Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 9

สัตว์เลื้ อยคลาน

สัตว์เลื้ อยคลาน (Reptiles) เป็ นสัตว์ที่สามารถดำารง


ชีวิตอยู่บนบกได้ ลักษณะภายนอกคือ ผิวหนังแห้ง ลำาตัวมี
เกล็ดห้้ม สืบพันธ์้แบบอาศัยเพศ มีการปฏิสนธิภายใน
ออกล่กเป็ นไขู วางไขูบนบก ไขูมีจำานวนไมูมากนัก ไขูมี
ขนาดใหญูและมีเปลือกแข็งหรือเปลือกห้้ม มีขา 4 ขา
สัตว์เลื้ อยคลานจะอาศัยบนบก แตูบางชนิ ดหากินในนำ้า
สัตว์เลื้ อยคลานมีมากมายหลายชนิ ด เชูน จระเข้ จิ้งเหลน
กิ้งกูา จิ้งจก ตุ้กแก ตะพาบนำ้า เตูา แตูบางชนิ ดไมูมีขา
เชูน ง่ เป็ นต้น

ลักษณะทัว่ ไป ของสัตว์เลื้ อยคลาน

สัตว์พวกนี้ เป็ นสัตว์เลือดเย็น อาศัยอยู่บนบกเป็ น


สูวนใหญู จะลงไปหาอาหารในนำ้า เวลาพักผูอนจะขึ้นมาอยู่
บนบกหรือริมนำ้า ยังพบวูาสัตว์พวกนี้ มีอ้ณหภ่มิรูางกาย
เปลี่ยนแปลงไปตามอ้ณหภ่มิของสิ่งแวดล้อมเชูนเดียวกัย
พวกปลาและสัตว์ครึง่ บกครึง่ นำ้า ได้แกู จระเข้ เตูา ตะพาบ
ง่ กิ้งกูา จิ้งจก

ลักษณะสำาคัญ มีผิวหนังหนาและแห้ง มักมี


เกล็ดแข็งปกคล้มรูางกาย หายใจด้วยปอด มีขา 4 ขา
ปลายนิ้ วมีเล็บชูวยจิกในการเคลื่อนที่ และอาจมีการเปลื่ยน
แปลงลักษณะให้เหมาะสมกับการเคลื่อนที่ เชูน เปลี่ยนไป
เป็ นใบพายสำาหรับวูายนำ้า เชูน เตูาทะเล ในเตูาและ
ตะพาบนำ้าเกล็ด จะเชื่อมติดตูอกันเป็ นแผูนใหญูเรียกวูา
"กระดอง" บางชนิ ดไมูมีขาจึงเคลื่อนที่ โดยการใช้วิธีการ
เลื้ อย เชูน ง่

การจำาแนกชนิ ด

การจำาแนกชนิ ดของสัตว์เลื้ อยคลาน สัตว์


เลื้ อยคลานมีเพียงแคู 4 กลู้มเทูานั้น ดังนี้

สัตว์จำาพวกลิซาร์ดและง่
สัตว์จำาพวกกิ้งกูา และง่ ถือเป็ นผลจากการ
วิวัฒนาการ ซึ่งถือวูาเป็ นการวิวัฒนาการรูางกายที่ดีที่ส้ด
สัตว์จำาพวกลิซาร์ดและง่มีการวิวัฒนาการขากรรไกร ทำาให้
เกิดความคลูองตัวและการเคลื่อนไหวไปมา แตูสำาหรับง่ที่
จัดอยู่ในกลู้มที่ฝังตัวเองภายในดิน ได้มีการพัฒนาการตัว
เองให้ดียิ่งขึ้นกวูาเดิม ทำาให้สามารถกินเหยื่อที่มีขนาดใหญู
กวูาตัวเองได้เหลายเทูา สำาหรับสัตว์จำาพวกลิซาร์ด เริม

แพรูกระจายในวงกว้าง สามารถดำารงชีวิตบนบกหรือฝั งตัว
เองอยู่ใต้ดิน อาศัยในแหลูงนำ้า พู้มไม้ และมีสัตว์จำาพวกลิ
ซาร์ดบางกลู้มที่สามารถรูอนไปมาระหวูางต้นไม้ ซึ่งสัตว์
จำาพวกลิซาร์ดที่หลงเหลือในปั จจ้บันได้แกูจ้ ิงจก ตุ้กแก
สัตว์จำาพวกลิซาร์ดเชูนกิ้งกูา ซึ่งดำารงชีวิตอยู่ตามพู้ม
ไม้ในทวีปแอฟริกาและมาดากัสกามีลักษณะที่แตกตูางไป
จากกิ้งกูาที่อาศัยในแถบทวีปอื่นเล็กน้อย ปลายลิ้นจะมีสาร
เหนี ยวสำาหรับจับแมลง ซึ่งลักษณะตามถิ่นที่อยู่อาศัย จะ
เป็ นตัวกำาหนดให้สัตว์จำาพวกลิซาร์ดมีการปรับตัวเฉพาะ
อยูาง เชูนในประเทศอินเดียมีก้ ิงกูาบินสีฟ้า ที่มีผนังข้างลำา
ตัวแผูออกเป็ นปี กบาง ๆ ทำาให้สามารถรูอนไปมาระหวูาง
ต้นไม้ได้
สัตว์จำาพวกลิซาร์ดเชูนกิ้งกูาจำานวนมาก ที่มีความสามารถ
ในการเอาตัวรอดด้วยการสลัดหางทิ้งในเวลาถ่กจับตัว เป็ น
ลักษณะหนึ่ งของการเอาตัวรอดด้วยการดัดแปลงสูวน
บริเวณโคนหาง ให้สามารถขาดออกจากลำาตัวได้อยูาง
งูายดาย โดยที่กระด่กปลายหางตอนกลาง จะมีรูองตาม
ขวาง เมื่อถ่กศัตร่จับหรือตะปบได้ รอยตูอตรงรูองกระด่ก
จะขาดออกแล้วสลัดหางทิ้งกูอนหลบหนี ไป หลังจากนั้น
รูางกายจะสร้างกระด่กบริเวณสูวนหางและกล้ามเนื้ อขึ้นมา
ใหมูอีกครั้ง
สำาหรับง่ เป็ นสัตว์เลื้ อยคลานที่ไมูมีขา เป็ นสัตว์เลื้ อย
คลานเพียงชนิ ดเดียวที่ไมูมีกระด่กรองรับแขน (Pectoral
girdle) และไมูมีกระด่กเชิงกราน (pelvic girdle) แตู
สำาหรับง่ที่มีขนาดลำาตัวใหญูโตเชูนง่เหลือม ง่หลาม ยังคง
หลงเหลือรูองรอยของกระด่กเชิงกรานอยู่ มีข้อของกระด่ก
สันหลังที่ส้ ันและมีความกว้างมากกวูาสัตว์สี่เท้าชนิ ดอื่น ๆ
ทำาให้สามารถเคลื่อนตัวแบบล่กคลื่นได้ ง่เป็ นสัตว์ที่มี
กระด่กซี่โครงแข็งแรงกวูาแทูงกระด่กสันหลัง ทำาให้สามารถ
ทนแรงกดดันทางด้านข้างได้มากกวูา
การเคลื่อนที่ข้ ึนลงของกระด่กสันหลังของง่ จะทำาให้
กล้ามเนื้ อถ่กยกขึ้นลงไปด้วย กะโหลกศีรษะมีลักษณะ
เฉพาะตัว หนังตาไมูเคลื่อนไหว นัยน์ตาไมูกระพริบ ง่มี
หนังตาบนและลูางที่ยาวเชื่อมติดกันไว้อยูางถาวร ไมูมีห่
ตอนนอกและแก้วห่ จึงไมูได้ยินเสียงรอบข้าง แตูมีความ
ไวตูอการสัน
่ สะเทือนทีเ่ กิดขึ้น เชูนเสียงเดินบนพื้ น
นอกจากนี้ ง่ยังมีประสิทธิภาพในด้านการมองเห็นที่ตำา่
ยกเว้นง่ที่อาศัยอยู่ในพื้ นที่เขตร้อน ตามต้นไม้จะมีง่ที่มี
นัยน์ตาดีเยีย
่ มอาศัยอยู่ ทำาให้สามารถติดตามเหยื่อทีแ
่ ฝง
ตัวและหลบซูอนตามกิ่งก้านของต้นไม้ได้เป็ นอยูางดี ง่สูวน
ใหญูจะอาศัยอยู่ตามพื้ นดี ใช้การรับร้่ทางด้านความร้่สึกทาง
เคมี ชูวยในการลูาเหยื่อ

เตูา
เตูา จัดเป็ นสัตว์เลื้ อยคลานเพียงกลู้มเดียว ทีย
่ ังคง
ลักษณะเฉพาะของสัตว์เลื้ อยคลานในย้คโบราณอยู่หลาย
ประการ เตูาเป็ นสัตว์เลื้ อยคลานที่มีชีวิตตั้งแตูในย้คไตร
แอสสิคจนถึงย้คปั จจ้บัน โดยมีการปรับเปลีย
่ นสภาพ
รูางกายที่น้อยมาก เตูามีกระดองซึ่งแปรเปลีย
่ นสภาพจาก
กระด่กเกล็ดที่หูอห้้มรูางกาย เป็ นแผูนเกล็ดที่สำาหรับ
ปกป้ องตัวเองจากศัตร่ สามารถหดหัวและขาเข้าไปหลบ
ซูอนภายในกระดองได้
เตูาเป็ นสัตว์เลื้ อยคลานที่สามารถดำารงชีวิตอยู่ได้ท้ ัง
บนบก ในแหลูงนำ้าจืดและทะเล ซึง่ มีคำาที่ใช้เรียกเตูาโดย
เฉพาะด้วยกัน 4 คำา ซึ่งจะใช้ในคามหมายที่มีความแตก
ตูางกันคือ
• เทอร์เทิล (turtles) เป็ นคำาที่ใช้เรียกเตูาที่จัดอยู่ใน
ประเภทสะเทินนำ้าสะเทินบกด้วย ซึ่งอาศัยอยู่ใน
แหลูงนำ้าจืด ตามบิง บูอคลองและในทะเล
• เทอร์ราพิน (terrapins) เป็ นคำาที่ใช้เรียกเตูาที่มี
กระดองแข็ง และใช้เรียกเตูานำ้าจืด
• เทอร์ทอยส์ (tortoise) เป็ นคำาที่ใช้เรียกเตูาที่อาศัยบน
บก
• เทอร์เทิลเปลือกอูอนนู้ม (soft-shelled turtles) เป็ น
คำาที่ใช้เรียกตะพาบลักษณะลำาตัวไมูมีเกล็ด จึงมี
ผิวหนังที่คล้มกระดอง ที่มีควมเหนี ยวคล้ายกับหนัง
เตูาประเภทสะเทินนำ้าสะเทินบก อาศัยตามห้วย
หนองคลองบึงหรือตามแมูน้ ำา ชอบขึ้นมานอนผึ่งแสงแดด
ตามบริเวณชายฝั ่ ง จัดเป็ นเตูาขนาดใหญูท่ีกินสัตว์อ่ ืนเป็ น
อาหาร มีนิสัยด้รา้ ยและแข็งแรง ขากรรไกรมีความแข็งแรง
ใช้สำาหรับงับเหยื่อ เตูาทะแล เป็ นสัตว์เลื้ อยคลานในย้คไตร
แอสสิคอีกชนิ ดหนึ่ ง ดำารงชีวิตอยู่ในทะเลเขตร้อนและใน
บริเวณใกล้เคียงกับเขตร้อน เตูาทะเลจะอาศัยในทะเลเกือบ
ตลอดชีวิต ยกเว้นฤด่วางไขูที่จะขึ้นบกเพื่อวางไขูตาม
ชายหาดเทูานั้น ขามีการเปลีย
่ นแปลงจากสัตว์ที่อาศัยบน
บก เปลี่ยนเป็ นขาที่มีลักษณะเหมือนใบพายของเรือ เพื่อ
ใช้ชีวิตในท้องทะเล
เตูานำ้าจืดมีกระดองเป็ นแผูนเกล็ดปกคล้ม
รูางกาย มีความหนา แข็งแรง สูวนใหญูอาศัยตามแหลูงนำ้า
จืดทัว่ ไป มีหลายชนิ ดที่อาศัยบนบกมากกวูาในนำ้า ใน
ประเทศไทยพบเตูากระอานทีเ่ ป็ นเตูาบกเพียงแหูงเดียวที่
ทะเลสาบสงขลา กินหอยทากและป่เป็ นอาหาร แตูถ้า
ขาดแคลนก็จะกินพืชนำ้าแทน เตูาบกเชูนเตูาหีบเมื่อออก
จากไขูและเป็ นตัวอูอน จะอาศัยใกล้กับแหลูงนำ้าจืด เมื่อ
เจริญเติบโตเป็ นตัวเต็มวัยจะออกหูางจากแหลูงนำ้า มี
ลักษณะเดูนคือบริเวณตอนกลางของกระดองด้านท้ง จะมี
บานพับตามขวาง แบูงกระดองด้านท้องออกเป็ น 2 สูวน
เวลาถ่กรบกวนหรือพบเห็นศัตร่ จะพับกระดองด้านท้อง
เข้าหากัน อาศัยตามชายฝั ่ งทะเล ลักษณะกระดองมีความ
แข็งแรง มีลวดลายของกระดองสวยงาม เป็ นวงแหวนบน
แผูนเกล็ด
เตูาบก จัดเป็ นเตูาขนาดกลางและใหญูตามลำาดับ
เตูาบกที่อาศัยในหมู่เกาะกาลาปากอส จัดเป็ นเตูาบกที่มี
ขนาดใหญูที่ส้ด นำ้าหนักตัวประมาณ 230 กิโลกรัม อาย้
มากกวูา 200 ปี เคลื่อนที่ช้ามากด้วยอัตราความเร็ว 300
เมตร/ชัว่ โมง ในประเทศไทยพบเตูาบกได้ท้กแหูงของ
ภ่มิภาค เชูนเตูาหกที่อาศัยตามเขาส่งในปู าดงดิบ พบได้ใน
แถบไทรโยค เขาวังหิน นครศรีธรรมราช เตูาเขาส่บที่อาศัย
อยู่ตามภ่เขาส่งในประเทศไทย และตะพาบนำ้า จัดเป็ นสัตว์
เลื้ อยคลานที่กระดองมีความอูอนนู้ม ผิวหน้าที่ปกคล้ม
กระดองมีความเหนี ยว ทำาให้มองด่เหมือนกับไมูมีเกล็ดแผู
ปกคล้ม พบได้ท้กแหูงในประเทศไทย
จระเข้
จระเข้และแอลลิเกเตอร์ จัดเป็ นสัตว์เลื้ อยคลานขนาด
ใหญู ที่สืบสายพันธ์้มาตั้งแตูย้คจ่แรคสิคและครีเทเซียส
จระเข้มีการปรับสภาพรูางกายในการอยู่รอดจากการส่ญ
พันธ์้มากกวูา 100 ล้านปี มาแล้ว ปั จจ้บันมีจระเข้ที่มีชีวิต
อยูเ่ พียง 21 ชนิ ดเทูานั้น จระเข้สูวนใหญูจะมีจม่กที่ยาว
เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะทีแ
่ ตกตูางจากแอลลิเกเตอร์ ที่มีจม่ก
ที่ส้ ันและป้ านกวูามาก จระเข้มีขากรรไกรที่แข็งแรงรวมทั้ง
ฟั นที่แหลมคม ลัษณะลำาตัวใหญูและด้ร้าย ทำาให้ด่นูาเกรง
ขาม จระเข้เป็ นสัตว์กินเนื้ อท้กชนิ ดซึ่งรวมทั้งมน้ษย์ด้วย
จระเข้ที่กินมน้ษย์เป็ นอาหาร มีแหลูงอาศัยในแถบทวีป
แอฟริกาและทวีปเอเชีย

ทัวทารูา

เฮ ทัวทารูา จัดเป็ นสัตว์เลื้ อยคลานขนาดเล็ก มี


ลักษณะคล้ายกับกิ้งกูามากที่ส้ด เมื่อโตเต็มที่จะมีความ
ยาวประมาณ 80 เซนติเมตร มีกระด่กสันหลังที่เว้าทั้ง 2
ด้าน มีนัยน์ตาอยู่บริเวณกลางศีรษะ
ทัวทารูาเป็ นสัตว์พื้นเมืองของนิ วซีแลนด์ มันจะออกไขู
ครั้งแรกในรอบ 200 ปี ซึ่งมีไขูประมาณ 5 ฟอง มีสีขาว
ขนาดเทูาล่กปิ งปอง และปั จจ้บันมันกำาลังจะส่ญพันธ์้
เพราะถ่กนักลูา
"ทัวทารูา" สามารถผสมพันธ์้ได้เมื่ออาย้ 20 ปี ตัวโต
เต็มที่เมื่ออาย้ 70 ปี ซึ่งการผสมพันธ์้น้ ันมันจะยกหางตัว
เมียขึ้นมา แล้วสอดอวัยวะเพศเข้าไป เหมือนกับการผสม
พันธ์้ของนก ปั จจ้บันมีทัวทารูาราว 50,000 ตัวในโลก

You might also like