Download as pdf
Download as pdf
You are on page 1of 18

ทฤษฎีบุคลิกภาพของแคทเทลล์

(Raymond B. Cattell)
ประวัติ
• เกิดที่ประเทศอังกฤษในปี 1905
• ในวัยเด็กเขาชอบแข่ งขันเอาชนะพี่ชายและ
ชอบทํากิจกรรมกลางแจ้ งต่ างๆ
• ผลของสงครามโลกครั ง้ ที่ 1: ตระหนักได้ ว่าเขา
ควรสร้ างสรรค์ ผลงานที่มีคุณค่ าต่ อตนเองและ
ผู้อ่ ืนขึน้ มา
• 15 ปี : สอบเข้ ามหาวิทยาลัยลอนดอน สาขาวิชาฟิ สิกส์ และเคมีเป็ น
วิชาเอก ได้ รับเกียรตินิยมในปี 1924
• ศึกษาต่ อในระดับปริญญาเอกทางด้ านจิตวิทยาและสําเร็จการศึกษา
ในปี 1929
• ในขณะที่เป็ นนักศึกษา มีโอกาสเป็ นผู้ช่วยวิจัยของชารฺลส์ สเปี ยร์ แมน
ผู้คดิ ค้ นสถิตกิ ารวิเคราะห์ องค์ ประกอบ (Factor Analysis)  นํา
เทคนิคนีม้ าใช้ ในการศึกษาบุคลิกภาพ
• แคทเทลล์ ได้ ทาํ งานวิจยั และงานสอนกับศาสตราจารย์ ทางจิตวิทยาที่
มีช่ อื เสียงหลายคน รวมทัง้ ได้ ทาํ งานในมหาวิทยาลัยหลายแห่ ง
• ได้ รับตําแหน่ งศาสตราจารย์ ท่ มี หาวิทยาลัยฮาวายในปี 1977
• ขณะที่อยู่ท่ ฮี าวาย ได้ เขียนตําราและทําการค้ นคว้ าวิจยั ทางจิตวิทยา
โดยตลอดจนกระทั่งเสียชีวติ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 1998
Specific Equation
• “สิ่งซึ่งชีบ้ ่ งว่ าบุคคลจะทําอะไรเมื่อตกอยู่ในสถานการณ์ อนั ใดอันหนึ่ง”
• สมการ Specific Equation
R = f(S,P)
R คือ Response
f คือ function
S คือ Situation
P คือ Personality
• พฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกมาเป็ นผลจากการที่เทรทต่ างๆ ที่
เกี่ยวข้ องกับสถานการณ์ นัน้ ๆ แสดงออกเพื่อโต้ ตอบกับสถานการณ์
นัน้ ๆ
Traits
• เทรท = โครงสร้างทางจิตที่สามารถสรุ ปได้จากลักษณะของพฤติกรรม
ที่บุคคลแสดงออกอย่างโดดเด่นในช่วงเวลาและสถานการณ์ต่างๆ กัน
• มีลกั ษณะที่มน่ั คงและสามารถใช้ทาํ นายบุคลิกภาพของบุคคลได้
• ใช้เทคนิคการแยกองค์ประกอบในการศึกษา
Traits
1. Surface Traits (อุปนิสยั พืน้ ผิว)
• ลักษณะของบุคลิกภาพภายนอกที่บุคคลแสดงออกมาในลักษณะกลุ่ม
พฤติกรรมหลายๆ ลักษณะด้ วยกัน
• เป็ นลักษณะรวมๆ ของมนุ ษย์
• เทรทพืน้ ผิวที่มีลักษณะคล้ ายคลึงกันสามารถรวมกันเป็ นกลุ่มเดียวกั
• ใกล้ เคียงกับ Common Traits
• จัดบุคลิกภาพที่มีค่าสหสัมพันธ์ ตงั ้ แต่ 60 ขึน้ ไปให้ อยู่ในกลุ่มเดียวกัน
• สามารถเปลี่ยนแปลงได้ จึงไม่ นํามาอธิบายบุคลิกภาพที่แท้ จริงของ
มนุษย์
Traits
2. Source Traits (อุปนิสัยโครงสร้ าง/ดัง้ เดิม)
• ลักษณะอุปนิสัยภายในที่แท้ จริงของแต่ ละบุคคล
• ได้ รับอิทธิพลมาจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้ อม
• เป็ นอุปนิสัยประจําตัวและเปลี่ยนแปลงค่ อนข้ างยาก
• เป็ นพืน้ ฐานบุคลิกภาพของบุคคลทัง้ ทางบวกและทางลบ
• ใช้ การวิเคราะห์ องค์ ประกอบเพื่อหาว่ าลักษณะอุปนิสัยใดมีค่า
สหสัมพันธ์ สูง ลักษณะอุปนิสัยใดมีค่าสหสัมพันธ์ ต่าํ แล้ วจัดกลุ่มแยก
ออกจากกัน
• แคทเทลล์ จาํ แนกเทรทโครงสร้ างออกเป็ น 16 ลักษณะ
ค่ าสหสัมพันธ์ ต่าํ (-) องค์ ประกอบ ค่ าสหสัมพันธ์ สูง (+)

16 Source
(Factor)
เก็บตัว A เข้ าสังคม

Traits
ฉลาดน้ อย B เฉลียวฉลาด
เจ้ าอารมณ์ C ไม่ หวั่นไหว
ถ่ อมตน E แสดงตัว
นิ่งเงียบ F กระตือรื อร้ น
ไม่ ยดึ มั่นในกฎ G ยึดมั่นในกฎ
ขีอ้ าย H กล้ าแสดงออก
ใจแข็ง I ใจอ่ อน
ไว้ วางใจ L ขีส้ งสัย
ตามความเป็ นจริ ง M เพ้ อฝั น
ทื่อตรง N ฉลาดหลักแหลม
มั่นคง O หวาดหวั่น
ชอบอนุรักษ์ Q1 ชอบทดลอง
พึ่งพาผู้อ่ นื Q2 พึ่งพาตัวเอง
ปล่ อยปละละเลย Q3 ควบคุมตัวเอง
ผ่ อนคลาย Q4 เครี ยด
องค์ประกอบที่ทําให้ เกิดบุคลิกภาพ
• มี 2 องค์ ประกอบ คือ
1. พันธุกรรม
2. สิ่งแวดล้ อม
• แคทเทลล์ ได้ ศึกษาเปรี ยบเทียบความเหมือนในฝาแฝดโดยอาศัยสถิติ
เพื่อศึกษาความสําคัญของปั จจัยทางชีววิทยาหรื อพันธุกรรมและ
สิ่งแวดล้ อมที่มีอทิ ธิพลต่ อบุคลิกภาพของมนุษย์
• ผลของการวิเคราะห์ แสดงให้ เห็นว่ าพันธุกรรมจะมีอทิ ธิพลต่ อเทรท
บางชนิดเป็ นอย่ างมาก
• สรุ ป: หากเราแบ่ งบุคลิกภาพออกเป็ น 3 ส่ วนเท่ าๆ กันแล้ ว พบว่ า
– ได้ รับอิทธิพลจากพันธุกรรม 1 ส่ วน
– ได้ รับอิทธิพลมาจากสังคมและสิ่งแวดล้ อม 2 ส่ วน
องค์ประกอบที่ทําให้ เกิดบุคลิกภาพ
• เราสามารถจําแนก Source Traits ออกเป็ น 2 เทรทย่ อย ดังนี ้
1. Constitutional Traits
– เทรทหรื อพฤติกรรมที่มีพืน้ ฐานมาจากลักษณะทางชีววิทยาหรื อ
พันธุกรรมของบุคคล
2. Environment Mold Traits
– เทรทหรื อพฤติกรรมที่มีพืน้ ฐานมาจากสิ่งเร้ าทางสังคมและ
สิ่งแวดล้ อม ซึ่งฝั งอยู่ในบุคลิกภาพของมนุษย์
พัฒนาการของบุคลิกภาพ
ขัน้ ที่ 1 วัยทารก (แรกเกิด - 5 ปี )
• ทัศนคติทางสังคมจะพัฒนาพร้ อมกับ Ego และ Superego จะเกิดขึน้
ในพัฒนาการขัน้ นี ้
• เป็ นช่ วงที่มีแต่ ความขัดแย้ ง และเป็ นช่ วงสําคัญมากของพัฒนาการ
บุคลิกภาพ
• จะได้ รับอิทธิพลจากพ่ อแม่ ผ้ ูปกครองและพี่น้อง และได้ รับอิทธิพล
จากประสบการณ์ ในการหย่ านมแม่ และการฝึ กขับถ่ าย
• อาจได้ รับผลกระทบจากปมปากและปมทวารหนัก
พัฒนาการของบุคลิกภาพ
ขัน้ ที่ 2 วัยเด็ก (6 - 13 ปี )
• เป็ นช่ วงที่เด็กสามารถเสริมพลังของ Ego ได้ อย่ างต่ อเนื่อง
• เริ่มเป็ นอิสระจากพ่ อแม่
• เริ่มพัฒนาความสัมพันธ์ กับเพื่อน
• มีความสนใจทางสังคมมากขึน้
พัฒนาการของบุคลิกภาพ
ขัน้ ที่ 3 วัยรุ่ น (14 - 23 ปี )
• มีการเปลี่ยนแปลงทางร่ างกายอย่ างรวดเร็ว อารมณ์ ไม่ ม่ ันคง
• สนใจเพื่อนต่ างเพศ สนใจช่ วยสังคมมากขึน้
• ที่มาหลักของความขัดแย้ งในช่ วงนีค้ ือ
1) ความต้ องการเป็ นอิสระจากพ่ อแม่
2) เตรียมตัวสู่อาชีพ
3) ไม่ ไพอใจในเรื่องความสัมพันธ์ ทางเพศ
4) ต้ องการสร้ างภาพของตน
• ถ้ าผ่ านได้  เกิดความพึงพอใจในความรู้สึกนึกคิดเกี่ยวกับตนเอง และพัฒนา
บุคลิกภาพเข้ าสู่วัยต่ อไปได้
พัฒนาการของบุคลิกภาพ
ขัน้ ที่ 4 วัยวุฒภิ าวะ (23 - 65 ปี )
• 2 ช่ วง ดังนี ้
1) วัยวุฒภิ าวะตอนต้ น (23-50 ปี )
• เป็ นวัยที่มีความที่มีความพร้ อมและพึงพอใจทัง้ ด้ านอาชีพ
การมีค่ คู รอง และครอบครั ว
• บุคลิกภาพจะไม่ ค่อยมีการเปลี่ยนแปลง และมีความมั่นคง
ทางอารมณ์ มากขึน้
• มีความเปลี่ยนแปลงในความสนใจและเจตคติเพียงเล็กน้ อย
เท่ านัน้
พัฒนาการของบุคลิกภาพ
ขัน้ ที่ 4 วัยวุฒภิ าวะ (23 - 65 ปี )
2) วัยวุฒิภาวะตอนปลาย (50-65 ปี )
• บุคลิกภาพจะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงอันเป็ นผลมาจากการ
เปลี่ยนแปลงทางร่ างกาย สังคม และจิตใจ
• ความกระฉับกระเฉงลดลง
• สภาพร่ างกายและสุขภาพเสื่อมลง
พัฒนาการของบุคลิกภาพ
ขัน้ ที่ 5 วัยชรา (65 ปี ขึน้ ไป)
• ร่ างกายเสื่อมโทรม สูญเสียพลังทางร่ างกายอย่ างรวดเร็ว
• ทํางานที่ต้องใช้ ความคล่ องตัวได้ ลาํ บาก
• เผชิญกับการสูญเสีย
– สูญเสียบุคคลอันเป็ นที่รัก เช่ น ภรรยา สามี
– สูญเสียหน้ าที่การงาน
– สูญเสียสถานภาพบางอย่ างทางสังคมไป
16 PF
• Sixteen Personality of Factor Questionnaire: 16PF
• ยึดแนวทางวิเคราะห์ จาก Source Traits 16 ด้ าน
• ใช้ วัดในบุคคลที่มีอายุตัง้ แต่ 16 ปี ขึน้ ไป
• ใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ คาํ นวณคะแนนและการตีความ
• นิยมใช้ อย่ างกว้ างขวางในงานวิจยั ต่ างๆ การวินิจฉัยโรค และการแนะ
แนวอาชีพ
16 PF
• ประกอบด้ วยข้ อคําถามมากกว่ า 100 ข้ อ
• เป็ นข้ อคําถามแบบให้ เลือกตอบ
• จัดแบ่ งบุคลิกภาพออกเป็ น 16 ลักษณะ
• ถ้ าบุคคลใดได้ คะแนนองค์ ประกอบใดสูง (+) ก็จะมีบุคลิกภาพที่
แตกต่ างจากบุคคลที่ได้ องค์ ประกอบนัน้ ตํ่า (-)

You might also like