คิดบวก (Positive Thinking) เพื่อทำให้การแก้ไขปัญหาง่ายขึ้น: ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

คิดบวก (Positive Thinking) เพือ่ ทาให้การแก้ไขปั ญหาง่ายขึ้ น

เขียนโดย: ทองพันชัง่ พงษ์วารินทร์

ปั ญหา (Problem) ปัญหา ปัญหา ไม่ว่าใครก็ตามที่ได้ ยินคานี้ ต้ อง


ส่ายหน้ าไปตามๆกัน ปัญหา โดยทั่วไป หม ายถึง สิ่งผิดปกติ หรือสิ่งที่เราไม่
ต้ องการให้ เกิด สิ่งที่ผดิ วัตถุประสงค์ หรือสิ่งที่ต้องการให้ เกิด เพื่อวัตถุประสงค์
บางอย่าง (สาหรับใครบางคน ) ซึ่งเป็ นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ ยากในการทางาน หรือ
ดาเนินกิจกรรมใด ๆ โดยมีสาเหตุมากมายเช่น จากคน (Men) เครื่องจักร
(Machine) วัสดุอุปกรณ์ (Material) วิธกี ารทางาน (Methods) สภาพแวดล้ อม
(Environment) หรืออื่นๆ แล้ วแต่ลักษณะของธุรกิจ หรือลักษณะการดาเนินงาน

ในที่ประชุมมักมีผ้ ูมองปัญหาไปได้ หลายมุมมอง ขึ้นอยู่กบั ความรู้ ประสบการณ์


ความรู้สกึ หรือแนวคิดส่วนตัว แต่พอสรุปมุมมองของปัญหาได้ 2 มุมใหญ่ๆ คือ มุมลบ (Negative
Thinking) และมุมบวก (Positive Thinking) ซึ่งสามารถเปรียบเทียบได้ ดังตารางข้ างล่าง

ตารางเปรียบเทียบมุมมองด้านลบ (Negative Thinking) และด้านบวก (Positive Thinking)


มองมุมลบ (Negative Thinking) มองในมุมบวก (Positive Thinking)
ความคิด ความคิด
 น่าเบื่อมากๆ  เป็ นสิ่งที่ท้าทายความสามารถ
 เกิดขึ้นอีกแล้ วหรือเนี้ย !!!!  ทุกปัญหามีทางออกเสมอ เราทาได้
 ทาไมถึงต้ องเป็ นเราในการแก้ ไขปัญหานี้?  สนุกดี มีอะไรให้ ทาอีกแล้ ว
 ทาไม่มีใครมาช่วยเราแก้ ไขปัญหานี้บ้าง?  ได้ ค้นหา ศึกษา ทดลอง อะไรใหม่ๆ
 ปัญหาเก่ายังไม่หาย ปัญหาใหม่เข้ ามาอีกแล้ ว ?  ได้ มีโอกาสพบเพื่อร่วมงานใหม่ๆ (กรณีปัญหา
 จะแก้ ไขปัญหาได้ ไหมเนี้ย? ที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากต่างแผนก)
 ไม่อยากอยู่แล้ วปัญหามากจริงๆ ลาออกดีกว่า  ได้ ร้ ูจักวิธกี ารระดมสมอง (Brain Storming)
และเรียนรู้การทางานเป็ นทีม
มองมุมลบ (Negative Thinking) มองในมุมบวก (Positive Thinking)
การแสดงออก การแสดงออก
 โวยวายน่าเบื่อมากๆ  วิเคราะห์ข้อมูล ด้ วยความรอบคอบ
 โมโหง่าย (จุดเดือดต่า)  ใจเย็น
 ควบคุมอารมณ์ได้ ไม่ดี  ควบคุมอารมณ์ได้ ดี
 ตื่น ตระหนก ทาให้ ใช้ อารมณ์มากกว่าเหตุผล  นิ่ง วิเคราะห์ด้วยเหตุและผล
 ลน (ไม่น่ิง) ขาดความน่าเชื่อถือ  แก้ ไขปัญหาได้ อย่างเป็ นระบบ
 อาจส่งผลทาให้ ขาดความรอบคอบ และขาด  มีความน่าเชื่อถือ และสามารถทางานได้ อย่างมี
ประสิทธิภาพในการทางาน ประสิทธิภาพ

การแก้ ไขปั ญหา เหมือนกับการวางแผนการดาเนินงาน โดย


จะต้ องเริ่มต้ นให้ ดีก่อน ดังคาพูดที่ว่า “วางแผนดีมีชยั ไปกว่า
ครึง่ ” ดังนั้น เมื่อเราเริ่มต้ นปัญหาด้ วยการมองในมุมบวก การ
แก้ ไขปัญหาก็จะดูง่ายขึ้น ปัญหาก็ดูจะมีทางออก ผู้ร่วมดาเนินงาน ก็
จะรู้สกึ ดี ไม่ร้ สู กึ ไม่กดดัน (จนเก็บ กด) ส่งผลทาให้ บรรยากาศการ
ทางาน ไม่ตึงเครียด ผู้ท่ที างานด้ วยก็จะรู้สกึ ดี ในทางตรงกันข้ าม ถ้ าเราเริ่มต้ นด้ วยการมองมุมลบ
โลกทั้งโลกดูมืดไปหมด (ปวดหัวตึบ ) ปัญหาดูยากขึ้นไปทันที แนวทางแก้ ไขก็เหมือนงมเข็มใน
มหาสมุทร ผู้ร่วมงานก็ร้ สู กึ กดดัน บรรยากาศการทางานอึมครึม จะทาอะไรก็ดูยากไปหมด

สรุป ได้ ว่า เมื่อพบปัญหาเกิดขึ้น สิ่งแรกที่ต้องมี สติ ไม่วิตกกังวล เพื่อทาให้ มี


สมาธิ มองปัญหาให้ ออก ว่ามีท่ไี ป ที่มา อย่างไร หาข้ อมูลให้ ได้ มากที่สดุ เพื่อใช้ ในการ วิเคราะห์ หา
สาเหตุและแนวทางแก้ ไข โดยสิ่งที่สาคัญที่สุ ด คือ มุมมองของท่านต่อปั ญหาทีเ่ กิดขึ้ น จะเป็ น
กุญแจดอกสาคัญในการแก้ไขปั ญหา และ การที่จะเลือกมองมุมใดนั้นต้ อง
ขึ้นอยู่กบั ปัจจัยหลัก อยู่สองประการ คือ หนึ่ง สภาพแวดล้ อม หรือสถานการณ์
ณ.ขณะนั้น และสอง ควรฝึ กฝนจนสามารถมองอะไรก็เป็ นแง่บวก โดยถ้ าท่าน
หมั่นฝึ กฝนจนมีความชานาญ แล้ วล่ะก็ นอกจากปัญหาที่สามารถแก้ ไขได้ อย่าง
ง่ายดายแล้ ว ชีวิตของท่านก็จะมีความสุขแน่นอน ครับ

You might also like