Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

33701

ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหล ักการ


ร ัฐประศาสนศาสตร์
หน่วยที 2
แนวคิด ทฤษฎี และหล ักการ
ร ัฐประศาสนศาสตร์

รศ.ดร.เทพศกดิั บุณยร ัตพ ันธุ ์


รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพ ัฒนาระบบงาน
มหาวิทยาล ัยสุโขท ัยธรรมาธิราช
ความหมายของทฤษฎี
ความหมายกว้าง :
ทฤษฎี หมายถึง กรอบความคิดเกี ยวก ับการ
จ ัดระบบองค์ความรูใ้ นล ักษณะของต ัวแบบ
(model)
ความหมายเฉพาะเจาะจง :
ทฤษฎี หมายถึง กลุม ั ันธ์ก ันที
่ ข้อทฤษฎีท ี สมพ
ั ันธ์ก ันอย่างเป็นระบบ โดยมุง
เกี ยวข้องสมพ ่ อธิบาย
ปรากฏการณ์ท ี เกิดขึนในรูปของความสมพ ั ันธ์เชงิ
สาเหตุและผล

ทฤษฎี มีองค์ประกอบสําค ัญ 4 ด้าน ได้แก่


- กรอบอ้างอิง
- ฐานคติ
- แนวคิด
2
- ข้อทฤษฎี
ประเภทของทฤษฎี
1. เกณฑ์ทศ ิ ทางการพ ัฒนา
4. เกณฑ์ขนาดของแนวคิด
องค์ความรู ้
4.1 ทฤษฎีมหภาค
1.1 ทฤษฎีอุปมาน
(Deductive Theory) (Macroscopic Theory)
1.2 ทฤษฎีอนุมาน 4.2 ทฤษฎีจุลภาค
(Inductive Theory) (Microscopic Theory)
2. เกณฑ์จุดมุง ่ หมายของทฤษฎี 5. เกณฑ์ความแน่นอนของการ
2.1 ทฤษฎีปท ัสถาน พยากรณ์
(Normative Theory) 5.1 ทฤษฎีดเี ทอมินส ิ ติค
2.2 ทฤษฎีพรรณนา (Deterministic Theory)
(Descriptive Theory) 5.2 ทฤษฎีความน่าจะเป็น
3. เกณฑ์ความซบซ ั อ
้ นของ (Probabilistic Theory)
ความสมพั ันธ์

6. เกณฑ์สณฐานของทฤษฎี
3.1 ทฤษฎีระด ับท ั วไป ั
(General Level Theory) 6.1 ทฤษฎีลําด ับชน
3.2 ทฤษฎีระด ับกลาง (Hierarchical Theory)
(Middle Level Theory) 6.2 ทฤษฎีกระบวนการสาเหตุและผล
3.3 ทฤษฎีระด ับล่าง (Causal Process Theory)
3 (Low Level Theory)
เกณฑ์ 5 ประการ
การประเมินทฤษฎี

1. เกณฑ์ความประหย ัด
2. เกณฑ์ความสอดคล้องภายใน
3. เกณฑ์ความกว้างขวางครอบคลุม
4. เกณฑ์ความสามารถทดสอบ
5. เกณฑ์คุณค่าในทางปฏิบ ัติ

4
ประเภทของ
ทฤษฎีร ัฐประศาสนศาสตร์
(Steven Bailey)

1. ทฤษฎีพรรณนา-อธิบาย
(Descriptive Explanatory Theory)
2. ทฤษฎีปท ัสถาน (Normative Theory)
3. ทฤษฎีฐานคติ (Assumptive Theory)
4. ทฤษฎีเครื องมือ(Instrumental
Theory)

5
กรอบทฤษฎีร ัฐประศาสนศาสตร์
ยุคบุกเบิก

1. Woodrow Wilson
เขียนบทความเรื อง“The Study of
Administration) ในปี 1887 เสนอ
การเมืองแยกจากการบริหาร ถือได้วา่ จุด
กําเนิดของวิชาร ัฐประศาสนศาสตร์
2. Max Weber
ทฤษฎีระบบราชการด ั งเดิม
(Classic Bureaucratic Theory)
6
กรอบทฤษฎีร ัฐประศาสนศาสตร์
ยุคโครงสร้างหน้าที
1. Frederick Taylor
หล ักการจ ัดการทางวิทยาศาสตร์
(Scientific Management)

2. Henry Fayol
หล ักการบริหาร POCCC - Planning, Organizing,
Commanding, Coordinating, Controlling

3. Gulick
กระบวนการบริหาร POSDCORB - Planning,
Organizing, Staffing, Directing, Coordinating,
Reporting, Budgeting

สรุป จุดเน้นของทฤษฎีร ัฐประศาสนศาสตร์


7
ยุคโครงสร้างหน้าที มุง ่ เน้นการทํางานที ก่อให้เกิด
ประสท ิ ธิภาพสูงสุดต่อองค์การ
กรอบทฤษฎีร ัฐประศาสนศาสตร์
ยุคพฤติกรรมนิยม
1. Elton Mayo – หล ักมนุษยสมพ ั ันธ์
2. Abraham Maslow – ทฤษฎีลําด ับชนความั
ต้องการของมนุษย์ (Hierarchy of Needs Theory)
2.1 ความต้องการด้านกายภาพ
2.2 ความต้องการด้านม ั นคง
2.3 ความต้องการด้านสงคมั
2.4 ความต้องการด้านชอเส ื ี งและการได้ร ับการยอมร ับ

2.5 ความต้องการที จะประสบผลสําเร็จในชวี ต ิ
3. Douglas McGregor – Theory X & Theory Y
4. Frederick Herzberg – ทฤษฎีสองปัจจ ัย
4.1 ปัจจ ัยสุขวิทยา (Hygenic Factors)
ได้แก่ การบ ังค ับบ ัญชา เงินเดือน ความม ั นคง
4.2 ปัจจ ัยจูงใจ (Motivator Factors)
8
ํ เร็จของงาน ความร ับผิดชอบ
ได้แก่ ความก้าวหน้า ผลสา
กรอบทฤษฎีร ัฐประศาสนศาสตร์
ยุคหล ังพฤติกรรมนิยม

> เกิดขึนการประชุมที Minnowbrook ของ


น ักร ัฐประศาสนศาตร์รน
ุ ่ ใหม่ ร่วมก ันเสนอเป็น
ร ัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
(New Public Administration – New P.A.)

จุดเน้นของ New Public Administration


1. ให้ความสําค ัญต่อการศก ึ ษาผลกระทบ
ขององค์การต่อผูร้ ับบริการ และ
ผลกระทบของผูร้ ับบริการต่อองค์การ
2. ให้ความสําค ัญต่อปัญหาสาธารณะ
3. ให้ความสําค ัญต่อความเสมอภาคและ
9 ความเป็นธรรมในสงคม ั

You might also like