมอภาคในการแขงขันทางการคา
3. การผอนผันกฎระเบียบในอุตสาหกรรมตางๆในประเทศคูสัญญาของสหรัฐอเมริกาทํากฎ
ระเบียบนัน้ ๆใหโปรงใส ใหสอดคลองกับการปฏิบัติตามสากล และไมเปนการกีดกัน
บริษัทตางชาติซึ่งไดแก บริษัทของสหรัฐอเมริกา
4. การถือปฏิบัติในเรื่องของมาตรฐานการจางแรงงานใหไดมาตรฐานสากล
5. การใหความสําคัญตอสภาวะแวดลอมจะถูกนํามาเปนเงื่อนไขเปนครั้งคราวขึ้นอยูก ับ
นโยบายของประธานาธิบดีแตละคนวาใหความสําคัญในเรื่องสิ่งแวดลอมมากนอยเพียงใด

นอกจากการทําสนธิสัญญาทางการคา โดยมีวตั ถุประสงคเพื่อสงเสริมการสงออกของ


สหรัฐอเมริกาและความสามารถของสหรัฐอเมริกาในการแขงในตลาดโลกแลว สหรัฐอเมริกายังมี
นโยบายในการทําขอตกลงทางการคาที่เปนการเลือกปฏิบัติตอประเทศคูค าใดประเทศหนึ่ง ซึ่งสวน
ใหญแลวจะเปนประเทศทีย่ ากจนหรือประเทศที่สหรัฐอเมริกาหวังผลทางดานความรวมมือทางการ
เมืองใหสามารถพัฒนาสภาวะเศรษฐกิจของประเทศตนใหดีขึ้น การทําขอตกลงในลักษณะนี้ที่
สําคัญๆ คือ
1. U.S. Generalized System of Preference Program หรือเรียกยอๆวา GSP ที่สหรัฐฯใหความ
ชวยเหลือประเทศคูคายากจนโดยการใหสทิ ธิสินคาบางประการจากประเทศนั้นๆ เขาสู
ตลาดสหรัฐอเมริกาไดโดยไมตองเสียภาษีนําเขา สิทธินี้จะหมดไปเมื่อสหรัฐอเมริกาจะ
พิจารณาแลวเห็นวาสินคาดังกลาวจากประเทศนัน้ ๆสามารถเขาแขงขันในตลาดสหรัฐ
อเมริกาไดโดยไมตองไดรับความชวยเหลือ
2. Caribbean Basin Initiative ที่สหรัฐอเมริกาจัดทําขึ้นเพือ่ ชวยเหลือประเทศยากจนในแถบ
แคริเบียนที่มีความสําคัญในดานเมืองสําหรับสหรัฐอเมริกา โดยการใหสิทธิสินคาจาก
ประเทศเหลานี้เขาสูสหรัฐอเมริกาไดโดยไมตองเสียภาษีนําเขา ทั้งนี้ยกเวนสินคาสิ่งทอ สิน
คาเครื่องหนังบางรายการ น้ําตาล และผลิตภัณฑปโตรเลียม

บอยครั้งที่สหรัฐอเมริกาจะใชนโยบายทางการคาเพื่อผลทางการเมือง โดยการตั้งขอจํากัด
การนําเขาสหรัฐอเมริกาและการสงออกไปยังประเทศทีส่ หรัฐอเมริกาเชื่อวามีพฤติกรรมที่เปนการ
ละเมิดสิทธิมนุษยชน ใหการสนับสนุนผูกอการราย ใหการสนับสนุนการคายาเสพติด หรือมีการ
กระทําที่เปนการสอเจตนาวาจะกอใหเกิดความไมสงบสุขตอประเทศอื่นๆในโลก ปจจุบันประเทศ
ที่เปนเปาหมายของสหรัฐอเมริกาในนโยบายการจํากัดความสัมพันธทางการคา คือ พมา คิวบา อิห
ราน อิรัค ลิเบีย เกาหลีเหนือ ซูดาน และซีเรีย
10

การเขารวมในขอตกลงทางการคาหรือการทําขอตกลงทางการคาของสหรัฐอเมริกาดําเนิน
ไปในทุกรูปแบบ คือ
1. การทําขอตกลงทางการคารวมกับหลายๆชาติ (multilateral trade agreement)
ซึ่งการเขารวมในขอตกลงในลักษณะนี้ครั้งลาสุดของสหรัฐอเมริกา คือ
Uruguay Round เมื่อเดือนกันยายน 1986
2. การทําขอตกลงกับกลุมประเทศตางๆในภูมิภาคใดภูมภิ าคหนึ่ง (regional trade
agreement) เชนการทําขอตกลง North American Free Trade Agreement ในป
1993 กับเม็กซิโกและคานาดา และปจจุบนั สหรัฐอเมริกากําลังหาทางทําขอตก
ลง FreeTrade Area of the Americas กับ 34 ประเทศในภูมภิ าคสหรัฐอเมริกา
เหนือและอเมริกาใตโดยตั้งเปาหมายวาจะกระทําใหสําเร็จภายในป 2005 การ
ทําขอตกลงสองฝายกับประเทศใดประเทศหนึ่ง (bilateral trade
agreement)เชน การทําขอตกลงทางการคาเสรีกับสิงคโปรและชิลี และหาทาง
เริ่มเจรจาการทําขอตกลงทางการคากับมอรอคโค

รูปแบบการคาระหวางประเทศ
การคาตางประเทศของสหรัฐอเมริกาปจจุบันเนนหนักไปในดานของการนําเขา การนําเขา
ทางอุตสาหกรรมซึ่งคิดเปนประมาณรอยละ 83 และการนําเขาสินคาเกษตรซึ่งคิดเปนประมาณรอย
ละ 3 ของการนําเขารวมทั้งสิ้น
ในระหวางป 1994 – 2000 การนําเขารวมทั้งสิ้นของสหรัฐอเมริกามีการเติบโตเพิม่ ขึ้นใน
อัตรารอยละ 73.6 การนําเขาสินคาเพื่อการบริโภคทั่วไปมีการเติบโตเพิ่มขึ้นสูงสุด คือ รอยละ 95.4
สินคาอุปทานเพื่อการอุตสาหกรรมและวัตถุดิบตางๆมีการเติบโตเพิ่มขึ้นรอยละ 74.3 สินคาตนทุน
ตางๆ ยกเวนรถยนตมีการเติบโตของการนําเขารอยละ 59.5 และสินคาอาหารและเครื่องดื่มมีการ
เติบโตของการนําเขารอยละ 51.0
ในป 2001 การนําเขาของสหรัฐอเมริกาเริ่มลดลงเปนครั้งแรกนับตั้งแตป 1991 เปนตนมา
อัตราการเติบโตปตอปของการนําเขาเริ่มลดระดับลงเชนกัน ทั้งนี้เปนผลกระทบมาจากการลดลง
ทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาและของโลกโดยรวม การลดลงของการนําเขาเกิดขึ้นในกลุมสินคา
เพื่อการบริโภคทางธุรกิจ เนื่องมาจากการชะลอตัวของการเติบโตทางธุรกิจของสหรัฐอเมริกา ใน
ขณะที่การนําเขาสินคาเพื่อการบริโภคทั่วไปยังคงมีการเติบโตเพิ่มขึ้น แตอยูในระดับต่ําทั้งนี้ยกเวน
การนําเขาสินคารถยนตและสวนประกอบที่เปนไปในทางลดลง
การคาสงออกของสหรัฐอเมริกาเนนไปที่สนิ คาอุตสาหกรรมที่เปนเทคโนโลยี่ระดับสูง สิน
คาเกษตร และสินคาบริการ การสงออกทางอุตสาหกรรมคิดเปนอัตราสวนประมาณรอยละ 88 และ
11

การสงออกสินคาเกษตรคิดเปนอัตราสวนประมาณรอยละ 7 ของการสงออกผลิตภัณฑสินคารวมทัง้
สิ้น
ในระหวางป 1994 – 2000 การสงออกรวมทั้งสิ้นของสหรัฐอเมริกามีการเติบโตเพิม่ ขึ้นใน
อัตรารอยละ 44.8 การสงออกสินคาตนทุนตางๆ ยกเวนรถยนตมกี ารเติบโตเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ
59.8 สินคาเพื่อการบริโภคทั่วไปมีการเติบโตของการสงออกรอยละ 50.2 สินคาอุปทานอุตสาห
กรรมและวัตถุดิบมีการสงออกเพิ่มขึ้นรอยละ 33.1
ในป 2001 การสงออกโดยรวมของสหรัฐอเมริกาลดลง การสงออกสินคาสําคัญๆ ของ
สหรัฐอเมริกา ซึ่งไดแกสินคาเพื่อการบริโภคทางธุรกิจและสินคารถยนตลดลงทั้งสิ้น
ในแตละปนับตั้งแตป 1976 เปนตนมา สหรัฐอเมริกาทําการนําเขาสินคาจากประเทศตางๆ
ทั่วโลกในมูลคาสูงกวาการสงสินคาที่สหรัฐอเมริกาไดผลิตออกไปจําหนายในตลาดโลก สงผลทํา
ใหสหรัฐอเมริกาอยูในสภาวะเสียดุลการคาตางประเทศในระดับสูงมาตลอด ตั้งแตป 1976 และนับ
ตั้งแตป 2000 เปนตนมา ระดับการเสียดุลการคาตางประเทศของสหรัฐอเมริกาเริ่มมีแนวโนมลดลง
สาเหตุสวนหนึ่งเนื่องจากเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาและเศรษฐกิจโดยรวมของโลกไดเขาสูสภาวะ
ตกต่ํา

นโยบายการนําเขาทั่วไป
การนําเขาสินคาจากตางประเทศของสหรัฐอเมริกา เปนตัวจักรกลสําคัญประการหนึ่งใน
ระบบเศรษฐกิจ ที่มีสวนชวยในการพยุงเศรษฐกิจของประเทศและปองกันไมใหเกิดสภาวะเงินเฟอ
สินคานําเขาเปดโอกาสใหผบู ริโภคสหรัฐอเมริกา สามารถซื้อหาสินคาบริโภคอุปโภคไดในราคาถูก
ทั้งที่เปนการบริโภคสวนบุคคลและเพื่อการบริโภคทางธุรกิจ
ในดานการบริโภคสวนบุคคล สินคานําเขาราคาถูกทําใหผบู ริโภคสหรัฐอเมริกามีอํานาจใน
การซื้อเพิ่มมากขึ้นซึ่งนอกจากจะชวยสรางความอุดมสมบูรณและความสะดวกสบายในการดํารง
ชีพแลว การใชจายเงินของผูบริโภคกอใหเกิดการแพรสะพัดของกระแสเงินและการขยายตัวของ
เศรษฐกิจ
ในดานของการบริโภคทางธุรกิจ สินคานําเขาราคาถูกชวยรักษาตนทุนการดําเนินธุรกิจให
อยูในระดับต่ํา เปดโอกาสใหสามารถทําการผลิตสินคาหรือบริการเสนอขายใหแกผบู ริโภคในราคา
ที่สมเหตุสมผล เพิ่มความสามารถในการแขงขัน และเกิดผลกําไรที่จะชวยใหสามารถทําการขยาย
ตัวทางธุรกิจและการจางแรงงานเพิ่ม ซึ่งสิ่งเหลานี้จะชวยสนับสนุนสภาวะความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
ของประเทศ
อยางไรก็ตาม ในสภาวะการณปจจุบันที่สินคานําเขาไหลบาเขาสูตลาดสหรัฐอเมริกาเพิ่ม
มากขึ้นเรื่อยๆ ทําใหหลายฝายในสหรัฐอเมริกาเริ่มวิตกกังวลวาสินคานําเขากําลังกอใหเกิดอันตราย
เพิ่มมากยิ่งขึน้ ตออุตสาหกรรมการผลิตภายในประเทศ ภาคเอกชนหลายแหงที่ไดรับผลกระทบจาก
12

สินคานําเขาไดรวมตัวกันหาทางปองกันตนเองจากสินคานําเขาราคาถูก โดยการเรียกรองใหรัฐบาล
จัดทํากฎระเบียบตางๆที่จะเปนการปองกันอุตสาหกรรมภายในประเทศและที่เปนการกีดกันการนํา
เขาสินคานั้นๆ จากตางประเทศ
นโยบายการคาประการหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ที่มีลักษณะเปนการกีดกันและควบคุมการ
นําเขาสินคาที่สหรัฐอเมริกาเชื่อวาจะเปนอันตรายตออุตสาหกรรมภายในประเทศ ทีส่ ําคัญ คือ การ
จัดทําระบบโควตาควบคุมปริมาตรการนําเขา สินคาที่อยูภายใตกฎระเบียบขอนี้คือสินคาเกษตรบาง
ชนิดและสินคาสิ่งทอบางรายการ

นโยบายการลงทุน
สหรัฐอเมริกามีนโยบายในการใหการสนับสนุนการลงทุนทุกชนิดจากตางชาติไมวาจะเปน
การลงทุนโดยตรง (Direct investment) ที่นักลงทุนตางชาติสามารถทําการควบคุมหรือมีสวนรวม
อยางมากในการดําเนินธุรกิจในสหรัฐอเมริกา หรือการลงทุนที่เปน portfolio investments ใน
ลักษณะการกูย ืมเงินหรือ portfolio equity ที่จํากัดบทบาทของนักลงทุนในการเขาไปมีสวนรวมใน
การดําเนินธุรกิจนั้นๆ ภายในสหรัฐอเมริกา
บุคคลที่ไมไดถือสัญชาติอเมริกันสามารถทําการลงทุนจัดตั้งสํานักงานธุรกิจหรือสํานักงาน
สาขาในสหรัฐอเมริกาได โดยรัฐบาลกลางสหรัฐอเมริกาหรือรัฐบาลทองถิ่นเขามาควบคุมในระดับ
ต่ํา ทั้งนี้ยกเวนในกรณีที่เปนธุรกิจที่มีความออนไหวตอความปลอดภัยของประเทศก็จะมีกฎระเบียบ
ที่เขมงวดในการควบคุมการดําเนินธุรกิจนัน้ ๆ นอกจากนี้ นักลงทุนตางชาติยังไดรับสิทธิเทาเทียม
กับนักลงทุนทองถิ่นในเรื่องของการจัดการดานการเงินและอาจมีสิทธิที่จะไดรับการสนับสนุนดาน
การเงินจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาดวย
ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมที่สหรัฐอเมริกาถือวามีความออนไหวตอความปลอดภัยของ
ประเทศในระดับสูงและรัฐบาลกลางจะเขาไปทําการควบคุมการดําเนินธุรกิจของตางชาติอยางเขม
งวดและมีการกําหนดสัดสวนของจํานวนเจาของธุรกิจที่เปนนักลงทุนจากตางชาติและที่เปนนักลง
ทุนทองถิ่นคือธุรกิจเกี่ยวกับการกระจายเสียงวิทยุและโทรทัศน การขนสงภายในประเทศและ
ระหวางประเทศทั้งทางบก อากาศ และทางน้ํา และธุรกิจประมง ธุรกิจอื่นๆที่ภาครัฐบาลทุกระดับ
โดยเฉพาะอยางยิ่งระดับทองถิ่นจะเขาไปทําการควบคุมการดําเนินการอยางเขมงวด คือ ธุรกิจ
ธนาคาร ธุรกิจการประกันภัย การสื่อสารทุกชนิด การบริการไฟฟาและแกส เปนตน
ในดานการถือครองอสังหาริมทรัพย มลรัฐตางๆในสหรัฐอเมริกาเกินกวา 30 มลรัฐโดย
เฉพาะอยางยิ่งที่เปนมลรัฐที่มีพื้นที่ทางเกษตรจํานวนมากมีกฎหมายเรือ่ งอสังหาริมทรัพยที่จํากัด
การถือครองที่ดินของคนตางชาติอยางเขมงวด ไมวาจะเปนการถือครองสวนบุคคล การถายโอน
ทรัพยสินที่เปนมรดก หรือการลงทุนทางดานการเกษตร
13

สหรัฐอเมริกาไมมีขอกําหนดในเรื่องของจํานวนเงินลงทุนขั้นต่ําของนักลงทุนตางชาติ ยก
เวนในกรณีที่ผูลงทุนมีความประสงคที่จะสมัครขอสิทธิการเปนผูอยูอาศัยอยางถาวรในสหรัฐอเมริกา ใน
กรณีนกี้ ฎหมาย Federal Immigration Act of 1990 Investor Visa Program กําหนดวงเงินขั้นต่ําไวที่
หาแสนเหรียญสหรัฐอเมริกา สําหรับการลงทุนในพืน้ ที่กันดารและมีอัตราการวางงานสูงและหนึ่ง
ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา สําหรับการลงทุนในทุกที่ โดยมีขอแมวา การลงทุนนัน้ ๆจะตองสรางการ
จางงานเต็มเวลาสําหรับบุคคลสัญชาติอเมริกันหรือคนตางชาติที่มีสิทธิตามกฎหมายที่จะพํานัก
อาศัยอยางถาวรในสหรัฐอเมริกาอยางนอย 10 คนขึ้นไปเปนระยะเวลาสองป ทั้งนี้บุคคลเหลานี้จะ
ตองไมใชเครือญาติของนักลงทุน
สหรัฐอเมริกาไมมีขอกําหนดในเรื่องสัดสวนของการเปนเจาของกิจการของนักลงทุนตาง
ชาติ ยกเวนในกรณีที่เปนการลงทุนรวมเปนเจาของกิจการในอุตสาหกรรมที่ถือวามีความออนไหว
ตอความมั่นคงของสหรัฐอเมริกา

คูแขงขันทางการคา
• การคานําเขาและการสงออก
มูลคาการนําเขา (f.o.b ประมาณการป 2003) 1.26 แสนลานเหรียญสหรัฐอเมริกา
สินคานําเขา สินคานําเขาสําคัญของสหรัฐอเมริกา ไดแก สินคาเพือ่ การบริโภคทางธุรกิจ
เชน เครื่องจักรกล เครื่องจักรไฟฟา ยานพาหนะ แรธาตุและน้ํามันเชื้อเพลิง สินคาเครื่องมือและ
อุปกรณทางการแพทย สินคาเคมีภณ ั ฑ เสื้อผาสําเร็จรูป อัญมณีและเครื่องประดับตกแตงรางกาย
เฟอรนิเจอร เครื่องบิน ของเลนเด็กและอุปกรณกฬี า พลาสติกและสินคาพลาสติก ผลิตภัณฑยา
รักษาโรค รองเทา กระดาษ ไมและผลิตภัณฑไม เหล็กและผลิตภัณฑเหล็ก
คูคานําเขาของสหรัฐอเมริกาแยกตามประเทศ เรียงตามลําดับความสําคัญ 15 อันดับแรก
โดยดูจากมูลคาการคาและสวนแบงตลาดนําเขาในป 2003 คือ
แคนนาดา(17.63%) จีน(12.13%) เม็กซิโก(10.98%) ญี่ปนุ (9.39%) เยอรมัน(5.42%) สหราชอาณา
จักร(3.40%) เกาหลีใต(2.96%) ไตหวัน(2.51%) ฝรั่งเศส (2.32%) ไอรแลนด (2.05%) มาเลเซีย
(2.02%) อิตาลี (2.02%) ซาอุดิอารเบีย (1.44%) บราซิล (1.43%) เวเนซูเอลลาห (1.36%)

กราฟที่ 1 แสดงมูลคาการนําเขาตอปของประเทศสหรัฐอเมริกา
(หนวยพันลานเหรียญสหรัฐอเมริกา)
14

IMPORT

70
60
50
40
มูลคา

30
IMPORT
20
10
0
-10
67

70

73

76

79

82

85

88

91

94

97

00

03
19

19

19

19

19

19

19

19

19

19

19

20

20
-20
ป

ที่มา : http://bea.gov/bea/dn/nipaweb/IndexB.htm#B

มูลการสงออก ในป 2003 ประมาณ 724.77 พันลานเหรียญสหรัฐอเมริกา (f.a.s)


คูคาสงออกแยกตามประเทศและเรียงตามลําดับความสําคัญ 5 อันดับแรกโดยดูจากมูลคา
การคาคือ แคนนาดา, เม็กซิโก, ญี่ปุน, สหราชอาณาจักร และ เยอรมัน

กราฟที่ 2 แสดงมูลคาการสงออกตอปของประเทศสหรัฐอเมริกา
(หนวยพันลานเหรียญสหรัฐอเมริกา)
Export

120
100
80
มูลคา

60 export
40
20
0
47

52

57

62

67

72

77

82

87

92

97

02
19

19

19

19

19

19

19

19

19

19

19

20

ป

ที่มา : http://bea.gov/bea/dn/nipaweb/IndexB.htm#B
การจัดองคกรและลักษณะของระบบเศรษฐกิจอเมริกาในปจจุบัน
15

จากพัฒนาการระบบเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาอาจสรุปลักษณะของระบบเศรษฐกิจสหรัฐ
อเมริกาในปจจุบันไดวา ประกอบดวสถาบันทีส่ ําคัญตอการจัดสรรทรัพยากรและการดําเนินกิจ
กรรมทางเศรษฐกิจ 3 สถาบันดวยกัน คือ ภาคเอกชนซึ่งไดแก บรรษัทขนาดใหญ(large
corporations) เปนสวนสําคัญ ภาครัฐบาลและสหภาพแรงงาน ซึ่งมีรายละเอียด ดังตอไปนี้
1.) บรรษัทขนาดใหญ (large corporations)
ในระบบอุตสาหกรรมโลก จะพบปรากฏการณที่สําคัญอยางหนึ่ง คือ ลักษณะทวิลักษณ
(Dualistic) ของระบบนี้ กลาวคือ ในดานหนึ่งจะมีการผูกขาดนอยรายของผูผลิต (Oligopolistic) เกิด
ขึ้น ซึ่งสวนใหญ ไดแก บรรษัทขนาดใหญและบรรษัทขามชาติทั้งหลายและมีการวางแผนการผลิต
เปนอยางดี สวนอีกดานหนึง่ จะมีวิสาหกิจขนาดเล็กที่มีการแขงขันในตลาดโดยผานกลไกราคาเปน
สําคัญ
สําหรับระบบเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาแลว จะปรากฏเหตุการณของการกระจุกตัวของ
อุตสาหกรรม (Concentration of industry) ที่มีเจาของกิจการเพียงสองสามราย ซึ่งเปนความจริงของ
ชีวิตที่ไมอาจปฏิเสธได และไมเกี่ยวของกับอุดมการณทางการเมืองแบบเสรีประชาธิไตยเลย
แรกเริ่มนั้นในชวงระหวางป 1827-1875 สหรัฐอเมริกาเต็มไปดวยผูผลิตรายยอย แตละคนมี
บทบาทตอตลาดนอย และผูบริโภคมีอํานาจในตลาดมาก ทั้งนี้ลักษณะของตลาดเปนตลาดที่มีการ
แขงขันคอนขางสมบูรณ ลักษณะเชนนี้เองของระบบเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาที่ทําใหคนทัว่ ไปยอม
รับในฐานะตัวอยางของระบบเศรษฐกิจที่มกี ารแขงขันโดยกลไกตลาด และตั้งแตป 1880 เปนตนมา
เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกามีความเจริญเติบโตอยางมาก มีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีในการผลิต
อยางรวดเร็วและรุดหนาไปกวาประเทศในยุโรปซึ่งเปนดินแดนถิ่นกําเนิดของการปฏิวัติอุตสาห
กรรมเมื่อรอยปที่ผานมาเสียอีก ในชวงเวลานี้เองที่ไดเริ่มมีการผูกขาดรวมตัวของบริษัทอุตสาห
กรรมเกิดขึ้น ทั้งในรูปของทรัสต (trust) บริษัทในเครือ (holding companies) และการรวมตัวกัน
อยางเปดเผยแบบตางๆ (outright mergers) ทําใหรัฐบาลตองเขามาควบคุมโดยการออกกฎหมาย
ตอตานการผูกขาด (Anti – Trust law) หลายตอหลายฉบับที่สําคัญ เชน The Sherman Anti – Trust
Act 1890 เปนตน อยางไรก็ตาม ในชวงทศวรรษ 1920 การผูกขาดก็ยงั ดํารงอยู ดังจะเห็นไดจากอุต
สาหกรรมหลายประเภทถูกครอบงําดวยบรรษัทยักษใหญเพียง 2-3 บรรษัทเทานั้น และมีบางอุต
สาหกรรมที่มีบรรษัทยักษใหญเพียงบริษทั เดียวผูกขาดการผลิต เชน จากกรณีของบริษัท General
Motors ซึ่งเปนบริษัทผูนําในอุตสาหกรรมการผลิตรถยนตที่ไดผนวกเอาบริษัทตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ
การผลิตรถยนตเขามาไวกับบริษัท เปนตน การกระจุกตัวของอุตสาหกรรมตางๆ ไมวาจะเปนรถ
ยนต อุปกรณไฟฟา ฯลฯ ทําใหมีขอดีในแงที่วาสามารถใชวิธีการทางการตลาดและกระบวนการ
ผลิตที่ทันสมัยได โดยบรรษัทยักษใหญตางๆ ไดหันมาผลิตอาวุธสงคราม เครื่องบินรบ รถถัง ฯลฯ
เพื่อใชในการสงครามกับฝายอักษะ มาในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ปรากฏการณของการผูก
ขาดในวงการอุตสาหกรรมก็ยังคงมีแนวโนมเชนที่ผานมาในอดีตและในชวงทศวรรษ 1960 และ
16

1970 แนวโนมของการเปนบรรษัทยักษใหญไดรับการกระตุนจากการพัฒนาในการรวมตัวกันแบบ
ใหมที่เรียกวา “การรวมกลุมกัน” (conglomerate merger) ในรูปของกลุมธุรกิจ

ตารางที่ 2. แสดงลักษณะของอุตสาหกรรมในประเทศสหรัฐอเมริกา
จําแนกตามขนาดของคนงานในป 1977

ขนาดของอุตสาหกรรมจําแนกตามขนาดของคนงาน
รายการ จํานวน ต่ํากวา 20-99 100- 250- 1,000
ทั้งหมด 20 คน คน 249 คน 999 คน คนขึ้น
ไป
จํานวนรัฐวิสาหกิจ 351 237 78 22 12 2
(1000 แหง)
จํานวนคนงาน 18,515 1,206 3,489 3,336 5,393 5,191
(1000 คน)
เงินเดือนคาจาง 242,032 13,713 38,693 37,772 66,248 85,609
(ลานดอลลาร)
มูลคาเพิ่มของผลผลิตทางอุตสาห 585,166 30,081 89,829 92,232 172,607 200,417
กรรม(ลานดอลลาร)
รายจายเกี่ยวกับทุน 47,459 1,377 4,280 7,812 13,337 17,001
(ลานดอลลาร)

ที่มา: U.S. Bureau of the Census, 1977 Census of Manufacture, General Summary Report
(Washington: U.S. Government Printing Office, 1981) อางใน Schnitzer and Nordyke< op.cit.’
1983, P.89.

จากตารางที่ 2. ซึ่งเปนขอมูลจากป 1977 จะเห็นไดวาโรงงานอุตสาหกรรมที่มีคนงานตั้งแต


1,000 คนขึ้นไปมีเพียงรอยละ 0.6 ของโรงงานอุตสาหกรรมทั้งหมด แตดูดกลืนแรงงานในภาคอุต
สาหกรรมเอาไวถึงรอยละ 28.0 ของแรงงานทั้งหมด และคนงานไดรับคาจางคิดเปนรอยละ 35.4
ของคาจางทั้งหมดในภาคอุตสาหกรรม ตลอดจนกอใหเกิดมูลคาเพิม่ และการลงทุนในสัดสวนรอย
ละ 34.2 และ 35.8 ตามลําดับ ซึ่งอาจจะสรุปไดวา ประมาณรอยละ 4 ของภาคอุตสาหกรรมทั้งหมด
ของอเมริกาผลิตมูลคาเพิ่มและการลงทุนเกือบรอยละ 50
2.) สหภาพแรงงาน (Trade unions)
17

ถาเราเปรียบระบบทุนนิยมอุตสาหกรรมสมัยใหมเปนเหรียญ ดานหนึ่งของเหรียญที่ตองมี
อยูเสมอก็คือ การผูกขาดของบรรษัทขนาดใหญ ซึ่งไดกลาวมาแลว ในขณะที่การรวมตัวกันของผูใช
แรงงานจัดตัง้ กันเปนสหภาพแรงงานหรือสหบาลกรรมกร ก็ไดถือวาเปนอีกดานหนึ่งของเหรียญ
นั้นเอง
กลาวโดยทัว่ ไปในระบบเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา แรงงานซึ่งเปนปจจัยการผลิตที่สําคัญ
ปจจัยหนึ่งสวนใหญแลวจัดสรรโดยผานกลไกตลาดเปนสําคัญ กลาวคือ อุปสงคของนายจางที่มีตอ
แรงงานจะมากขึ้นเมื่อคาจางถูกลง ในขณะที่อุปทานของแรงงานจะแปรผันโดยตรงกับอัตราคาจาง
อยางไรก็ตาม แมวาเราไมมดี ัชนีที่จะใชบง ชี้สัดสวนของการกระจุกตัว (Concentration ration) ใน
ตลาดแรงงานดังเชนกรณีของตลาดผลผลิตทั่วไปที่กลาวมาแลว วาทั้งผูซื้อแรงงานและผูขายแรง
งานมีอํานาจอยูมากนอยแคไหนในตลาดแรงงานที่จะใชกําหนดอัตราคาจาง แตก็ไมอาจมองขามบท
บาทของสหภาพแรงงานในฐานะที่เปนพลังนอกเหนือจากกลไกราคาพลังหนึ่งที่สําคัญ
ผูใชแรงงานสวนใหญในประเทศทุนนิยมอุตสาหกรรมมักจะไมคอยพอใจที่จะพึ่งพิงอยูกับ
การแทรกแซงของรัฐเพียงอยางเดียวในการปรับปรุงชีวิตความเปนอยูข องพวกเขาใหดีขึ้น ดวยเหตุ
นี้ จึงมักมีการรวมตัวกันเพื่อใชเปนการเครื่องมือในการตอรองคาจางและสวัสดิการอื่นๆ กับนายจาง
สําหรับในประเทศสหรัฐอเมริกานั้น สหภาพแรงงานเปนผลผลิตสังคมที่เกิดขึ้นเมื่อ
ศตวรรษที่แลว แมจะมีสหภาพแรงงานเกิดขึ้นแลวตั้งแตชวงกอนสงครามกลางเมือง แตไมไดมี
ลักษณะถาวร เปนเพียงการรวมตัวกันของผูใชแรงงานเพื่อลดภาวะความยากลําบากตางๆ ทาง
เศรษฐกิจ และจะเลิกรากันไปอยางรวดเร็วเมื่อการตอรองประสบความสําเร็จหรือลมเหลว ในป
1828 มีการกอตั้งพรรคกรรมกร (Working Man’s Party) ขึ้นมาที่เมืองฟลาเดลเฟยและขยายออกไป
สูรัฐอื่นๆอีก 15 รัฐดวยกัน พัฒนาการของบรรษัทอุตสาหกรรมขนาดใหญดูจะเปนการขมขู ที่สําคัญ
สําหรับฝายผูใชแรงงานที่ตองขึ้นตอนายจางมากขึ้น ดวยเหตุนี้เอง ในป 1869 จึงไดมกี ารจัดตั้ง The
Knights of Labor หรืออัศวินแรงงานขึ้นมา ซึ่งถือไดวาเปนสหภาพแรงงานขนาดใหญสหภาพแรก
ของอเมริกาขึ้นที่ฟลาเดลเฟย แตก็อยูไดไมนานก็เลิกลมไปเพราะขาดผูนําที่เขมแข็ง มาในป 1881
ไดมีการจัดตั้ง The American Federation of Labor (AFL - สหภาพแรงงานสหรัฐอเมริกา) ขึ้นมา
แตเนื่องจาก AFL เปนสหพันธที่ประกอบดวยแรงงานมีฝมือจึงไมไดพยายามตอรองผลประโยชน
กับแรงงานไรฝมือ นอกจากนี้ AFL ยังมีนโยบายเปนกลางทางการเมือง เนนเฉพารการตอสูดาน
เศรษฐกิจเพียงอยางเดียว โดยเฉพาะอยางยิง่ การทํางานวันละ 8 ชั่งโมง นอกจาก AFL แลวก็ยังมีสห
ภาพแรงงานอื่นๆ อีก ที่สําคัญ คือ สหภาพแรงงานสากลแหงโลก (International Workers of the
World - IWW) ซึ่งเนนการตอสูทางการเมืองดวย ซึ่งเชื่อในเรื่องความขัดแยงทางชนชั้นและการใช
ความรุนแรง เชน การประทวงหยุดงานทั้งประเทศหรือการกอวินาศกรรม(sabotage) วาเปนวิธีการ
หนึ่งที่จะทําใหบรรลุเปาหมายได
18

การเคลื่อนไหวของสหภาพแรงงานในสหรัฐอเมริกาเริ่มออนตัวลงในชวงทศวรรษ 1930
เมื่อวิกฤติการณเศรษฐกิจตกต่ําทั่วไป นอกจากนี้ยังเกิดจากปจจัยอื่นๆ อีกดวย ที่สําคัญไดแก “โรค
กลัวภัยคอมมิวนิสต” (The Red Scare) ภายหลังชัยชนะของพรรคบอลเชวิคในรัสเซีย และการแทรก
แซงของอํานาจรัฐที่สนับสนุนนโยบายการประกอบการอยางเสรี เพราะเชื่อวาการรวมตัวกันจัดตั้ง
เปนสหภาพแรงงานของกรรมกรมีสวนสําคัญทําใหราคาสินคาเพิ่มขึ้น ทายที่สุด คือ การโจมตีจาก
ฝายธุรกิจเอกชน อยางไรก็ตาม การประกาศ The Labor Management Relations Act หรือกฏหมาย
แรงงานสัมพันธโดยรัฐบาลในป 1947 ก็มสี วนชวยใหอํานาจการตอรองระหวางผูใ ชแรงงานกับนาย
จางเปนไปอยางเทาเทียมกัน

ตารางที่ 3. แสดงสัดสวนการเปนสมาชิกสหภาพแรงงานของกําลังแรงงาน
ประเทศสหรัฐอเมริกา ป 1945-1980

ป รอยละของกําลังแรงงาน
1945 21.9
1950 22.3
1955 24.7
1960 23.6
1965 22.4
1970 22.6
1975 21.7
1980 21.2
ที่มา: อางจาก Schnitzer and Nordyke, op.cit, 1983, p.97

จากตารางขางตน จะเห็นไดวามีผูใชแรงงานเขาเปนสมาชิกภาพแรงงานประมาณ 1 ใน 5
สวน หรือรอยละ 20 ของแรงงานทั้งหมด การที่จํานวนสมาชิกภาพไมไดเปลี่ยนแปลงไปมากนัก
จากชวงป 1945 ซึ่งมีอยูรอยละ 21.9 เปนรอยละ 21.2 ตามลําดับในป 1975 และ 1980 นอกจากที่
กลาวมาทั้ง 3 ประการขางตนแลว ยังเกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะโครงสรางการผลิตทางอุตสาห
กรรมของสหรัฐอเมริกาดวยที่ไดเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมเขาสูสังคมหลังอุตสาหกรรม (post
industrialized country) โดยแรงงานจะยายจากภาคการผลิตสินคาสูภาคบริการ(service sector) มาก
ขึ้น ดังจะเห็นไดจากจํานวนแรงงานในภาคบริการเพิ่มขึ้นจากรอยละ 56.6 ของแรงงานทั้งหมดในป
1945 เปนรอยละ 71.6 ในป 1980 นอกจากนี้จํานวนแรงงานในสํานักงานหรือที่เรียกกันวา White –
collar workers ซึ่งแสดงจุดยืนกับฝายนายจางก็มีมากขึ้นเชนกัน
19

แมวาสมาชิกสหภาพแรงงานจะมีในสัดสวนที่ไมมากนักเมื่อเทียบกับกําลังแรงงานในภาค
อุตสาหกรรมทั้งหมดทัว่ ประเทศ แตกม็ ีอํานาจตอรองพอสมควรและมีผลใหอัตราคาจางในตลาด
แรงงานสูงกวาที่ควรจะเปน กลาวคือ ในชวงกลางทศวรรษ 1930 สหภาพแรงงานสามารถตอรอง
เพิ่มอัตราคาจางไดถึงรอยละ 25 และไดเพิ่มอีกประมาณรอยละ 10-15 ในชวงทศวรรษ 1950
สําหรับในปจจุบันประมาณการวาการดํารงอยูของสหภาพแรงงานทําใหคาจางเพิ่มขึน้ สูงกวาปกติ
ราวรอยละ 15- 18 เมื่อเทียบกับการไมมีสหภาพ และทําใหการกําหนดคาจางมิไดเปนไปตามกลไก
ตลาดที่กําหนดจากอุปสงคและอุปทานของแรงงาน หากแตเกิดจากการตอรอง(collective
bargaining) โดยเฉพาะอยางยิ่งในภาคธุรกิจเอกชนทีม่ ีการผลิตขนาดใหญและมีการวางแผนการ
ผลิต
3.)ภาครัฐบาล
สหรัฐอเมริกามีการดําเนินงานในระบบเศรษฐกิจของประเทศเปนไปตามหลักการของ
ระบบเศรษฐกิจแบบใชกลไกตลาด กลาวคือ กลไกตลาดที่เกิดจากอุปสงคและอุปทานจะเปนตัว
กําหนดการจัดสรรทรัพยากรเพื่อตอบสนองปญหาเศรษฐกิจพื้นฐานที่สาํ คัญของสังคม คือ ผลิต
อะไร (What) ผลิตอยางไร (how) และผลิตเพื่อใคร (for whom) โดยที่ทั้งผูบริโภคและผูผลิตจะได
รับประโยชนสูงสุด แมจะเปนความจริงที่วา กลไกตลาดสามารถจัดสรรทรัพยากรไดอยางมีประ
สิทธิภาพ แตในบางชวงเวลาก็มีขอบกพรองขึ้นไดเชนกัน จึงตองใชหามาตรการอยางอื่นมาชวย
ดวยเหตุนี้เอง บทบาทของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมจึงมีลักษณะทีพ่ บเห็นไดเปน
ประจํา
ประสบการณของสหรัฐอเมริกาเองก็ดูจะเปนเชนที่กลาวมา กลาวคือ รัฐบาลซึ่งแตเดิมมี
ความคิดกันทัว่ ไปวาจะตองไมเขามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจที่มกี ารแขงขันอยางเสรีนั้น แตใน
ชวงของการขยายตัวของระบบทุนนิยมของสหรัฐอเมริกาที่ไดนําไปสูก ารผูกขาดการผลิตอุตสาห
กรรมบางอยาง ทําใหรัฐบาลตองเขามาควบคุมทางกฎหมาย อยางไรก็ตาม ปรากฏการณความเปน
จริงทางเศรษฐกิจในชวงวิกฤตการณเศรษฐกิจตกต่ําทัว่ โลกในชวงทศวรรษ 1930 นั่นเอง ทําใหรัฐ
ตองเปลี่ยนบทบาทจากผูดูหรือผูรักษากฏระเบียบของสังคมมาเปนผูกระทํา(Active) เพือ่ ใหสังคม
รอดพนจากวิกฤติการณนี้
บทบาทของรัฐบาลในการเขามามีสวนรวมและแทรกแซงระบบเศรษฐกิจโดยเฉพาะอยาง
ยิ่งในกรณีของสหรัฐอเมริกานั้นอาจแบงไดเปน 4 ดานดวยกัน ดังรายละเอียดตอไปนี้
3.1 ดานการคลัง
การคลังของรัฐบาลเปนบทบาทที่สําคัญและเห็นไดชัดเจนสําหรับระบบเศรษฐกิจของ
สหรัฐอเมริกา กลไกภาษีอากร(รายไดของรัฐบาล) เปนเครื่องมือที่รัฐบาลสามารถใชในการควบ
คุมทรัพยากรของประเทศและยังมีผลตอการกระจายรายไดและทรัพยสินของสมาชิกสังคมอีกดวย
ขณะที่การใชจา ยของรัฐบาลเพื่อซื้อสินคาและบริการในสังคมมีผลทําใหสินคาและบริการนั้น
20

เปลี่ยนจากกรรมสิทธิ์ของปจเจกชนมาเปนของสวนรวมแทน สวนเงินโอน (Transfer payments) ก็


เปนการกระจายรายไดใหมอกี ครั้งของรัฐบาลเพื่อปรับชีวิตความเปนอยูข องประชาชนใหไมแตก
ตางกันมากนัก
อาจนับไดวา ตั้งแตทศวรรษ 1930 เปนตนมา อิทธิพลทางเศรษฐกิจของภาครัฐบาลใน
สหรัฐอเมริกามีความสําคัญมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการเริ่มตนนโยบายทางดานสวัสดิการ
ตั้งแตนโยบาย New Deal ของประธานิบดีรูสเวลทเปนตนมา ทําใหประชาชนเพิม่ การยอมรับบท
บาทดานนี้ของรัฐบาลมากขึ้น ดังจะเห็นไดจากขอมูลในตารางที่ 4 ทีส่ ัดสวนรายจายรัฐบาลตอผลิต
ภัณฑมวลรวมประชาชาติเพิม่ ขึ้นกวา 60 เทาตัว นับตั้งแตป 1929 – 1980 ละคิดเปนรอยละ 21 ของ
ผลิตภัณฑมวลรวมทั้งประเทศ นอกจากนี้การใชจายดานการปองกันประเทศของสหรัฐอเมริกาก็มี
สวนสําคัญตองบประมาณรายจายในแตละป เพราะมีจํานวนถึงเกือบรอยละ 30 ของงบประมาณทัง้
หมด

ตารางที่ 4. แสดงสัดสวนรายจายรัฐบาลประเทศสหรัฐอเมริกาเปรียบเทียบกับ
ตอผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ(พันลานดอลลาร)
ป ผลิตภัณฑมวลรวม รายไดรัฐบาล
รวม รัฐบาลกลาง มลรัฐและทองถิ่น
1929 103.4 8.8 1.4 7.4
1933 55.6 8.0 2.0 6.0
1939 90.8 13.5 5.2 8.3
1945 211.9 82.3 74.2 8.1
1950 284.8 37.9 18.4 19.5
1960 506.0 100.3 53.7 46.6
1970 982.4 218.9 95.6 125.2
1975 1,528.8 338.4 123.1 215.2
1977 1,899.5 396.2 144.4 251.8
1978 2,127.6 435.6 152.6 283.0
1979 2,388.5 476.1 166.3 309.8
1980 2,627.4 534.8 198.9 335.9
ที่มา: อางจาก Schnitzer and Nordyke,op.cit., p.100

ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมีสวนใหประชากรอพยพมาอยูในเมืองมากขึ้นอุปสงคตอ
บริการสาธารณะก็มากขึ้นไปดวย สําหรับโลกทุนนิยมสมัยใหมนี้รัฐบาลมีหนาที่ในการผลิตสินคา
21

คุณธรรม (Merit goods) ดวย ที่สําคัญไดแก การรักษาพยายาม สวัสดิการสังคม การประกันสังคม


และบริการทางการศึกษา ซึ่งจากขอมูลในตารางที่ 5 จะเห็นถึงการผลิตสินคาประเภทนี้ของรัฐบาล
มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นนับแตป 4890 เปนตนมา

ตารางที่ 5. ขอมูลแสดงอัตราสวนรอยละของการใชจายในการผลิตสินคาสาธารณะ
ของประเทศสหรัฐอเมริกาชวงป 1890-1970

ป สัดสวนรายจายดาน สัดสวนรายจาย สัดสวนรายจายดาน สัดสวนรายจาย


สุขภาพเทียบกับราย ดานสวัสดิการของ ประกันสังคมเทียบ ดานการศึกษาชั้น
จายทั้งหมด(%) รัฐเทียบกับผลิต กับผลิตภัณฑมวล สูงเทียบกับราย
ภัณฑมวลรวม รวมประชาชาติ จายทัง้ หมด(%)
ประชาชาติ (%)
(%)
1890 - 2.4 - -
1900 - - - -
1920 - - - 38
1929 10 3.9 0.2 -
1955 26 8.6 2.6 41
1970 35 15.3 5.7 43
ที่มา : อางจาก Gregory and Stuart, op.cit. 1980, p.178

ตารางที่ 6. ขอมูลแสดงจํานวนการใชจายของรัฐบาลกลางป 1958-1981(หนวย : พันลานเหรียญ)


ปงบประมาณ เงินโอนจากรัฐบาล รายจายทั้งหมด
1958 17.8 82.8
1960 20.6 91.8
1965 28.4 118.5
1970 55.0 195.5
1975 131.4 328.8
1978 178.7 450.5
1980 234.7 578.2
1981 276.8 671.0
22

ที่มา : อางจาก Schnitzer and Nordyky , op.cit., 1983, p.102


ซึ่งกลาวโดยรวมแลวจะเห็นไดวา การผลิตสินคาสาธาณะอันเปนเครื่องมือในการปรับ
ระดับความไมเทาเทียมกันของประชากรในสังคมอเมริกานั้นมีจํานวนเกือบประมาณรอยละ 50 ของ
งบประมาณของรัฐในป 1980 ประมาณกันวา ในแตละวันมีประชากรในมลรัฐคาริฟอรเนียราวรอย
ละ 40 ไดรับเงินโอนจากรัฐบาลในรูปแบบตางๆ นี้ (ดูตารางที่ 6. ประกอบ)
ทั้งนี้ นโยบายดานภาษีอากรและการใชจา ยเงินเพื่อผลิตสินคาสาธารณะนับไดวามีสวนให
การกระจายรายไดที่ปรับแลวดีขึ้นกวากอนปรับอยางมากเมื่อพิจารณาความเทาเทียมกันเปนสําคัญ
โดยรายไดของผูมีรายไดนอยที่สุดรอยละ 20 แรก มีรายไดรวมเพิ่มขึ้นเกือบเทาตัว ขณะที่ผูมีรายได
มากที่สุดรอยละ 20 มีรายไดลดลงประมาณรอยละ 15 (ดูตารางที่ 7. ประกอบ)

ตารางที่ 7. แสดงการกระจายรายไดของประเทศสหรัฐอเมริกาป 1972


เปรียบเทียบกอนปรับและหลังปรับ

ประเภท ต่ําสุดรอย ต่ําสุดรองลง ต่ําสุดอันดับ สูงสุดอันดับ สูงสุดรอยละ


ละ 20 มารอยละ20 สามรอยละ สองรอยละ 20
20 20
1.ไดกอนมี 5.4 11.9 17.5 23.9 41.4
การปรับ
2.ผลประโยชน 30.5 17.3 16.2 16.6 19.4
ที่ไดรับจาก
รัฐบาล(รวม
การศึกษา
3.รายไดหลัง 8.6 12.6 17.3 23.0 38.6
ปรับแลวดวย
ผลประโยชน
4. รายไดหลัง 9.9 13.9 18.0 23.0 35.2
ปรับดวยตัว
เงินและผล
ประโยชน
ที่มา : อางจาก Gregory and Stuart ,op. cit., 1980 ,p.191
23

3.2 การควบคุมของรัฐบาล
บทบาทของรัฐบาลในดานการควบคุมวิสาหกิจเอกชนในสหรัฐอเมริกาเริ่มขึ้นที่การ
ประกาศกฎหมาย The Shermen Anti-Trust Act ในป 1890 เพื่อควบคุมการผูกขาดโดยบรรษัท
ขนาดใหญในวงการอุตสาหกรรม ทั้งนี้เพื่อสงเสริมและดํารงรักษาสภาพการณของการแขงขันใน
ตลาดเอาไว ในชวงปลายทศวรรษ 1960 ตอทศวรรษ 1970 รัฐบาลไดเขามาควบคุมธุรกิจมากขึน้
เมื่อมีปญหาสิ่งแวดลอมถูกทําลาย ซึ่งปญหานี้เปนเรื่องของ externalities ที่กลไกตลาดไมอาจจัด
การแกปญหาได และเพื่อรักษาผลประโยชนของผูบริโภคเอาไว
นอกนี้รัฐบาลยังมีบทบาทดานการควบคุมสินคาสาธารณูปโภค(Public utilities) ดวย ทั้งใน
แงของราคา ปริมาณผลผลิตและกําไร สินคาสาธารณุปโภค ที่สําคัญไดแก พลังงาน การสื่อสาร และ
การคมนาคมขนสง ซึ่งการผลิตสินคาเหลานี้โดยปลอยใหมีการแขงขันระหวางผูผลิตดวยกันจะกอ
ใหเกิดผลเสียทางเศรษฐกิจในแงของความสิ้นเปลืองทรัพยากร เชน กรณีของไฟฟา โทรศัพท ฯลฯ
ดวยเหตุนี้จึงจําเปนตองปลอยใหมกี ารผูกขาดในอุตสาหกรรมเหลานี้ แตทั้งนี้อยูภ ายใตการควบคุม
ของรัฐบาล เพื่อปกปองผลประโยชนของสังคมโดยสวนรวมเอาไว
การควบคุมของรัฐบาลประการสุดทาย ในระบบเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา เรียกวา การ
ควบคุมทางสังคม (social regulation) อันไดแก การควบคุมดานความปลอดภัยในเรื่อง อาหาร ยา
การคุมครองผูบริโภค การปกปองสิ่งแวดลอม การสงวนอาชีพ ฯลฯ ตลอดจนสภาพการจางงานของ
ชนกลุมนอยรวมถึงความมั่นคงปลอดภัยของเงินตรา การธนาคาร การประกันภัย และสหภาพแรง
งาน ทั้งนี้โดยทั่วไป รัฐบาลกลางหรือมลรัฐตางๆ จะเปนผูออกกฎระเบียบเหลานี้เองโดยผานหนวย
งานราชการ หนวยงานทีส่ ําคัญในป 1981 ไดแก Consumer Product Safety Commission ,
Occupational Safety and Health Administration, Equal Employment Opportunity Commission,
Environmental Protection Agency ซึ่งการควบคุมทางสังคมนี้มีหลักการวางอยูบนพืน้ ฐานความเชือ่
ที่วา ปญหาตางๆ ในสังคมเปนความรับผิดชอบของความไมสมบูรณของระบบตลาด
3.3 รัฐบาลในฐานะเปนนายจาง
มาตรการอยางหนึ่งที่อาจใชวดั ถึงขนาด (magnitude) ของภาครัฐบาลได คือ จํานวนขาราช
การของรัฐ สําหรับสหรัฐอเมริกา เมื่อเอาจํานวนทหารประจําการรวมเขาไปดวยกับขาราชการที่มีอยู
ทั่งหมดแลวจะมีสัดสวนถึงรอยละ 16 ของกําลังแรงงานทั้งหมดทัว่ ประเทศ สัดสวนดังกลาวขางตน
นี้มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้เพราะอุปสงคสําหรับบริการสังคมตางๆ ในอนาคตมีมากขึ้น นอกจากนี้
งานประเภทอืน่ ๆ อาทิ ฐานทัพ โรงงานผลิตอาวุธตลอดจนมหาวิทยาลัยของรัฐ ฯลฯ ตางก็มีสว น
เกี่ยวของกับระบบเศรษฐกิจโดยตรง โดยทั่วไปแลว ภาครัฐมักจะจายคาจางในอัตราที่สูงเพื่อแขงขัน
กับภาคธุรกิจเอกชนในดานกําลังคน แตประสิทธิภาพในการทํางานมักจะต่ํากวาภาคธุรกิจเอกชน
24

และยิ่งภาครัฐบาลมีการขยายตัวในการจางงานมากกวาภาคเอกชนเทาใด ยอมเกิดแนวโนมลดลงใน
ประสิทธิภาพการทํางานของทั้งระบบเศรษฐกิจอยางไมอาจหลีกเลี่ยงได
ในภาคธุรกิจเอกชน จะเห็นไดวา กําไรและการแขงขันเปนปจจัยที่สําคัญที่ทําใหเกิดแรงจูง
ใจในการทํางานอยางมีประสิทธิภาพอยางเต็มที่ แตในภาครัฐบาลจะขาดปจจัยสําคัญ 2 ปจจัยนี้
เพราะถือวา “ไมไดทําธุรกิจ” จึงไมตองคํานึงถึงกําไรและการแขงขัน ดวยเหตุนี้ การตัดสินใจใน
กระบวนการผลิตอยางมีเหตุมีผลจึงไมอาจเกิดขึ้นได

3.4 รัฐบาลในฐานะเจาของธุรกิจ
ประเทศสหรัฐอเมริกานั้น กิจการที่รัฐบาลเปนเจาของก็มอี ยูหลายประเภท เชน สนามบิน
โรงไฟฟา โรงงานผลิตน้ําประปา แกส การคมนาคมขนสงในทองถิ่น โรงงานพลังงานนิวเคลียร
ฯลฯ อยางไรก็ตามมิไดหมายความวา รัฐบาลตองดําเนินกิจการเหลานี้แขงกับวิสาหกิจเอกชน หาก
แตเปนเพราะวา บางกิจการตองใชทรัพยากรจํานวนมาก บางกิจการมีอัตราเสี่ยงสูงมากๆ หรือบาง
กิจการผลิตแลวไดกําไรเพียงเล็กนอย ปจจัยตางๆ เหลานี้เปนตัวบีบบังคับใหรัฐบาลตองเขาไปทํา
การผลิตเอง เพื่อตอบสนองความจําเปนของสังคม ตัวอยางหนึ่งทีเ่ ห็นไดชัดเจน คือ โครงการ
Tennessee Valley Authority หรือที่รูจักกันในชื่อของ TVA ซึ่งเปนรัฐวิสาหกิจที่มีขนาดใหญโตมาก
แหงหนึ่งที่ทําการผลิตและแจกจายกระแสไฟฟาในเขตตะวันออกเฉียงใตของประเทศ

จากที่กลาวมาทั้งหมด อาจสรุปไดวา ในระบบเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกานั้น แมวา


วิสาหกิจสวนใหญยังเปนของเอกขน โดยปจจัยการผลิตยังเปนกรรมสิทธิ์สวนตัว และการตัดสินใจ
ยังคงเปนเรื่องของเอกชน โดยมีกลไกตลาดทําหนาที่ในการจัดสรรทรัพยากรและมีแรงจูงใจทาง
เศรษฐกิจเปนตัวกระตุนการดําเนินกิจกรรมภายในขอบเขตของกฎหมาย แตเนื่องจากวามีการผูก
ขาดในการผลิตอุตสาหกรรมหลายประเภทโดยบรรษัทขนาดใหญในปจจุบัน ทําใหรฐั บาลตองเขา
มามีบทบาทในการควบคุมดูแล ตลอดจนทําใหการผลิตสินคาและบริการบางประเภท ตอบสนอง
ความตองการของสังคมดวย แมวาเราจะไมอาจประเมินไดวา รัฐบาลไดเขามามีสวนมากนอยแค
ไหนในชีวิตทางเศรษฐกิจของประชาชนที่ทํามาหากินทั่วไป

จากทั้งหมดทีก่ ลาวมาขางตนนั้น จะเห็นไดวามีเหตุผลหลายประการที่อธิบายวาทําไม


สหรัฐอเมริกาจึงสามารถเติบโตจากประเทศที่มีสภาพเศรษฐกิจขนาดเล็กมาเปนประเทศผูนําทาง
ดานเศรษฐกิจภายในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งมีเหตุผลดังตอไปนี้
ขนาดของตลาดภายในประเทศสหรัฐอเมริกา
การที่สหรัฐอเมริกามีตลาดภายในทีใ่ หญมาก มีขนาดพื้นที่เทียบไดกับยุโรปตะวันตกทั้ง
ทวีป มีประชากรจํานวนมาก ไมมีกําแพงภาษีระหวางมลรัฐ มีการคมนาคมขนสงที่เชื่อมโยงถึงกัน
25

ทั้งหมด การที่สหรัฐอเมริกามีตลาดที่ใหญนั้น ยอมหมายถึง มีปริมาณความตองการซื้อสินคาและ


บริการของผูบริโภคภายในประเทศจํานวนมาก ทําใหโรงงานสามารถผลิตสินคาในปริมาณมาก
(Mass production) โดยที่ผูผลิตมีความมั่นใจวาจะสามารถขายสินคาได
การมีทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ
การที่สหรัฐอเมริกาเต็มไปดวยทรัพยากรจํานวนมาก อาทิเชน ถานหิน แรเหล็ก ทองแดง
สังกะสี ทองคํา เงิน น้ํามันปโตรเลียม รวมทั้งยังมีที่ดินทีม่ ีความอุดมสมบูรณ สภาวะอากาศที่ดี ฤดู
เพาะปลูกนาน มีปาไมหนาแนนในหลายพื้นที่ จะทําใหสหรัฐอเมริกาสามารถที่จะเลือกแหลงผลิต
ตามความเหมาะสมทางภูมิศาสตรและทรัพยากรได เชน โรงงานถลุงเหล็กและอุตสาหกรรมหนัก
จะตั้งอยูแ ถบทะเลสาบทั้งหา เพราะมีแหลงแรเหล็กและการขนสงสะดวกเนื่องจากมีการขนสงทาง
ทะเลสาบ
ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี
สหรัฐอเมริกามีความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีที่สูง และพยายามหาวิธปี ระยุกต
เทคโนโลยีนั้นใหเหมาะสมกับการผลิต ถึงแมวาจะมีเทคโนโลยีที่สําคัญที่คิดคนไดในยุโรปอยูกอน
แลว เชน เครื่องจักรไอน้ํา การถลุงเหล็กกลาวิธี Bessemer หรือแมแตการผลิตแบบแยกชิ้นสวนแลว
นํามาประกอบกัน แตสหรัฐอเมริกาก็สามารถที่จะเรียนรูและนําเอาเทคโนโลยีนั้นมาใชในการผลิต
ไดอยางรวดเร็ว สําหรับสหรัฐอเมริกาไดมีการพัฒนากระบานการผลิตขึ้นมา ซึ่งเปนรากฐานที่
สําคัญของระบบทุนนิยมอุตสาหกรรม ซึ่งมี 2 รูปแบ คือ การผลิตแบบปริมาณมาก (mass
production) และการจัดการแบบวิทยาศาสตร (scientific management) มีรายละเอียดดังตอไปนี้
การผลิตแบบปริมาณมาก (mass production) คือ การผลิตที่ทําติดตอกันไมมีการหยุดและ
เปนการผลิตแบบแยกชิน้ สวนแลวนํามาประกอบกัน ซึ่งจะทําใหสามารถผลิตสินคาไดในปริมาณ
มาก การผลิตในรูปแบบนีจ้ ะตองใชเครื่องจักรขับเคลื่อนดวยพลังงานจากสิ่งที่ไมมีชีวติ ซี่งจะทําให
สามารถผลิตสินคาติดตอกันได และชิน้ สวนที่ผลิตไดก็จะมีมาตรฐานเดียวกันซึ่งสามารถใชแทนกัน
ไดอยางสมบูรณ การผลิตแบบ mass production นั้น นํามาใชครั้งแรกในการผลิตเครื่องใชทางการ
การเกษตรและจักรยานกอน ตอมาพัฒนาไปสูการผลิตรถโดยสารและรถตูสินคาพวงในขบวน
รถไฟ โดยใชวิธีตั้งสถานีประกอบชิ้นสวนในโรงงานหลานสถานี แตละสถานีประกอบเฉพาะจุดใด
จุดหนึ่ง สุดทายในป ค.ศ.1913 Henry Ford ไดเริ่มใชระบบการประกอบแบบเคลื่อนที่ (moving
assembly)
การจัดการแนววิทยาศาสตร (Scientific management) คือ การจัดการใหมีประสิทธิภาพสูง
สุด เมื่อโรงงานมีขนาดใหญและแรงงานมีจํานวนมาก ผูคิดคนวิธีการจัดการในรูปแบบนี้ คือ
Federic W. Taylor ซึ่งเขาไดคิดหลักการจัดการแบบกายภาพภายในโรงงาน สายงาน และขั้นตอน
การทํางาน ซึ่งทําใหมีคาใชจา ยนอยที่สุด กลาวโดยสรุป คือ การวางแผนการผลิตสามารถคนควาหา
26

หลักทางวิทยาศาสตรได ซึ่งจะทําใหโรงงานและคนงานสามารถผลิตสินคาไดอยางมีประสิทธิภาพ
สูงสุด
บรรณานุกรม

กนกศักดิ์ แกวเทพ, ระบบเศรษฐกิจเปรียบเทียบ : แนวคิด ทฤษฎี แบบจําลองและตัวอยางจริง,


กรุงเทพฯ, คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, พิมพครั้งที่ 2 ,2536
กาญจนี พลจันทร, รายงานผลการวิจัยแนวการวิเคราะหระบบเศรษฐกิจเปรียบเทียบ, กรุงเทพฯ,
คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
โกวิท วงศสุรวัฒน, สหรัฐอเมริกา : ประวัติศาสตรและการเมือง,กรุงเทพฯ,บรรณกิจเทรดดิ้ง, คณะ
สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, พิมพครั้งที่ 1 ,2524
โฆสิต ปนเปยมรัษฎ, สงครามเศรษฐกิจ ,กรุงเทพฯ,สํานักพิมพดอกเบี้ย,พิมพครั้งที่ 1, 2534
ฉัตรทิพย นาถสุภา, ประวัติศาสตรการปฎิวตั อุตสาหกรรมเปรียบเทียบ, กรุงเทพฯ, คณะ
เศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, พิมพครั้งที่ 1 ,2536
ทองแถม นาถจํานง , ค.ศ. 2000 เศรษฐกิจโลกพินาศจริงหรือ?, กรุงเทพฯ, สํานักพิมพสุขภาพใจ,
พิมพครั้งที่ 1, 2541
พงษศรี เลขะวัฒนะและปราณี ธนะชานันท, สังคมอเมริกันรวมสมัย, กรุงเทพฯ, บรรณกิจเทรดดิ้ง,
พิมพครั้งที่ 1, 2540
วริยา ศ. ชินวรรโณ, เสนทางมหาอํานาจ : เอกสารดานนโยบายตางประเทศอเมริกาตอเอเชีย,
กรุงเทพฯ, โครงการจัดพิมพคบไฟ, พิมพครั้งที่ 2, 2539
สมภพ มานะรังสรรค, U.S.Finance : การเงิน ทุนนิยมและเศรษฐกิจกาสิโน , กรุงเทพฯ, พิมพที่นัท
รีพับลิค, พิมพครั้งที่ 1, 2546
สมร นิติทัณฑประภาศ, ประวัติศาสตรสหรัฐอเมริกา ค.ศ.1865-1945 : ยุคหลังสงครามกลางเมือง –
สงครามโลกครั้งที่ 2,กรุงเทพฯ,สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, พิมพครั้งที่ 2 ,2548
สันติ ตั้งรพีพากร, อภิแนวโนมโลก ค.ศ.2000, แปลจาก จอหน ไนซบิตตและแพทริเซีย อเบอรดีน,
Magatrends 2000(1990),กรุงเทพฯ, สํานักพิมพโกลเบิ้ล เบรน, พิมพครั้งที่ 1 ,2534
สุธา ศาสตรีและคณะ, การสรางอเมริกา : สังคมและวัฒนธรรมของสหรัฐ , กรุงเทพฯ, สํานักพิมพ
ดวงกมล, พิมพครั้งที่ 1 ,2537
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.)และมูลนิธิภปู ญญา, สหรัฐอเมริกา : ยุทธศาสตรครอง
ความเปนเจา, กรุงเทพฯ, โครงการวิถีทรรศน, พิมพครั้งที่ 2, 2542
อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ, ชีวิตและสถาบันแบบอเมริกัน, แปลจาก D.K.Stevenson, American Life
and Institution, กรุงเทพฯ, ศูนยการพิมพดวงกมล, 2537
27

อรพินท ปานนาค, ประวัติศาสตรสหรัฐอเมริกาในคริสตศตวรรษที่ 20, กรุงเทพฯ, คณะ


มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, พิมพครั้งที่ 2 ,2545
อสัมภินพงศ ฉัตราคม, ประวัติศาสตรเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา, กรุงเทพฯ, คณะเศรษฐศาสตร
มหาวิทยาลัยรามคําแหง, พิมพครั้งที่ 5 ,2534
http://www.geocities.com/koratjoe/ame2.html
http://th.wikipedia.org/wiki/
http://bea.gov/bea/dn/nipaweb/IndexB.htm#B
http://www.mfa.go.th/web/848.php?id=266
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/index_varakorn.htm
28

ภาคผนวก

ธงชาติ ตราประจําชาติ

ประเทศสหรัฐอเมริกา( The United States of America )

ขอมูลทั่วไป

ที่ตั้ง : ทวีปอเมริกาเหนือ โดยมีมลรัฐ Alaska อยูทางตะวันตกเฉียงเหนือของแคนาดา และ มีมลรัฐ


ฮาวายอยูทางตอนกลางของมหาสมุทรแปซิฟก

เนื้อที่ : มีเนื้อที่ประมาณ 9,631,418 ตารางกิโลเมตร เปนประเทศที่ใหญเปนอันดับ 3 ของโลก รอง


จากรัสเซียและแคนาดา

อาณาเขตติดตอ :ทิศเหนือ ติดกับ แคนาดา


ทิศใต ติดกับ เม็กซิโก
ทิศตะวันออก ติดกับ มหาสมุทรแอตแลนติก
ทิศตะวันตก ติดกับ มหาสมุทรแปซิฟก

ภูมิอากาศ
ผืนแผนดินใหญโดยรวมมี 4 ฤดูคือ ฤดูหนาว ฤดูใบไมผลิ ฤดูรอน และฤดูใบไมรวง
สวนใหญมีอากาศดีเปนปกติตามธรรมชาติตลอดป ยกเวน
เขตตะวันออกเฉียงใตบนแผนดินใหญ ที่มีอากาศคอนไปทางแหงแลง
29

เขตที่ราบฝงตะวันตกของแมน้ํามิสซิสซิปป ที่มีอากาศกึ่งแหงแลง
มลรัฐฮาวายและฟอริดา อากาศแบบเมืองรอน (tropical)
มลรัฐอลาสกา อากาศแบบขั้วโลกเหนือ
สภาพภูมิประเทศ : มีความกวางใหญไพศาลและมีความแตกตางกันอยางมากตั้งแตภูเขาน้ําแข็ง เขต
ที่ราบหนาวเย็นแบบทรุนดา ไปจนถึงปาเมืองรอนและทะเลทราย ที่ราบกวางใหญตอนกลาง
ประเทศ เทือกเขาและเนินเขาทางฝงตะวันตกและตะวันออกของประเทศ หุบเขากวางใหญมีแมน้ํา
หลายสายในมลรัฐอาลาสกา และภูมิประเทศที่เปนภูเขาไฟในหมูเกาะฮาวาย
สวนที่ต่ําสุดของประเทศคือ Death Valley –86 เมตรจากระดับน้ําทะเล สวนที่สูงที่สุดของ
ประเทศคือ Mount McKenley 6,194 เมตรจากระดับน้ําทะเล

ทรัพยากรธรรมชาติ : ถานหิน, ทองแดง, เกลือ, ยูเรเนี่ยม, ทองคํา, เหล็ก, ปรอท, นิเกิล, โปแตส,
เงิน, วุลแฟรม, ทังสแตน, สังกะสี, ปโตรเลี่ยม, กาซธรรมชาติและปาไม เปนตน

ประชากร
ประชากร : 298,444,215 คน (ก.ค. 2006 ประมาณการ)
อัตราการเติบโตเฉลี่ยของประชากร(ป 2004)ประมาณรอยละ 0.92 เปนประเทศที่มีจํานวนประชากร
สูงเปนอันดับที่สามรองจากจีนและอินเดีย
ประชากรสวนใหญอาศัยอยูบนพื้นแผนดินใหญ คิดเปนสัดสวนประชากรประมาณ 30.73
คนตอเนื้อที่หนึ่งตารางกิโลเมตร ที่เหลือประมาณ 6 แสนกวาคนอาศัยอยูในมลรัฐอาลาสกา คิดเปน
สัดสวนประชากร 0.42 คนตอเนื้อที่หนึ่งตารางกิโลเมตร และประมาณหนึ่งลานกวาคนอาศัยอยูใน
มลรัฐฮาวาย คิดเปนสัดสวนประชากร 33.73 คนตอเนื้อที่หนึ่งตารางกิโลเมตร
อัตราสวนการเกิด ตาย และประชากรที่มาจากการยายถิ่นฐาน
อัตราการเกิดของประชากร(ป 2004) ประมาณวาเทากับ 14.13 คนตอประชากร
1,000 คน อัตราการตาย 8.34 ตอ 1,000 คน อัตราการยายถิ่นฐานมาจากนอกประเทศ 3.41 คนตอ
ประชากร 1,000 คน

เชื้อชาติ :คนผิวขาวรอยละ 81.7


คนแอฟริกันอเมริกันรอยละ 12.9
คนเอเชียนรอยละ 4.2
คนอเมริกันอินเดียนและชาวอะแลสการอยละ 1
30

ชาวฮาวายเอียนและชาวเกาะแปซิฟกรอยละ 0.2
(2546 ประมาณ)

ศาสนา โปรเตสแตนท รอยละ 52


โรมันคาทอลิก รอยละ 24
มอรมอน รอยละ 2
ยิว รอยละ 1
มุสลิม รอยละ 1
อื่น ๆ รอยละ 10
ไรศาสนา รอยละ 10
(2545 ประมาณ)

ภาษาราชการ : ภาษาอังกฤษ
อัตราการรูหนังสือ
รอยละ 97 ของประชากรสามารถเขียนและอานหนังสือได
หนวยเงิน : ดอลลารสหรัฐ US dollar (USD)
อัตราแลกเปลี่ยน : 1 ดอลลารสหรัฐ เทากับ 40.22 บาท (2548)
อัตราเงินเฟอ : 3.2% (2005 ประมาณการ)
เวลาตางจากไทย : ฝงตะวันออก 12 ชั่วโมง ฝงตะวันตก 15 ชั่วโมง
วันชาติ : 4 กรกฎาคม

การเมืองการปกครอง
ชื่อประเทศ : ชื่อเต็ม United States of America เรียกวา สหรัฐอเมริกา
ชื่อยอ United States เรียกวา สหรัฐฯ
อักษรยอ US หรือ USA
วันประกาศอิสระภาพ จากอังกฤษ 4 กรกฎาคม 1776
วันประกาศรัฐธรรมนูญ 17 กันยายน 1787 มีผลบังคับใช 4 มีนาคม 1789

ระบบการปกครอง สหพันธสาธารณรัฐ (Federal Republic) ที่เปนประชาธิปไตยอยางเขมแข็ง


มีประธานาธิปดีเปนประมุขและเปฯหัวหนารัฐบาล(Chief Executive)มีพรรคการเมืองสําคัญสูงสุด
สองพรรคคือ Democratic Party และ Republican Party
31

ระบบกฎหมาย ยึดถือแนวทางตามรูปแบบกฎหมายในลักษณะ common law ของอังกฤษ แตละ


มลรัฐมีสิทธิในการออกกฎหมายใชบังคับภายในมลรัฐของตนเองที่อาจจะแตกตางกันออกไปในแต
ละมลรัฐ แตทั้งนี้จะตองอยูภายใตแนวทางและขอบเขตของกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่
ออกโดยรัฐบาลกลาง ในกรณีที่เกิดการขัดแยงกันระหวางกฎหมายของมลรัฐ กฎหมายรัฐธรรมนูญ
หรือกฎหมายของรัฐบาลกลาง ศาลสูง (U.S. Supreme Court) จะเปนผูชี้ขาดสุดทาย

เมืองหลวง : กรุงวอชิงตัน (Washington,D.C.)


การแบงการปกครอง : ประกอบดวย 50 มลรัฐและ 1 District (District of Columbia ซึ่งเปนที่ตั้งของ
กรุงวอชิงตัน) ไดแก
Alabama, Alaska (เปนมลรัฐที่ใหญที่สุด), Arizona, Arkansas, California, Colorado, Connecticut,
Delaware, District of Columbia, Florida, Georgia, Hawaii, Idaho, Illinois, Indiana, Iowa, Kansas,
Kentucky, Louisiana, Maine, Maryland, Massachusetts, Michigan, Minnesota, Mississippi,
Missouri, Montana, Nebraska, Nevada, New Hamshire, New Jersey, New Mexico, New York,
North Carolina, North Dakota, Ohio, Oklahoma, Oregon, Pennsylvania, Rhode Island (เปนมลรัฐ
ที่เล็กที่สุด), South Carolina, South Dakota, Tennessee, Texas, Utah, Vermont, Virginia,
Washington, West Virginia, Wisconsin, Wyoming
เขตการปกครองอื่นๆ : American Samoa, Baker Island, Guam, Howland Island, Jarvis Island, John
Atoll, Kingman Reef, Midway Islands, Navassa Island, Northern Mariana Islands, Palmyra Atoll,
Puerto Rico, Virgin Islands, Wake Island

สิทธิในการเลือกตั้ง : อายุ 18 ปขึ้นไป


ประมุขของประเทศ : นาย George Walker Bush เปนประธานาธิบดี คนที่ 43 และหัวหนารัฐบาล
เขารับตําแหนงเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2548 สังกัดพรรครีพับริกัน และมีนาย Richard B.
Cheney เปนรองประธานาธิบดี

โครงสรางทางการเมือง
สหรัฐอเมริกา มีพรรคการเมืองใหญ 2 พรรค คือ พรรครีพับลิกัน (Republican) และพรรคเดโม
เเครต (Democrat)
การปกครองแบบสหพันธรัฐ แบงแยกอํานาจออกเปน 3 ฝาย ภายใตบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ แต
ละฝายไดรับเลือกในลักษณะที่แตกตางกัน และมีการตรวจสอบและถวงดุลอํานาจซึ่งกันและกัน
(checks and balances) ดังนี้
32

ฝายบริหาร : มีประธานาธิบดีเปนประมุข ไดรับเลือกจากการเลือกตั้งทั่วไป รวมกับรอง


ประธานาธิบดีทุก 4 ป ในวันอังคารแรกของเดือนพฤศจิกายน ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้งผาน
คณะผูเลือกตั้ง ( Electoral College ) จํานวน 538 คน ดํารงตําแหนงไมเกิน 2 สมัย สมัยละ 4 ป
ประธานาธิบดีจะเปนผูรางรัฐบัญญัติตอรัฐสภา และทําหนาที่เปนผูบัญชาการทหารสูงสุด ผูทําสนธิ
สัญญาตางๆ ตลอดจนแตงตั้งผูพิพากษา เอกอัครราชทูตและตําแหนงตางๆของฝายบริหารตั้งแต
ระดับรองผูชวยรัฐมนตรี (Deputy Assistant Secretary) ขึ้นไป
ฝายนิติบัญญัติ : ประกอบดวย 2 สภา คือ
วุฒิสภา มีสมาชิกจากแตละมลรัฐ มลรัฐละ 2 คน รวมเปน 100 คน ดํารงตําแหนงสมัยละ 6
ป โดยสมาชิกจํานวน 1 ใน 3 ครบวาระทุก 2 ป วุฒิสภามีอํานาจใหความเห็นชอบหรือปฎิเสธบุคคล
ที่ประธานาธิบดีแตงตั้ง รวมทั้งคณะรัฐมนตรี และใหสัตยาบันสนธิสัญญา รองประธานาธิบดี
สหรัฐฯ เปนผูดํารงตําแหนงประธานวุฒิสภาโดยตําแหนง (President of the Senate) คือนาย
Richard B. Cheney หัวหนาฝายเสียงขางมาก (Majority Leader)ในวุฒิสภา ไดแก นาย Bill First (R-
Tennessee) หัวหนาฝายเสียงขางนอย (Minority Leader) ไดแก นาย Thomas A. Daschle (D-South
Dakota)
สภาผูแทนราษฎร มีสมาชิก 435 คน แบงตามสัดสวนของประชากรในมลรัฐ คือ ประชากร
575,000 คน ตอ สมาชิก 1 คน ดํารงตําแหนงสมัยละ 2 ป ประธานสภา (Speaker of the House) ได
แก นาย Dennis Hastert (R-Illinois) ผูนําเสียงขางมาก คือ นาย Tom DeLay (R-Texas) สวนผูนํา
เสียงขางนอย คือ นาย Nancy Pelosi (D-California)

ฝายตุลาการ : ประกอบดวย ศาลชั้นตน (Curcuit Court) ศาลอุทรณ (Appeal Court)และศาลฎีกา


(Supreme Court) ศาลฏีกามีอํานาจที่จะลมเลิกกฏหมายใดๆและการปฎิบัติการของฝายบริหารที่ได
วินิจฉัยแลววาขัดตอรัฐธรรมนูญ ในการแตงตั้งผูพิพากษาศาลฎีกาซึ่งมีทั้งหมด 9 คนนั้น
ประธานาธิบดีเปนผูเสนอชื่อและวุฒิสภาเปนผูใหการรับรอง และดํารงตําแหนงไดโดยไมมีการ
กําหนดวาระ
วันเลือกตั้ง :การเลือกตั้งครั้งลาสุด 2 พฤศจิกายน 2547
การเลือกตั้งครั้งตอไป 4 พฤศจิกายน 2551

สถานการณการเมือง
การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2547 ซึ่งมีนาย George W. Bush
ประธานาธิบดีสหรัฐฯ และตัวแทนจากพรรครีพับลิกัน และนาย John Kerry สมาชิกวุฒิสภา และตัว
แทนจากพรรคเดโมแครต เปนผูแขงขันหลัก ผลปรากฏวา ประธานาธิบดี Bush ชนะการเลือกตั้ง
และทําพิธีสาบานตนเขารับตําแหนงในสมัยตอไปเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2548
33

เศรษฐกิจการคา

ระบบเศรษฐกิจ ทุนนิยม ( Capitalism ) เปนระบบเศรษฐกิจที่ใหเอกชนเปนผูดําเนินธุรกิจโดยที่รัฐ


จะเขาแทรกแซงในกิจการของเอกชนนอย และสนับสนุนใหมีการแขงขันกันอยางเสรีทั้งภายในและ
ภายนอกประเทศ
ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) 12,410 พันลานดอลลารสหรัฐ (2548 ประมาณ)
ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัว (GDP per capita) 41,800 ดอลลารสหรัฐ (2548 ประมาณ
การ)
อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ: รอยละ 3.5 (2548 ประมาณ)
อัตราการวางงาน : รอยละ 5.1 (2548 ประมาณ)

รายไดสวนบุคคลของประเทศ-Personal Income(ไตรมาสที่สาม 2004) 9,674.3 พันลานเหรียญฯ


รายไดสวนบุคคลเพื่อการใชสอย – Disposable Income 7,990.2 พันลานเหรียญฯ
รายไดเฉลี่ยตอครัวเรือน – Real median Household Income (2003) 43,300 เหรียญฯตอป
รายไดเฉลี่ยตอบุคคล-Per capita personal income (current dollar พย. 2004)29,607 เหรียญฯตอ
ป
รายไดเฉลี่ยตอชั่วโมง (พย. 04) 15.83 เหรียญฯ
อัตราความยากจน (2003) 12.5% (ประมาณ 35.9 ลานคน)
อัตราเงินเฟอ : (2005 ประมาณการ) 3.2 %
อัตราดอกเบี้ย Bank Prime Rate (มกราคม 2005) 5.25%
อัตราเงินกูระยะสั้น Fed. Fund Bank Lending Rate (มกราคม 2005) 2.25%
ดัชนีความมั่นใจของผูบริโภค (ธันวาคม 2004) 102.3
งบประมาณแผนดิน (ประมาณการณ 2004)
รายรับ 1.782 แสนลานเหรียญฯ

รายจาย 2.156 แสนลานเหรียญฯ


หนี้ประชาชาติ (ประมาณการณ 2004) 62.4% ของ GDP

อุตสาหกรรม : สหรัฐฯ เปนผูนําทางภาคอุตสาหกรรมของโลก มีความหลากหลายสูงและมี


เทคโนโลยีที่กาวหนามาก เชน ปโตรเลียม เครื่องยนตเครื่องบิน อุปกรณการสื่อสาร เคมีภัณฑ
อิเล็กทรอนิกส การแปรรูปอาหาร สินคาอุปโภคบริโภค ปาไม เหมืองแร
ดุลการคา : มูลคา – 829,100 ลานดอลลารสหรัฐ (2548 ประมาณ)
34

การสงออก: มูลคา 927,500 ลานดอลลารสหรัฐ


สินคาสงออก : ผลิตภัณฑเกษตร(ถั่วเหลือง ผลไม ขาวโพด) รอยละ 9.2 ชิ้นสวนอุตสาหกรรม (สาร
เคมีกายภาพ) รอยละ 26.8 สินคาอุตสาหกรรม (เครื่องบินและสวนประกอบ รถยนตและสวน
ประกอบ คอมพิวเตอรและสวนประกอบ เคื่องมือทางการโทรคมนาคม) รอยละ 49 สินคาบริโภค
(รถยนต ยา) รอยละ 15 (2548)
ประเทศคูคาในการสงออก : แคนาดารอยละ 23 เม็กซิโกรอยละ 13.6 ญี่ปุนรอยละ 6.7 สหราชอาณา
จักรรอยละ 4.4 จีนรอยละ 4.3 (2547)

การนําเขา: มูลคา 1,727,000 ลานดอลลารสหรัฐ (2548 ประมาณ)


สินคานําเขา : ผลิตภัณฑเกษตรรอยละ 4.9 อุปกรณในการอุตสาหกรรมรอยละ 32.9 (น้ํามันดิบรอย
ละ 8.2) สินคาอุตสาหกรรมรอยละ 30.4 (คอมพิวเตอร อุปกรณโทรคมนาคม ชิ้นสวนเครื่องจักร เคื่
องผลิตกระแสไฟฟา) สินคาอุปโภคบริโภครอยละ 31.8 (รถยนต เสื้อผา ยา เฟอรนิเจอร ของเลน)
ประเทศคูคาในการนําเขา :แคนาดารอยละ 17 จีนรอยละ 13.8 เม็กซิโกรอยละ 10.3 ญี่ปุนรอยละ 8.7
เยอรมนีรอยละ 5.2
ปงบประมาณ : 1 ตุลาคม – 30 พฤศจิกายน
35

ตารางที่ 1.แสดงรายชื่อประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาทั้ง 43 คน (นับถึง ค.ศ.2005) ตามผูที่รับ


ตําแหนง ไมไดแยกตามสมัยที่ดํารงตําแหนง

# ชื่อ เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ พรรค รองประธานาธิบดี

George
1 ค.ศ.1789 ค.ศ. 1797 ไมมี John Adams
Washington

2 John Adams ค.ศ.1797 ค.ศ. 1801 Federalist Thomas Jefferson

Thomas Democratic- Aaron Burr and George


3 ค.ศ.1801 ค.ศ. 1809
Jefferson Republican Clinton [1]

Democratic- George Clinton [1] and


4 James Madison ค.ศ.1809 ค.ศ. 1817
Republican Elbridge Gerry [1]

Democratic-
5 James Monroe ค.ศ.1817 ค.ศ. 1825 Daniel D. Tompkins
Republican

John Quincy Democratic-


6 ค.ศ.1825 ค.ศ. 1829 John C. Calhoun
Adams Republican

John C. Calhoun [2] and


7 Andrew Jackson ค.ศ.1829 ค.ศ. 1837 เดโมแครต
Martin Van Buren
36

Martin Van
8 ค.ศ.1837 ค.ศ. 1841 เดโมแครต Richard Mentor Johnson
Buren

William Henry
9 ค.ศ.1841 ค.ศ. 1841 วิก John Tyler
Harrison [3]

10 John Tyler ค.ศ.1841 ค.ศ. 1845 วิก [4] none

James Knox
11 ค.ศ.1845 ค.ศ. 1849 เดโมแครต George M. Dallas
Polk

Zachary Taylor ค.ศ.1849


12 ค.ศ. 1850 วิก Millard Fillmore
[3] [9]

13 Millard Fillmore ค.ศ.1850 ค.ศ. 1853 วิก none

14 Franklin Pierce ค.ศ.1853 ค.ศ. 1857 เดโมแครต William R. King [5]

15 James Buchanan ค.ศ.1857 ค.ศ. 1861 เดโมแครต John C. Breckinridge


37

Abraham Hannibal Hamlin and


16 ค.ศ.1861 ค.ศ. 1865 รีพับลิกัน
Lincoln [6] Andrew Johnson

เดโมแครต
17 Andrew Johnson ค.ศ.1865 ค.ศ. 1869 none
[7]

Ulysses Simpson Schuyler Colfax and Henry


18 ค.ศ.1869 ค.ศ. 1877 รีพับลิกัน
Grant Wilson [5]

Rutherford
19 ค.ศ.1877 ค.ศ. 1881 รีพับลิกัน William A. Wheeler
Birchard Hayes

James Abram
20 ค.ศ.1881 ค.ศ. 1881 รีพับลิกัน Chester A. Arthur
Garfield [6]

Chester Alan
21 ค.ศ.1881 ค.ศ. 1885 รีพับลิกัน none
Arthur

Stephen Grover
22 ค.ศ.1885 ค.ศ. 1889 เดโมแครต Thomas A. Hendricks [5]
Cleveland

Benjamin
23 ค.ศ.1889 ค.ศ. 1893 รีพับลิกัน Levi P. Morton
Harrison
38

Stephen Grover
24 ค.ศ.1893 ค.ศ. 1897 เดโมแครต Adlai E. Stevenson
Cleveland

William Garret A. Hobart [5] then


25 ค.ศ.1897 ค.ศ. 1901 รีพับลิกัน
McKinley [6] Theodore Roosevelt

Theodore None then Charles W.


26 ค.ศ.1901 ค.ศ. 1909 รีพับลิกัน
Roosevelt, Jr. Fairbanks

William Howard
27 ค.ศ.1909 ค.ศ. 1913 รีพับลิกัน James S. Sherman [5]
Taft

Thomas
28 Woodrow ค.ศ.1913 ค.ศ. 1921 เดโมแครต Thomas R. Marshall
Wilson

Warren
29 Gamaliel ค.ศ.1921 ค.ศ. 1923 รีพับลิกัน Calvin Coolidge
Harding [3]

John Calvin None then Charles G.


30 ค.ศ.1923 ค.ศ. 1929 รีพับลิกัน
Coolidge, Jr. Dawes

Herbert Clark
31 ค.ศ.1929 ค.ศ. 1933 รีพับลิกัน Charles Curtis
Hoover
39

John Nance Garner and


Franklin D.
32 ค.ศ.1933 ค.ศ. 1945 เดโมแครต Henry A. Wallace and Harry
Roosevelt [3]
S. Truman

None then Alben W.


33 Harry S. Truman ค.ศ.1945 ค.ศ. 1953 เดโมแครต
Barkley

Dwight D.
34 ค.ศ.1953 ค.ศ. 1961 รีพับลิกัน Richard M.Nixon
Eisenhower

John F. Kennedy
35 ค.ศ.1961 ค.ศ. 1963 เดโมแครต Lyndon B. Johnson
[6]

Lyndon B. None then Hubert H.


36 ค.ศ.1963 ค.ศ. 1969 เดโมแครต
Johnson Humphrey

Richard Spiro Agnew [2] then None


37 ค.ศ.1969 ค.ศ. 1974 รีพับลิกัน
M.Nixon [8] then Gerald R. Ford

None then Nelson


38 Gerald R. Ford ค.ศ.1974 ค.ศ. 1977 รีพับลิกัน
Rockefeller

39 Jimmy Carter ค.ศ.1977 ค.ศ. 1981 เดโมแครต Walter F. Mondale


40

40 Ronald Reagan ค.ศ.1981 ค.ศ. 1989 รีพับลิกัน George Bush

41 George Bush ค.ศ.1989 ค.ศ. 1993 รีพับลิกัน James Danforth Quayle III

William J.
42 ค.ศ.1993 ค.ศ. 2001 เดโมแครต อัล กอร
Clinton

ยังดํารง
43 George W Bush ค.ศ.2001 รีพับลิกัน Richard B. Cheney
ตําแหนง

[1] เสียชีวิตขณะดํารงตําแหนงรองประธานาธิบดี
[2] ลาออกขณะเปนรองประธานาธิบดี
[3] เสียชีวิตขณะดํารงตําแหนงดวยสาเหตุธรรมชาติ
[4] Democrat on Whig ticket.
[5] Died while Vice President, not replaced.
[6] ถูกลอบสังหาร
[7] Democrat who ran on Union ticket with Republican Lincoln.
[8] ลาออก
[9] Sworn in later than expected (see last fact in the Presidential Facts: Transition Events for more
information.)
41

You might also like