Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 31

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 13

กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
หนุวยการเรียนรู้ที่ 7 น้้าฟู าและดวงดาว
เวลา 20 ชัว่ โมง
เรื่อง เมฆหมอกและฝน
เวลา 1 ชัว่ โมง
ผู้สอน นายนัสฐกร นาคอก โรงเรียน
อน่บาลเมืองราชบ่ร ี

มาตรฐานการเรียนรู้ชุวงชั้นที่เกี่ยวขูอง
สำำ รวจตรวจสอบ อภิ ป รำยและอธิ บ ำยกำรเกิ ด เมฆ ชนิ ด
ของเมฆ กำรเกิ ด หมอก นำ้ ำค้ ำ ง และลู ก เห็ บ รวมทั้ ง ผลของ
ปรำกฏกำรณ์เหล่ำนี้

สาระส้าคัญ
บรรยำกำศของโลก เมื่อได้รบ
ั พลังงำนจำกดวงอำทิตย์ จะ
เกิดกำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ควำมดัน และควำมชื้ น

จ่ดประสงค์การเรียนรู้
1. สังเกตและอธิบำยชนิ ดของเมฆได้
2. ทดลองและอธิบำยกำรเกิดเมฆ หมอก ฝน นำ้ำค้ำง
และลูกเห็บได้
3. สืบค้นข้อมูลและนำำเสนอผลปรำกฏกำรณ์กำรเกิดเมฆ
หมอก ฝน นำ้ำค้ำง
และลูกเห็บได้
4. สืบค้นข้อมูลและอธิบำยควำมชื้ น ควำมดันอำกำศ และ
ผลของกำร
เปลี่ยนแปลงได้

สาระการเรียนรู้
เมฆ หมอก ฝน นำ้ำค้ำง และลูกเห็บ
ควำมชื้ นของอำกำศ ควำมดันบรรยำกำศ และผลของกำร
เปลี่ยนแปลง

กระบวนการเรียนรู้
1. ให้ นั กเรี ย นร้ อ งเพลง สำยฝน พร้ อ มกั บ ทำำ ท่ ำ ทำง
ประกอบเพลงตำมจินตนำกำร

เพลง สายฝน
ซ่ำ ซ่ำกน้ซ่อำยเดี
เปี ยกฝนเล็ ฝนตกลงมำกระเด็ นเป็ฮันฝอย
๋ยวจะเป็ นหวัดเอย ดเช้ย ฮัดเด็
เช้กยๆ
หลบฝนกั นย
ฮัดเช้ หน่อย (ซำ้ำ)

2. ครู นำำ ภำพเมฆ หมอก ฝน มำให้ นั กเรีย นดู แล้ ว ให้


นั กเรียนร่วมกันอภิปรำย
ว่ำ เมฆ หมอก ฝน คืออะไร และเกิดขึ้นได้อย่ำงไร
3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ทำำกำรทดลองเรื่อง กำรเกิดเมฆ
หมอก ฝน โดยให้
แต่ละกลุ่มเทนำ้ำเดือดลงในบีกเกอร์ สังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นในบีกเกอร์
แล้วบันทึกผล ลงใน
ใบงำนที่ 1 เรื่อง กำรเกิดเมฆ หมอก ฝน แล้วนำำ เสนอผลงำนที่
หน้ำชั้น
4. ครู แ ล ะ นั กเ รี ย น ร่ ว มกั น อ ภิ ป ร ำ ย แ ล ะ ส รุ ปเ กี่ ย ว กั บ
ปรำกฏกำรณ์กำรเกิดเมฆ
หมอก ฝน

กระบวนการวัดผลประเมินผล
1. สังเกตกำรทำำงำนกลุ่ม
2. กำรตรวจผลงำน
- แบบบันทึกผล
3. เจตคติทำงวิทยำศำสตร์
- ควำมอยำกรู้อยำกเห็น
- ควำมซื่อสัตย์
- กำรยอมรับฟั งควำมคิดเห็น

เครื่องมือประเมินผล
1. แบบประเมินกำรทำำงำนกลุ่ม
2. แบบประเมินผลงำน
3. แบบวัดเจตคติทำงวิทยำศำสตร์

เกณฑ์การประเมิน
1. สังเกตพฤติกรรมกำรทำำงำนกลุ่ม ผ่ำนเกณฑ์อย่ำงน้อย 60%
2. กำรตรวจผลงำน ผ่ำนเกณฑ์อย่ำงน้อย 60%
3. เจตคติทำงวิทยำศำสตร์ ผ่ำนเกณฑ์อย่ำงน้อย 60%

สื่อ / แหลุงการเรียนรู้
1. ใบงำนที่ 1 เรื่อง กำรเกิดเมฆ หมอก ฝน
2. ใบควำมรู้
3. power point เรื่อง กำรเกิดเมฆ
4. เพลง

คำำชี้แจง ให้นักเรียนทำำกำรทดลอง เพื่ออธิบำยกำรเกิด


เมฆ หมอก ฝน ใบงานที่ 1
แล้วบันทึกข้อมูล
เรื่อง การเกิดเมฆ หมอก ฝน

อ่ปกรณ์ วิธีท้า
1.บีกเกอร์หรือ 1.แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเทนำ้ำเดือดลงในบีก
แก้วใส เกอร์
ทนควำม
ประมำณ ¼ ของบีกเกอร์
ร้อน
2.ใส่ก้อนนำ้ำแข็งลงบนจำนแก้ว แล้วนำำมำวำง
2.จำนแก้ว
ปิ ดปำกบีกเกอร์
(มีขนำดใหญ่
3.สังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นภำยในบีกเกอร์ จำกนั้ น
บันทึกผล
บันทึกผล
บันทึกผล
1. เมื่อเทนำ้ำเดือดลงในบีกเกอร์จะสังเกตเห็น
วาดภาพการทดลอง

………………………………
………………………
เกิดขึ้นเหนื อระดับนำ้ำในบีกเกอร์
2. เมื่อนำำจำนแก้วใส่น้ ำำแข็งวำงปิ ดปำกบีกเกอร์
ทิ้งไว้สักครู จะสังเกต
เห็น……………………………

………………………………………………………
สร่ปผลการทดลอง

………………………………………………………………………
……………………
ทักษะ / กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ใชู
µ ทักษะกำรสังเกต µ ทักษะกำรวัด µ
ทักษะกำรจำำแนก
µ ทักษะกำรทดลอง µ ทักษะกำรจัดกระทำำและ
สื่อควำมหมำยข้อมูล
µ ทักษะกำรลงควำมคิดเห็นจำกข้อมูล
ใบความรู้
เรื่อง เมฆ และหมอก

เมฆ และหมอก
เรำอำศัยอยู่บนโลก มีอำกำศอยู่รอบตัวเรำ บำงวันมีอำกำศ
ร้อน ท้องฟ้ ำแจ่มใสมีลมพัด
บำงวันมีอำกำศเย็น ท้องฟ้ ำมือครึ้ม มีเมฆมำก มีลมพัดแรง
และมีฝนตก ในฤดูหนำวเห็นหมอก
หรือนำ้ำค้ำงในตอนเช้ำ ในฤดูร้อนมีกระแสลมแรง ในฤดูฝนมี
ฝนตก บำงครั้งมีลูกเห็บตก สภำพ
อำกำศเหล่ำนี้ เรำเรียกว่ำ ลมฟ้ ำอำกำศ ซึ่งปรำกฏกำรณ์ลม
ฟ้ ำอำกำศที่เกิดขึ้นมีสำเหตุมำจำกกำร
เปลี่ยนแปลงสถำนะของนำ้ำ
เมฆเป็ นละอองนำ้ำเล็กๆ จำำนวนมำก
ที่แขวนลอยในอำกำศระดับสูง ทำำให้มองเห็น
เป็ นก้อนสีขำวบนท้องฟ้ ำ ส่วนหมอกเป็ น
ละอองนำ้ำเล็กๆ จำำนวนมำกที่แขวนลอยอยู่
ในอำกำศระดับตำ่ำ
เมฆและหมอกเกิดจำกไอนำ้ำในอำกำศ
กระทบกับควำมเย็น จึงเกิดกำรควบแน่นเป็ น
ละอองนำ้ำเล็กๆ

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 14
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
หนุวยการเรียนรู้ที่ 7 น้้าฟู าและดวงดาว
เวลา 20 ชัว่ โมง
เรื่อง น้้าคูางและล้กเห็บ
เวลา 2 ชัว่ โมง
ผู้สอน นายนัสฐกร นาคอก โรงเรียน
อน่บาลเมืองราชบ่ร ี
มาตรฐานการเรียนรู้ชุวงชั้นที่เกี่ยวขูอง
สำำรวจตรวจสอบ อภิปรำยและอธิบำยกำรเกิดเมฆ ชนิ ด
ของเมฆ กำรเกิดหมอก นำ้ำค้ำง และลูกเห็บ รวมทั้งผลของ
ปรำกฏกำรณ์เหล่ำนี้

สาระส้าคัญ
นำ้ำค้ำงและลูกเห็บเป็ นปรำกฏกำรณ์ สมฟ้ ำอำกำศที่เกิดจำก
ธรรมชำติ

จ่ดประสงค์การเรียนรู้
สำมำรถอธิบำยกำรเกิดนำ้ำค้ำงและลูกเห็บได้

สาระการเรียนรู้
นำ้ำค้ำง และลูกเห็บ

กระบวนการเรียนรู้
1. ครูนำำ ภำพนำ้ำค้ำงที่เกำะอยู่ตำมยอดหญ้ำ และลูกเห็บมำ
ให้นักเรียนดู แล้วร่วมกัน
อภิปรำยว่ำนำ้ำค้ำง และลูกเห็บ คืออะไร เกิดขึ้นได้อย่ำงไร
2. ครูอธิบำยเพิ่มเติมให้นักเรียนฟั งว่ำ นำ้ำค้ำง คือ หยดนำ้ำ
ที่ เ กิ ด จำกควำมชื้ นในอำกำศ กลั ่น ตั ว เป็ นหยดนำ้ ำ เพรำะกระทบ
ควำมเย็น เกำะตัวอยู่ตำมยอดหญ้ำ ลูกเห็บคือ ก้อนนำ้ำแข็ง ที่เกิด
จำกฝนแล้วถูกลมพัดขึ้นไปบนท้องฟ้ ำซึ่งมีอุณหภูมิตำ่ำกว่ำ 0 องศำ
เซลเซียส ทำำให้น้ ำำฝนกลำยเป็ นก้อนนำ้ำแข็งเล็กๆ ตกลงสู่พื้นดิน
เหมือนกับฝน
3. ครู ใ ห้ นั ก เรีย นแบ่ ง กลุ่ ม ทำำ กำรทดลองเรื่อ ง กำรเกิ ด
ลูกเห็บ โดยให้แต่ละกลุ่มใส่น้ ำำแข็งลงในกระป๋ องนมจนเต็ม ตั้งทิ้ง
ไว้ แล้วสังเกตด้ำนนอกกระป๋ อง บันทึกผล และสรุปผลกำรทดลอง
ในใบงำนที่ 1 เรื่อง กำรเกิดลูกเห็บ แล้วนำำเสนอผลงำนที่หน้ำชั้น
4. ครูและนั กเรียนร่วมกันอภิปรำยและสรุปเกี่ยวกับ กำร
เกิดลูกเห็บ

กระบวนการวัดผลประเมินผล
1. ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์
2. สังเกตกำรทำำงำนกลุ่ม
3. กำรตรวจผลงำน
- แบบบันทึกผล

เครื่องมือประเมินผล
1. แบบประเมินทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์
2. แบบประเมินกำรทำำงำนกลุ่ม
3. แบบประเมินผลงำน

เกณฑ์การประเมิน
1. สังเกตกำรใช้ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์
ผ่ำนเกณฑ์อย่ำงน้อย 60%
2. กำรนำำเสนอผลงำนหน้ำชั้นเรียน ผ่ำนเกณฑ์อย่ำงน้อย 60%
3. กำรตรวจผลงำน ผ่ำนเกณฑ์อย่ำงน้อย 60%

สื่อ / แหลุงการเรียนรู้
1. ใบงำนที่ 1 เรื่อง กำรเกิดลูกเห็บ
2. ใบควำมรู้ เรื่อง นำ้ำค้ำง ลูกเห็บ
3. รูปภำพ

ชื่อกลุ่ม.................................
ชั้น………………………….วัน
ที่…………………………………..……………………
ค้าชี้แจง ให้นักเรียนทำำกำรทดลองเพื่ออธิบำยกำรเกิด
ลูกเห็บ แล้วบันทึกผล

ใบงานที่ 1
เรื่อง การเกิดล้กเห็บ
อ่ปกรณ์ วิธีท้า
1. แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มใส่น้ ำำแข็งลงใน
1.กระป๋ อง
กระป๋ องนมจนเต็ม
นม
2 2. ตั้งกระป๋ องทิ้งไว้สักครู่ สังเกตด้ำนนอก
2.แท่งแก้ว
กระป๋ องนม
สำาหรับคน
3.ใส่เกลือลงในกระป๋ องนมประมำณ 2-3 ช้อน
แล้วใช้แท่งแก้วคน
นำ้ำแข็งในกระป๋ อง
นม
4. ทิ้งไว้สักครู สังเกตด้ำนนอกกระป๋ องนม

บันทึกผล
การทดลอง สิ่งที่สังเกตเห็น

1.ใส่น้ ำำแข็งลงในกระป๋ อง ……………………………………


นม ………………
แล้วตั้งทิ้งไว้สักครู่ ……………………………………
………………
2.ใส่เกลือลงในกระป๋ องนม ……………………………………
ใช้แท่งแก้ว ………………
คนแล้วตั้งทิ้งไว้สักครู่ ……………………………………
………………
สร่ปผลการทดลอง
………………………………………………………………
………………………….

………………………………………………………………………
……………………
ทักษะ / กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ใชู
µ ทักษะกำรสังเกต µ ทักษะกำรวัด µ
ทักษะกำรจำำแนก
µ ทักษะกำรทดลอง µ ทักษะกำรจัดกระทำำและ
สื่อควำมหมำยข้อมูล
µ ทักษะกำรลงควำมคิดเห็นจำกข้อมูล

ใบความรู้
เรื่อง น้้าคูางและล้กเห็บ

น้้าคูางและล้กเห็บ
ในตอนเช้ำตรู่ นั กเรียนคงเคย
สังเกตเห็น
หยดนำ้ำเกำะอยู่ตำมใบหญ้ำ ทั้งๆ ที่
ไม่มีฝนตก
หยดนำ้ำที่เห็นเหล่ำนั้ น เรียกว่ำ นำ้ำค้ำง
ซึ่งเกิดจำก
ควำมชื้ นในอำกำศที่กลัน
่ ตัวเป็ นหยด
นำ้ำเกำะอยู่
ตำมใบไม้ ใบหญ้ำ เนื่ องจำกในเวลำ
กลำงคืน
อำกำศใกล้พื้นดินจะเย็นลงเร็วกว่ำ
อำกำศ
บนท้องฟ้ ำทำำให้ไอนำ้ำกลัน
่ ตัวเป็ นหยด
นำ้ำ

ล้กเห็บ
ในบำงครั้งถ้ำอุณหภูมิในบริเวณนั้ น
ตำ่ำกว่ำจุดเยือกแข็ง หยดนำ้ำค้ำงจะแข็งตัว
เป็ นนำ้ำค้ำงแข็ง
ทำงภำคเหนื อของประเทศไทยใน
ช่วงฤดูหนำว จะเกิดนำ้ำค้ำงแข็ง หรือที่เรียกว่ำ
แม่คะนิ้ ง บนยอดภูสูงๆ ซึ่งจะมีนักท่องเที่ยว
เดินทำงไปเที่ยวชมเป็ นจำำนวนมำก
น้้าคูางแข็งหรือแมุคะนิ้ ง

ล้กเห็บ เกิดจำกฝนที่ตกลงมำได้ระยะหนึ่ ง แล้วถูกลมพัด


ขึ้นไปยังบริเวณ
ที่มีอุณหภูมิตำ่ำกว่ำ 0 องศำเซลเซียส ทำำให้น้ ำำฝนแข็งตัวกลำยเป็ น
ก้อนนำ้ำแข็งเล็กๆ
แล้วก้อนนำ้ำแข็งเล็กๆ เหล่ำนี้ จะถูกลมพัดขึ้นไปและตกลงมำอีก
หลำยครั้ง โดยแต่ละ
ครั้งจะมีน้ ำำสะสมกลำยเป็ นก้อนนำ้ำแข็งขนำดใหญ่ข้ ึน และมีน้ ำำหนั ก
มำก จึงตกลงมำ
เป็ นลูกเห็บ

จำกกำรทดลองที่ 3 เมื่อใส่เกลือลงในกระป๋ อง เกลือจะดูด


ควำมร้อนออกจำก
นำ้ำแข็ง ทำำให้อุณหภูมิตำ่ำมำก ดังนั้ น เมื่อไอนำ้ำควบแน่นเป็ นหยด
นำ้ำจึงกลำยเป็ นเกล็ด
นำ้ำแข็งเล็กๆ เกำะอย่ท
ู ่ีด้ำนนอกของกระป๋ องนม

หลังจากท้าการทดลอง แลูว นักเรียนจะเขูาใจมากขึ้นวุา


หยดน้้าฝนที่ตกลงมากลายเป็ นกูอนน้้าแข็งเล็กๆ
ที่เรียกวุาล้กเห็บไดูอยุางไร
ลูกเห็บเกิดจำกหยดฝนแข็งตัวซึ่ง
เกิด
ในกลุ่มเมฆคิวมูโลนิ มบัส ขณะที่ตก
จำก
ก้อนเมฆจะหลอมละลำย แล้วกลับ
แข็งตัวอีก
จึงทำำให้ลูกเห็บเป็ นนำ้ำแข็งชั้นๆ สลับ
กัน

3. ผลของปรากฏการณ์การเกิดเมฆ หมอก ฝน น้้าคูางและ


ล้กเห็บ
ปรำกฏกำรณ์ลมฟ้ ำอำกำศ เป็ นปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติท่ี
เกิดขึ้นภำยใน
บรรยำกำศโลก และเป็ นสิ่งจำำเป็ นที่คนเรำต้องรับรู้และทำำควำม
เข้ำใจเนื่ องจำกมีควำมสัมพันธ์กับชีวิตประจำำวันของเรำทุกคน

กำรศึกษำเกี่ยวกับวิทยำศำสตร์ของบรรยำกำศ และ
ปรำกฏกำรณ์
ธรรมชำติท่ีเรียกว่ำ ลมฟ้ ำอำกำศ เป็ นกำรศึกษำควำมรู้ด้ำน
อุตุนิยมวิทยำ
สำระที่สำำคัญทำงอุตุนิยมวิทยำ ได้แก่ อุณหภูมิ ควำมชื้ น
ลม เมฆ
นำ้ำฟ้ ำ ทัศนวิสัย และแสงแดด เป็ นต้น
ลมฟ้ ำอำกำศที่เกิดขึ้น มีท้ ังด้ำนที่เป็ นประโยชน์และโทษกับ
คนเรำ ดังนี้

เมฆลักษณะของเมฆชนิ ดต่ำงๆ ใช้


เป็ นข้อมูลนำำมำ
พยำกรณ์ลักษณะลมฟ้ ำอำกำศในแต่ละวันได้

หมอกคล้ำยกลุ่มควันสีขำว ทำำให้ทัศนวิสัย
ในกำรมองเห็น
สิ่งต่ำงๆ ลดลง ถ้ำหมอกลงจัดอำจทำำให้
เกิดอุบัติเหตุ
ในกำรเดินทำงได้ ดังนั้ นผู้ขบ
ั ยำนพำหนะ
ต่ำงๆ จึงต้อง
ระมัดระวัง

ฝนมีท้ ังประโยชน์และโทษตุอคนเรา

ประโยชน์ของฝน เช่น
1.ใช้ในกำรเพำะปลูกพืช และทำำให้เกิดควำมชุ่มชื้ น
ในอำกำศ
2. ทำำให้มีน้ ำำหมุนเวียนใน
วัฎจักรของนำ้ำ
3. ทำำให้เกิดควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ เพรำะในพื้ นที่ท่ีมี
ฝนตกชุก
เช่น บริเวณป่ ำร้อนชื้ น จะมีพืชพรรณและสัตว์ต่ำงๆ หลำก
ลำยชนิ ด
แต่ในเขตทะเลทรำยซึ่งเป็ นบริเวณที่มีฝนตกน้อย จะมี
ต้นไม้และสัตว์
ไม่ก่ีชนิ ด
โทษของฝน เช่น พำยุฝนทำำให้เกิดนำ้ำท่วม ก่อให้เกิดควำมเสีย
หำยแก่บ้ำนเรือน
พื้ นที่เพำะปลูก รวมทั้งกำรดำำรงชีวิตของคนและสัตว์ต่ำงๆ

ลูกเห็บ เป็ นนำ้ำฝนที่ตกจำกฟ้ ำ มีท้ ังขนำดเล็กและ


ใหญ่
ทำำให้เกิดอันตรำยแก่ร่ำงกำยเรำได้ รวมทั้งก่อให้เกิดควำม
เสียหำยแก่อำคำรบ้ำนเรือน เช่น กระเบื้ องมุงหลังคำแตก

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 15
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
หนุวยการเรียนรู้ที่ 7 น้้าฟู าและดวงดาว
เวลา 20 ชัว่ โมง
เรื่อง ชนิ ดของเมฆ
เวลา 2 ชัว่ โมง
ผู้สอน นายนัสฐกร นาคอก โรงเรียน
อน่บาลเมืองราชบ่ร ี

มาตรฐานการเรียนรู้ชุวงชั้นที่เกี่ยวขูอง
สำำรวจตรวจสอบ อภิปรำยและอธิบำยกำรเกิดเมฆ ชนิ ด
ของเมฆ กำรเกิดหมอก นำ้ำค้ำง และลูกเห็บ รวมทั้งผลของ
ปรำกฏกำรณ์เหล่ำนี้

สาระส้าคัญ
เมฆเป็ นละอองนำ้ำเล็กๆ จำำนวนมำกที่แขวนลอยในอำกำศ
ระดับสูง ทำำให้
มองเห็นเป็ นก้อนสีขำวบนท้องฟ้ ำ

จ่ดประสงค์การเรียนรู้
1. สำมำรถบอกกำรเกิดเมฆได้
2. สำมำรถจำำแนกชนิ ดของเมฆได้

สาระการเรียนรู้
ชนิ ดของเมฆ

กระบวนการเรียนรู้
1. ครูและนั กเรียนสนทนำถึงลักษณะของเมฆ กำรเกิดเมฆ
และสีของเมฆ บนท้องฟ้ ำ
2. ครูให้นักเรียนสังเกตลักษณะของเมฆ ติดต่อกันเป็ นเวลำ

5 วัน วันละ 2 ครั้ง ได้แก่


ช่วงเช้ำ และช่วงบ่ำย จดบันทึกลักษณะของเมฆ และสภำพอำกำศ
ที่เกิดขึ้นจริง ลงในใบงำนที่ 1 เรื่อง พยำกรณ์อำกำศจำกเมฆ แล้ว
นำำเสนอผลงำนที่หน้ำชั้น
3. ครูและนั กเรียนร่วมกันอภิปรำยและสรุปเกี่ยวกับ ชนิ ด
ของเมฆ โดยเปรียบเทียบชนิ ด
ของเมฆที่นักเรียนสังเกตได้ กับชนิ ดของเมฆในใบควำมรู้ว่ำ
เหมือนกันหรือต่ำงกันอย่ำงไร
4. ครูเล่ำนิ ทำน เรื่อง เมขลำล่อแก้ว ให้นักเรียนฟั ง แล้ว
ให้นักเรียนอำสำสมัคร ออกมำแสดงบทบำทสมมติประกอบนิ ทำน

5. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม และให้แต่ละกลุ่มช่วยกันเล่ำ
นิ ทำนเกี่ยวกับลมฟ้ ำอำกำศ ตำมที่เคยได้ฟังมำ แล้วแสดงบทบำท
สมมติประกอบ โดยผลัดกันออกมำแสดงทีละกลุ่ม
6. ครูให้นักเรียนสังเกตลักษณะของท้องฟ้ ำ ในวันที่
ท้องฟ้ ำแจ่มใส และวันที่มีฝนตก เปรียบเทียบลักษณะของเมฆทั้ง
2 วัน พร้อมกับวำดภำพประกอบ ลงในใบงำนที่ 2 เรื่อง ลักษณะ
ของท้องฟ้ ำ แล้วนำำเสนอผลงำนที่หน้ำชั้น
7. ครูและนั กเรียนร่วมกันอภิปรำยและสรุปเกี่ยวกับ
ลักษณะของท้องฟ้ ำในวันที่ท้องฟ้ ำ
แจ่มใส และวันที่มีฝนตก มีลักษณะแตกต่ำงกันอย่ำงไร
8. ให้นักเรียนศึกษำใบควำมรู้แล้วร่วมกันอภิปรำยแสดง
ควำมคิดเห็น

กระบวนการวัดผลประเมินผล
1. สังเกตกำรทำำงำนกลุ่ม
2.กำรนำำเสนอผลงำนหน้ำชั้นเรียน
3. กำรตรวจผลงำน
- แบบบันทึกผล
- แบบฝึ กหัด
4. เจตคติทำงวิทยำศำสตร์
- ควำมอยำกรู้อยำกเห็น
- ควำมซื่อสัตย์
- กำรยอมรับฟั งควำมคิดเห็น

เครื่องมือประเมินผล
1. แบบประเมินกำรทำำงำนกลุ่ม
2. แบบประเมินกำรนำำเสนอผลงำนหน้ำชั้น
3. แบบประเมินผลงำน
4. แบบวัดเจตคติทำงวิทยำศำสตร์

เกณฑ์การประเมิน
1. สังเกตพฤติกรรมกำรทำำงำนกลุ่ม ผ่ำนเกณฑ์อย่ำงน้อย 60%
2. กำรนำำเสนอผลงำนหน้ำชั้นเรียน ผ่ำนเกณฑ์อย่ำงน้อย 60%
3. กำรตรวจผลงำน ผ่ำนเกณฑ์อย่ำงน้อย 60%
4. เจตคติทำงวิทยำศำสตร์ ผ่ำนเกณฑ์อย่ำงน้อย 60%

สื่อ / แหลุงการเรียนรู้
1. ใบงำนที่ 1 เรื่อง พยำกรณ์อำกำศจำกเมฆ
2. ใบงำนที่ 2 เรื่อง ลักษณะของท้องฟ้ ำ
3. ใบควำมรู้ เรื่อง เมฆ หมอก ฝน
ค้าชี้แจง ให้นักเรียนทำำกำรทดลองเพื่อสำำรวจและอธิบำย
ชนิ ดของเมฆ และ
พยำกรณ์อำกำศจำกเมฆ แล้วบันทึกผล

ใบงานที่ 1
เรื่อง พยากรณ์อากาศจากเมฆ

วิธีท้า
1. ให้แต่ละคนสังเกตลักษณะของเมฆ ติดต่อกันเป็ นเวลำ 5 คน วันละ
2 ครั้ง
ได้แก่ ช่วงเช้ำ และช่วงบ่ำย
2. จดบันทึกลักษณะของเมฆ พร้อมกับวำดภำพประกอบ
3. ทำำนำยสภำพอำกำศจำกกำรสังเกตลักษณะของเมฆ และบันทำำสภำพ
อำกำศ
ที่เกิดขึ้นจริง
บันทึกผล
วัน/เดือน/ปี สภาพลมฟู าอากาศ
และเวลาที่ ลักษณะของเมฆ ท้านาย เกิดขึ้นจริง
สังเกต
ว/ด/ป ………………………… ………… …………
……………… ………….. ….. …..
……. ………………………… ………… …………
ช่วงเช้ำเวลำ ………….. ….. …..
……………… ………………………… ………… …………
……. ………….. ….. …..
ช่วงบ่ำยเวลำ ………………………… ………… …………
……………… ………….. ….. …..
………. ………………………… ………… …………
………….. ….. …..
………………………… ………… …………
………….. ….. …..
ว/ด/ป ………………………… ………… …………
……………… ………….. ….. …..
……. ………………………… ………… …………
ช่วงเช้ำเวลำ ………….. ….. …..
……………… ………………………… ………… …………
……. ………….. ….. …..
ช่วงบ่ำยเวลำ ………………………… ………… …………
……………… ………….. ….. …..
………. ………………………… ………… …………
………….. ….. …..
………………………… ………… …………
………….. ….. …..

วัน/เดือน/ปี สภาพลมฟู าอากาศ


และเวลาที่ ลักษณะของเมฆ ท้านาย เกิดขึ้นจริง
สังเกต
ว/ด/ป ………………………… ………… …………
……………… ………….. ….. …..
……. ………………………… ………… …………
ช่วงเช้ำเวลำ ………….. ….. …..
……………… ………………………… ………… …………
……. ………….. ….. …..
ช่วงบ่ำยเวลำ ………………………… ………… …………
……………… ………….. ….. …..
………. ………………………… ………… …………
………….. ….. …..
………………………… ………… …………
………….. ….. …..
ว/ด/ป ………………………… ………… …………
……………… ………….. ….. …..
……. ………………………… ………… …………
ช่วงเช้ำเวลำ ………….. ….. …..
……………… ………………………… ………… …………
……. ………….. ….. …..
ช่วงบ่ำยเวลำ ………………………… ………… …………
……………… ………….. ….. …..
………. ………………………… ………… …………
………….. ….. …..
………………………… ………… …………
………….. ….. …..
ว/ด/ป ………………………… ………… …………
……………… ………….. ….. …..
……. ………………………… ………… …………
ช่วงเช้ำเวลำ ………….. ….. …..
……………… ………………………… ………… …………
……. ………….. ….. …..
ช่วงบ่ำยเวลำ ………………………… ………… …………
……………… ………….. ….. …..
………. ………………………… ………… …………
………….. ….. …..
………………………… ………… …………
………….. ….. …..

สร่ปผลการท้ากิจกรรม
………………………………………………………………
………………………….

………………………………………………………………………
…………………..
ทักษะ / กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ใชู
µ ทักษะกำรสังเกต µ ทักษะกำรวัด µ
ทักษะกำรจำำแนก
µ ทักษะกำรทดลอง µ ทักษะกำรจัดกระทำำและ
สื่อควำมหมำยข้อมูล
µ ทักษะกำรลงควำมคิดเห็นจำกข้อมูล
ใบงานที่ 2
เรื่อง ลักษณะของทูองฟู า

ค้าชี้แจง ให้นักเรียนสังเกตลักษณะของท้องฟ้ ำวันที่ทอ


้ งฟ้ ำ
แจ่มใส และวันที่มีฝนตก
เปรียบเทียบลักษณะของเมฆทั้ง 2 วัน
พร้อมกับวำดภำพประกอบ
1. วันที่สังเกตลักษณะท้องฟ้ ำ คือวันที่

………………………………….................
เป็ นวันที่  ท้องฟ้ ำแจ่มใส  มีฝนตก
ลักษณะเมฆที่สังเกตเห็น
คือ……………………………………………............
...

2. วันที่สังเกตลักษณะท้องฟ้ ำ คือวันที่

………………………………….................
เป็ นวันที่ µ ท้องฟ้ ำแจ่มใส  มีฝนตก
ใบความรู้
เรื่อง เมฆ หมอก ฝน

นั กเรียนเคยสังเกตสภำพอำกำศรอบๆ ตัวในแต่ละวันบ้ำง
หรือไม่ และ
จำกประสบกำรณ์นักเรียนจะพบว่ำ สภำพอำกำศในแต่ละวันอำจ
แตกต่ำงกัน หรือ
แม้แต่ในแต่ละช่วงเวลำใน 1 วัน สภำพอำกำศก็อำจแตกต่ำงกัน
ด้วยเช่น ช่วงเช้ำ
ท้องฟ้ ำแจ่มใส แต่ตอนบ่ำยท้องฟ้ ำมีเมฆมำก มีลมแรง พอตอน
เย็น ฝนตก มีเมฆมำก
อำกำศเย็น เป็ นต้น
สภำพต่ำงๆ ของอำกำศที่มีกำรเปลี่ยนแปลงได้ เช่น เมฆ ลม
ฝน อุณหภูมิ
ของอำกำศ เรียกว่ำ ลมฟู าอากาศ
เมฆ หมอก และฝน
เมื่อนั กเรียนมองขึ้นไปบนท้องฟ้ ำคงเคยเห็นก้อนเมฆที่เป็ น
ปุยสีขำวลอย
อยู่บนท้องฟ้ ำ นั กเรียนทรำบหรือไม่ว่ำ เมฆเกิดขึ้นได้อย่ำงไร
และมำจำกไหน
เมฆเกิดจำกไอนำ้ำในอำกำศที่
ลอยตัวขึ้นไป
เมื่อได้รบ
ั ควำมเย็นจำกอำกำศในที่
สูงๆ
จะกลำยเป็ นละอองนำ้ำเล็กๆ หรือ
เกล็ด
นำ้ำแข็งรวมกันอยู่ในกลุ่ม มอง
เห็นเป็ น
ก้อนสีขำว

นั กเรียนรู้จักเมฆชนิ ดใด
บ้ำง
จำกกำรทำำกิจกรรม ทำำให้ทรำบว่ำ ลักษณะรูปร่ำงของเมฆ
แต่ละชนิ ด
มีควำมสัมพันธ์กับสภำพลมฟ้ ำอำกำศ ดังนั้ น นั กวิทยำศำสตร์ตำม
สถำนี อวกำศ
ทัว่ โลกจะศึกษำลักษณะเมฆในแต่ละวัน เพื่อจะได้นำำมำเป็ นข้อมูล
ในกำรพยำกรณ์
สภำพอำกำศ

เมฆคิวมูโลนิ มปั ส สำมำรถก่อตัวได้สูงถึง


15 กิโลเมตร
ซึ่งสูงเป็ น 2 เท่ำ ของยอดเขำเอเวอเรสต์

You might also like