Okuribito

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

“โอคุริบโิ ตะ” : คาตอบของชีวติ ในสังคมญี่ปุ่นสมัยใหม่ 2010

“โอคุริบิโตะ” : คาตอบของชีวติ ในสังคมญี่ปุ่นสมัยใหม่ 1

กาจร หลุยยะพงศ์2

เกริ่นนา

ภาพยนตร์ เป็ นได้ หลากหลายตามแต่ใครจะนิยาม บ้ างก็ว่าเป็ นเพียงความบันเทิงฉาบฉวย บ้ างก็


ว่าเป็ นอุตสาหกรรมสร้ างสรรค์ขนา ดใหญ่ที่อาศัยการลงทุนด้ านความคิด (creative economy) และบ้ างก็
ว่า เป็ นเวทีแห่งการนาเสนอประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมของผู้ผลิต แต่ สาหรับนักวิชาการด้ าน
วัฒนธรรมศึกษา (cultural studies) กลับ พิจารณาในอีกมุมหนึง่ ว่า “ภาพยนตร์ เป็ น เวทีแห่งการต่อสู้และ
ต่อรองทางการเมือง” ซิง่ มิได้ หมายความถึงการเมืองในการต่อสู้ระหว่างรัฐต่อรัฐ หรื อเป็ นเรื่ องของรัฐบาล
เท่านัน้ แต่เป็ นการเมืองในชีวิตประจาวัน นับตังแต่
้ เรื่ องเพศ ชนชัน้ สีผิว วัย สังคมและวัฒนธรรม กล่าวอีก
นัยหนึง่ ภาพยนตร์ เป็ นพื ้นที่ที่ เปิ ดโอกาสให้ เกิดการ ปะทะ ถกเถียง โต้ แย้ ง ซึง่ ในโลกความเป็ นจริ งอาจจะ
ยากที่จะพูดหรื อแม้ แต่จะคิด เช่น การโต้ แย้ งเรื่ องเพศหญิงที่อ่อนแอภายใต้ สงั คมชายเป็ นใหญ่ดงั ปรากฏใน

1 เอกสารประกอบการบรรยายในโครงการ Monthly Lecuture Series on Japanese Studies ครั้งที่ 7 ณ คณะมนุ ษยศาสตร์


มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 28 เมษายน 2553 อนึ่ง ผูเ้ ขียนขอขอบคุณ Dr.Senjo Nakai ที่เอื้อเฟื้ อข้อมูลเกี่ยวกับ จังหวัดยะมะงะตะ และอาชีพ
โนคันชิ และนบ ประที ปะเสน ที่ตอบข้อสงสัยเกี่ยวกับเครื่ องดนตรี คลาสสิคนามเซลโล
2 ผูช้ ่วยศาตราจารย์ ประจาสาขาวิชานิ เทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช

1
“โอคุริบโิ ตะ” : คาตอบของชีวติ ในสังคมญี่ปุ่นสมัยใหม่ 2010

ภาพยนตร์ ในกลุม่ สตรี นิยม (feminism) เป็ นต้ น สาหรับในที่นี ้จะ ขยายการต่อสู้ตอ่ รอง ทางการเมือง ใน
ภาพยนตร์ ออกไปสูป่ ระเด็นเรื่ อง “ความเชื่อเรื่ องการตาย”

ในด้ านหนึง่ ภาพยนตร์ กบั ความเชื่อเป็ นเหรี ยญคนละด้ าน เพราะด้ วยเหตุที่ว่า การถือกาเนิดของ
ภาพยนตร์ เป็ นวิทยาศาสตร์ ซงึ่ อยู่คนละด้ านกับความเชื่อเรื่ องการตายอันเป็ นฝั่ งของศาสนา ทว่า ในอีกด้ าน
หนึง่ ก่อนการถือกาเนิดภาพยนตร์ ความเชื่ อกลับเป็ นสิง่ ที่ปรากฏอยู่แล้ วและผสมผสานอยู่ในตัวของ
ภาพยนตร์ อย่างไม่ร้ ู ตวั ดังเช่น การไหว้ เจ้ าที่เจ้ าทางก่อนการถ่ายทา หรื อ การนาเสนอมิตคิ วามเชื่อเรื่ องผี ๆ
สาง ๆ ในภาพยนตร์ ผีทงในภาพยนตร์
ั้ ผีไทยและเทศ อย่างไรก็ดี ความเชื่อเรื่ องการตาย ในภาพยนตร์ ก็ยงั
จากัดอยู่ในภาวะเมื่อกลายสภาพเป็ นผีหรื อวิญญาณแล้ วเท่านัน้ อันอาจส่งผลให้ ผ้ ชู มตกอยู่ในภาวะของ
การกลัวตาย และมองว่าความตายเป็ นสิง่ น่ากลัว แต่ภาพยนตร์ ที่จะนาเสนอภาวะหลังการตายกลับมี
ค่อนข้ างน้ อย ส่วนหนึง่ อาจเนื่องจากโลกทางวิทยาศาสตร์ ยงั หา คาตอบไม่ได้ และอีกส่วนหนึง่ อาจเนื่องมาก
จากภาวะหลังการตาย ยังอาจมิใช่ปัญหาหรื อเป็ นข้ อถกเถียงในสังคมที่จะทาให้ ภาพยนตร์ หนั มาให้ ความ
สนใจก็เป็ นได้

โยจิโร ทาคิตะ ในงานประกาศรางวัลออสการ์ สาขาภาพยตร์ ตา่ งประเทศยอดเยี่ยม ในปี พ.ศ.2551 อ้ างอิง


จาก www.allcinema.net
2
“โอคุริบโิ ตะ” : คาตอบของชีวติ ในสังคมญี่ปุ่นสมัยใหม่ 2010

แต่เมื่อหันมามองภาพยนตร์ ญี่ปนเรื ุ่ ่ อง “โอคุริบิโตะ ” (Okuribito) (หรื อ Departures ในชื่อ


ภาษาอังกฤษ หรื อ “ความสุขนันนิ
้ รันดร” ในชื่อภาษาไทย ) กากับโดย โยจิโร ทาคิตะ (Yōjiro Takita) กลับ
เป็ นภาพยนตร์ ที่ตงค
ั ้ าถามประเด็นความเชื่อหลังความตาย โดยผ่านตัวละครไดโกะ โค บายาชิ (Daigo
Kobayashi) อดีตนักเซลโลหนุ่มที่ผนั อาชีพมาเป็ นผู้สง่ ศพ (หรื อในภาษาญี่ปนว่ ุ่ า “โนคันชิ ” (nōkanshi) ใน
จังหวัดยะมะงะตะ บ้ านเกิดของตน การที่ภาพยนตร์ ญี่ปนเรื ุ่ ่ องนี ้เปิ ดพื ้นที่ในการนาเสนอประเด็นความเชื่อ
เรื่ องการตายกาลังมีนยั ยะสาคัญอะไรหรื อไม่อย่าง ไร จะเป็ นคาถามที่หาคาตอบได้ จากงานชิ ้นนี ้ แต่ใน
ลาดับแรกจะนาเสนอให้ เห็นเรื่ องราวของภาพยนตร์ เพื่อทาให้ เข้ าใจเรื่ องราวในภาพรวม

เรื่ องเล่ าของการตายในภาพยนตร์

โอคุริบิโตะ เป็ นหนังที่ว่าด้ วยเรื่ องราวของ ไดโกะ โคบายาชิ (นาแสดงโดยมาซาฮิโระ โมโตกิ ) หนุ่ม
นักเซลโลในวงออร์ เคสตร้ าในกรุ งโตเกียววัย 30 กว่า ๆ ที่ดเู หมือนจะรุ่ งโรจน์ในหน้ าที่การงานจึงตัดสินใจซื ้อ
เซลโลอันใหม่ราคาแพงเกินตัวเพราะคิดว่า “มืออาชีพ ” เขาก็ใช้ กนั อย่างนัน้ โดยไม่ได้ ปรึกษามิกะ ผู้เป็ น
ภรรยา (นาแสดงโดยเรี ยวโกะ ฮิโรสุเอะ) แต่แล้ วกาลกลับไม่เป็ นดังคิด เพราะวงออร์ เคสตร้ าที่เข าทางานอยู่
กลับเลิกจ้ างและยุบวงก ะทันหัน ทาให้ เขากลายเป็ นคนตกงานอย่างไม่คาดคิด (และดูเหมือนว่า จะเป็ น
เรื่ องไม่คาดคิดของคนญี่ปนที ุ่ ่ค้ นุ ชินกับการจ้ างงานตลอดชีวิต (สนใจโปรดดูอรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ 2548)
หลังจากนัน้ ชีวิตของเข าและภรรยาก็ต้องพลิกผันไป โดยการเลิก เป็ นนักดนตรี และตัดสินใจกลับบ้ านเกิด
ของไดโกะที่เมือง ยะมะงะตะ ทางตอนเหนือของประเทศ เพราะอย่างน้ อยก็มีบ้านแม่ที่เสียไปแล้ วกว่า 2 ปี
ที่เหลือเป็ นสมบัตชิ ิ ้นสุดท้ ายให้ กบั เขา

ในช่วงฤดูใบไม้ ร่วงที่เมืองยามางาตะ ไดโกะและภรรยาจึงต้ องเริ่ มชีวิตใหม่กบั สถานที่หา่ งไกลจาก


เมืองหลวง เริ่ มต้ นจากการหาอาชีพใหม่ของไดโกะ ซึง่ เขาก็ค้นพบอาชีพที่เขา ไม่เคยรู้ จกั มาก่อนนัน่ ก็คือ
“โนคัน ชิ ” หรื อ คนส่งศพผู้ตาย ซึง่ ทาหน้ าที่ดแู ลร่ างกายของผู้ตายให้ ดีที่ สุดทัง้ ชาระร่ างกายศพ แต่งตัว
แต่งหน้ า และนาศพลงโลงก่อนที่จะส่งสับปะเหร่ อ ในช่วงแรกไดโกะลังเลและอึดอัด ที่จะทาอาชีพนี ้ โดยรับรู้
ได้ จากคาพูด การกระทา และภาษาหนังที่ใช้ ภาพบีบอัดและการสร้ างกรอบภาพให้ กบั เขา เนื่องด้ วย เพราะ
ทังความไม่
้ ร้ ู จกั และไม่เข้ าใจถึงพิธีกร รมความตาย เนื่องจากเขาเป็ นคนสมัยใหม่ที่อพ ยพไปสูเ่ มืองใหญ่ที่
ภาระดังกล่าวมักจะเป็ นบทบาทของโรงพยาบาล แต่เมื่อได้ พบกับท่านประธาน อิคเุ อ ซาซากิ (Ikuē

3
“โอคุริบโิ ตะ” : คาตอบของชีวติ ในสังคมญี่ปุ่นสมัยใหม่ 2010

Sasaki) (นาแสดงโดยซึโตมุ ยามาซากิ) เจ้ าของบริ ษัท NK เอเยนต์ ก็ทาให้ เริ่ มเรี ยนรู้ บทบาทที่สาคัญของผู้
ส่งศพผู้ตายว่า เป็ นบทบาทสาคัญที่ช่วยให้ ผ้ ตู ายเดินทางไปยังโลกหน้ า

ภาพไดโกะกาลังหนักใจกับอาชีพ nōkanshi ผู้ที่ทาความสะอาดร่ างกายและแต่งหน้ า ศพก่อนนาศพไป


บรรจุลงโลง (23:44)

กระนันก็
้ ดี เนื่องจากการทางานกับความตายในโลกสมัยใหม่เป็ นเรื่ องที่แปลกและน่ารังเกียจส่วน
หนึง่ อาจเนื่องมาจากวิทยาศาสตร์ การแพทย์สมัยใหม่ที่สนใจเฉพาะเรื่ องความเป็ นมากกว่าความตายและ
มองว่า ความตายคือความล้ มเหลวทางการแพทย์ (โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และราตรี ปิ่ นแก้ ว 2550)
รวมถึงอาจเนื่องมาจากการการกลัวตาย และไม่ร้ ู ว่าตายแล้ วจะไปไหน จึงทาให้ ทศั นะของคนสมัยใหม่มอง
อาชีพคนส่งศพในด้ านลบไม่ว่าจะเป็ นตัวไดโกะในช่วงแรก เพื่อนของเขา ภรรยา และผู้คนรอบข้ าง โดย
ปรากฏจากคาพูด และการกระทา ดังที่มิกะภรรยาของเขาแสดงท่าทีรังเกียจเมื่อทราบว่าไดโกะมีอาชีพเป็ น
คนส่งศพตลอดจนพยายามให้ เขาเลิกอาชีพนี ้ให้ ได้

แต่แล้ วในที่สดุ ในช่วงฤดูใบไม้ ผลิ ไดโกะและคนรอบข้ างก็เริ่ มเรี ยนรู้ ว่า ความตายเป็ นเรื่ องธรรมดา
โลก ไม่แตกต่างจากการเกิด การกิน การนอน และแม้ แต่เซ็ก ส์ ยิ่งไปกว่านัน้ เขาและคนรอบข้ างยังเริ่ ม
ตระหนักว่า การส่งศพคนตายเป็ นอาชีพหนึง่ ที่มีเกียรติ เพราะเป็ นอาชีพที่ต้องให้ เกียรติกบั ร่ างกายของ
ผู้เสียชีวิตและเตรี ยมพร้ อมให้ ผ้ เู สียชีวิตสามารถก้ าวเดินผ่านไปสูอ่ ีกโลกหนึง่ ที่สาคัญยิ่งคือ ไม่ว่าวันใดวัน

4
“โอคุริบโิ ตะ” : คาตอบของชีวติ ในสังคมญี่ปุ่นสมัยใหม่ 2010

หนึง่ เรา ท่าน คนรอบข้ างไม่ว่าจะเป็ นเด็ก ผู้หญิง ผู้ชาย คนชรา ก็ต้องกลายเป็ นคนตาย หากไม่มีคนส่งศพ
แล้ วใครจะทาหน้ าที่นี ้

ภาพไดโกะ แลกหินกับพ่อเมื่อครัง้ เป็ นเด็ก (46:34)

นอกเหนือจากการเรี ยนรู้ ชีวิตแล้ ว การกลับมายังบ้ านเกิดยังทาให้ ไดโกะได้ ย้อนระลึกถึงความหลัง


ในอดีต โดยเฉพาะความสัมพันธ์ระหว่างพ่อกับลูกที่เลือนหายไป เนื่องจากพ่อหนีจากบ้ านไปเมื่อเขายังเล็ก
อยู่ ความทรงจาถึงพ่อจึงแทบจะลืมเลือน เหลือไว้ เพียงเชลโลที่พ่อเคยซื ้อและก้ อนหินที่พ่อเคยมอบให้ เพื่อ
สื่อสารความหมายระหว่างเขาและพ่อ อดีตของเขาจึงเป็ นความทรงจาที่เจ็บปวด แต่แล้ วในช่วงฤดูใบไม้ ผลิ
เมื่อได้ ทราบข่าวการเสี ยชีวิตของพ่อ แม้ ใจหนึง่ จะปฏิเสธ แต่อีกใจหนึง่ ก็ตดั สินใจที่ไปดู ศพพ่อ เป็ นครัง้
สุดท้ ายและทาให้ เขาค้ นพบว่า ก้ อนหินที่เขาเคยให้ พ่อไว้ ในครัง้ ยังเด็กก็ยงั คงอยู่ในอุ้งมือของพ่อ ความทรง
จาและใบหน้ าพ่อที่ลืมเลือนก็กลับ ย้ อนมาใหม่ ในที่สดุ เขาก็มอบก้ อนหิน ก้ อนนันให้
้ กบั ลูกที่กาลังเกิดมาใน
อนาคตเพื่อสื่อความรักอันอบอุ่นระหว่างรุ่ นต่อรุ่ น

5
“โอคุริบโิ ตะ” : คาตอบของชีวติ ในสังคมญี่ปุ่นสมัยใหม่ 2010

การต่ อสู้เชิงความหมายของความเชื่อเรื่ องการตายและความทันสมัย

หากย้ อนกลับไปสูค่ าถามเบื ้องต้ นว่า เหตุใดภาพยนตร์ ญี่ปนเรื ุ่ ่ องนี ้จึงให้ ความส นใจเรื่ องความเชื่อ
เรื่ องการตายและนามาเสนอบนแผ่นฟิ ล์ม และข้ อสังเกตเบื ้องต้ นที่วางไว้ ก็คือ อาจเป็ นเพราะคนในปั จจุบนั
ตระหนักถึงปั ญหาเรื่ องการตายใช่หรื อไม่?

ข้ อสังเกตที่ว่า คนปั จจุบนั ตระหนักถึงปั ญหาเรื่ องการตาย นัน้ มิได้ หมายความว่า คนในอดีตไม่ได้
ตระหนักและตระเตรี ยมเรื่ องความตาย ความตายของคนในอดีตเป็ นเรื่ องปกติและต่างคนต่างตระหนัก ดัง
ปรากฏหลักฐานเด่นชัดในความเชื่อ พระคัมภีร์ทางศาสนา และพิธีกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการตาย
และข้ อสรุ ปที่ได้ ก็คือ ความตายเป็ นเรื่ อง รอบตัว และเป็ น “ธรรมชาติ ” ไม่มีใครหลีกหนีความตาย ได้
(พระไพศาล วิส าโล และคณะ 2546) ในศาสนาพุทธมองว่า การตายเป็ นหนึง่ ในก ฏไตรลักษณ์ และเมื่อ
ตายแล้ วหากทาความดีก็จะเกิดใหม่ในภพภูมิที่ดีกว่า หากทาความชัว่ ก็จะตกต่าลง เช่น กลายเป็ นผี เปรต
เป็ นต้ น ตามทัศนะเรื่ องสังสารวัฏและไตรภูมิ (ราตรี ปิ่ นแก้ ว และมธุรส ศิริสถิตย์กลุ 2550) ส่วนในศาสนา
คริ สต์จะพิจารณาว่า หลังจากการตายแล้ วผู้ตายก็ต้อง รอจนถึงวันตัดสินบาป นัน่ ก็หมายความว่า ในเชิง
ความเชื่อและศาสนาจะไม่เชื่อว่า เมื่อร่ างกายตายไปแล้ วทุกสิง่ ทุกอย่างจะจบสิ ้นลง ยังคงมีโลกที่จะรออยู่
ภายหน้ า

ทว่า ความเชื่อดังกล่าวกลับเริ่ มลดน้ อยถอยลงไปยามที่วิวฒ


ั นาด้ านการแพทย์และวิทยาศาสตร์
ก้ าวเข้ ามาและมองข้ ามมิตเิ ชิงจิตวิญญาณไป ทาให้ การตายจบลงเพียงเรื่ องของหัวใจหยุดเต้ น การหมดลม
หายใจ ฯลฯ และวัดด้ วยเครื่ องมือทางการแพทย์เท่านัน้ เมื่อตายแล้ วจึงสูญไป (โกมาตร จึ งเสถียรทรัพย์
และราตรี ปิ่ นแก้ ว 2550) ด้ วยเหตุนี ้ บ่อยครัง้ ปั ญหาที่เกิดขึ ้นของการตายคือ การละเมิดร่ างกายและสิทธิ
ของผู้ตาย เพราะเป็ นเพียงร่ างที่ไร้ วิญญาณเท่านัน้ ปั ญหาดังกล่าวเป็ นปั ญหาสากลที่เกิดขึ ้นทัว่ โลก
โดยเฉพาะประเทศพัฒนา ที่วิทยาศาสตร์ การแพทย์ก้าวมาเป็ นสถาบันหลักในการกาหนดความหมายใน
ชีวิตของมนุษย์ ความทันสมัยจึงเป็ นเสมือนดาบสองคมที่ประหัดประหารมนุษย์แบบไม่ร้ ู ตวั

ด้ วยเหตุนี ้ในสังคมปั จจุบนั จึงเริ่ มหันมาทบทวนหวนคิดภาวะความตายเสียใหม่ และส่วนหนึง่ ก็


ย้ อนสูอ่ ดีตเพื่อที่จะทาความเข้ าใจเรื่ องความตาย ดังปรากฏในง านด้ านวิชาการ ที่เริ่ ม ศึกษาเกี่ยวกับความ
ตาย เช่น “ชีวิตและความตายในสังคมสมัยใหม่ ” (2546) และ “วัฒนธรรมความตายกับวาระสุดท้ ายของ
ชีวิต” (2550) งานทังสองชิ
้ ้นให้ ข้อสรุ ปที่น่าสนใจว่า การตายเป็ นเรื่ องธรรมชาติ แต่กลับเป็ นเรื่ องที่สงั คม

6
“โอคุริบโิ ตะ” : คาตอบของชีวติ ในสังคมญี่ปุ่นสมัยใหม่ 2010

ทันสมัยมักจะปฏิเสธ การทาความเข้ าใจเรื่ องการตายจะทาให้ เกิดการเตรี ยมพร้ อมก่อนจะตายในสังคม


ปั จจุบนั ซึง่ ไม่ได้ จากัดเฉพาะสังคมไทยเท่านันแต่
้ หมายรวมถึงสังคมโลกด้ วยเพียงแต่ว่า การตายอาจ
แตกต่างตามแต่ละสังคม

ในกรณีของสังคมญี่ปนุ่ แม้ เราไม่อาจทราบได้ แน่ชดั ว่า ข้ อกังวลเรื่ องการตายจะเป็ นเช่นไร แต่จาก


เนื ้อหาในภาพยนตร์ เรื่ องโอคุริบิโตะ ก็อาจแสดงให้ เห็นเค้ า ลางของปั ญหาเรื่ องภาวะการตายที่เริ่ มก่อตัวขึ ้น
ไม่มากก็น้อย และที่สาคัญคือ การตายที่เห็นนันอาจมี
้ ความแตกต่างกับกรณีของไทยบ้ าง ดังข้ อสังเกตที่ว่า
ความตายจะสัมพันธ์กบั สังคมและวัฒนธรรมของญี่ปุ่ น โดยเฉพาะในกรณีการปะทะกันระหว่างความตาย
และความทันสมัยของประเทศ

ตามทรรศนะของนักวิชาการญี่ ปุ่ นศึกษาในไทย เช่น อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ (2548) มองว่า สังคม


ญี่ปนมี ุ่ พฒ
ั นาการจากอดีตสูป่ ั จจุบนั ในด้ านหนึง่ ก็เปิ ดรับ กับสิง่ ภายนอก แต่ในด้ านหนึง่ ก็ตงค
ั ้ าถามและ
ต่อรองกับสิง่ ที่เปิ ดรับ ไม่ว่าจะเป็ นการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ส่วนนี ้อาจเนื่องจากภูมิศาสตร์
ของประเทศญี่ปนุ่ ที่เป็ นเกาะที่สามารถอยู่ได้ อย่างโดดเดี่ยวได้ จึงทาให้ เกิดวัฒนธรรมที่พฒ
ั นา เฉพาะของ
ตน อันเป็ นรากฐานของการต่อรองและวิพากษ์ วิจารณ์ ความทันสมัยที่มาจากภายนอกประเทศ

เมื่อประเทศญี่ปนเปิ ุ่ ดประเทศนับตังแต่
้ ยคุ ของสมัยเมจิ ซึง่ ตรงกับรัชกาลที่ห้าของไทย หลังจากนัน้
ประเทศญี่ปนก็ ุ่ เปิ ดประเทศอีกครัง้ ภายหลังการพ่ายแพ้ สงครามโลกครัง้ ที่สอง ความทันสมัยที่มาจาก
ประเทศสหรัฐฯ ก็ก้าวเข้ ามาในประเทศญี่ปนอย่ ุ่ างทวีคณ
ู อันทาให้ การเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
เจริ ญรอยตามโลกตะวันตก แต่ก็มีการวิพากษ์ วิจารณ์ความทันสมัยและวัฒนธรรมที่รับจากตะวันตกอยู่
ตลอด และพื ้นที่แห่งการวิพากษ์ วิจารณ์ก็คือ “ภาพยนตร์ ” ดังเช่น ภาพยนตร์ เรื่ องเยี่ยมของญี่ปนคื ุ่ อ
Tokyo Story (1953) ของปรมาจารย์ภาพยนตร์ ชาวญี่ปนนามยาสุ
ุ่ จิโร โอสุ ซึง่ เป็ นเรื่ องราวของสามีภรรยา
สูงอายุที่เดินทางเยี่ยมลูกของตนในโตเกียว แต่กลับพบว่า ลูกต่างพากันมองว่า พ่อแม่คือภาระของตน
บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา (2552) นักวิชาการด้ านภาพยนตร์ ญี่ปนคนส
ุ่ าคัญตังข้
้ อสังเกตว่า หนังเรื่ องนี ้
แสดงให้ เห็นถึง “ราคาของการพัฒนา ” ที่ญี่ปนต้ ุ่ องจ่ายไปให้ กบั การพัฒนาประเทศและผลที่ได้ ก็คือการ
หลงลืมวัฒนธรรมความเป็ นญี่ปนุ่

7
“โอคุริบโิ ตะ” : คาตอบของชีวติ ในสังคมญี่ปุ่นสมัยใหม่ 2010

ในทานองเดียวกัน ภาพยนตร์ ผีญี่ปนุ่ เช่น จูออน (Ju-on, 2000) ริ ง (Ringu, 1998) เนื ้อหา
ภาพยนตร์ สว่ นใหญ่จะวนเวียนเรื่ องของปั ญหาเรื่ องสตรี ผู้ ชายเกเร ฆาตกรโรคจิตต่อเนื่อง อิทธิพลของ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ เป็ นต้ น (Alastair Phillips and Julian Stringer, 2007: 241) ส่วนนี ้อาจแสดงให้ เห็นถึง
ความกังวลต่อ ปั ญหาของสังคม ในยุคสมัยใหม่ ที่ไม่อาจแก้ ไขได้ และอาจบอกกล่าวได้ ในโลกความจริ ง จึง
ปรากฏแฝงอยู่ในภาพยนตร์ ผี ไม่ตา่ งจากกรณีของภาพยนตร์ ผีไทย (สนใจโปรดดู กาจร หลุ ยยะพงศ์ และ
สมสุข หินวิมาน 2552)

ภาพยนตร์ เรื่ อง มนต์รักทรานซิสเตอร์ ปี พ.ศ.2544 กากับภาพยนตร์ โดย เป็ นเอก รัตนเรื อง

หากย้ อนกลับมาพิจารณาภาพยนตร์ เรื่ อง โอคุริบิโตะ ก็พบว่า ภาพยนตร์ เรื่ องดังกล่าวกาลังทาหน้ า


ที่ตงค
ั ้ าถามต่อสังคมอันทันสมัยของญี่ปนที ุ่ ่เริ่ มเกิดปั ญหาขึ ้น และปั ญหานันเป็
้ นปั ญหาที่คนญี่ปนเริ ุ่ ่ ม
ตระหนัก ภายหลังจากวิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดขึ ้นในทศวรรษที่ 1990 อันสัน่ คลอนวิธีคดิ ของคนญี่ปนจุ่ านวน
มากโดยเฉพาะเรื่ องการจ้ างงานตลอดชีวิต (อรรถจักร์ สัต ยานุรักษ์ 2548) ความเชื่อที่ว่า บริ ษัทจะจ้ างงาน
ตนตลอดไปทาให้ คนญี่ปนให้ ุ่ ความสาคัญต่อบริ ษัทและการทางาน แต่เมื่อเกิดวิกฤติขึ ้นคาถามที่เกิดขึ ้นคือ

8
“โอคุริบโิ ตะ” : คาตอบของชีวติ ในสังคมญี่ปุ่นสมัยใหม่ 2010

การก้ าวไปข้ างหน้ าแบบตะวันตกเป็ นสิง่ ที่อาจไม่ถกู ต้ องเสมอไป ทางออกที่จะทาได้ คืออะไร และนัน่ ก็คือ
การย้ อนสูอ่ ดีตหรื อวิธีคดิ แบบสังคมญี่ปนุ่ ไดโกะ พระเอกนักเซลโลจึงต้ องตกงานและต้ องขายเซลโลทิ ้งเพื่อ
ย้ อนกลับไป สูบ่ ้ านเกิดของตน ปรากกฎการณ์ที่ เกิดขึ ้นไม่ตา่ งจากภาพยนตร์ ไทยในยุค 2540 ที่เริ่ มตัง้
คาถามต่อสังคมและหันสูค่ วามพอเพียง ดังปรากฏในหนั งเรื่ อง “มนต์รักทรานซิสเตอร์ ” แต่จดุ ที่ตา่ งจาก
หนังไทยก็คือ โอคุริบิโตะ มิได้ หนั สูแ่ ค่ความพอเพียงแต่หนั ไปสูก่ ารตังค
้ าถามเรื่ องชีวิตโดยเฉพาะเรื่ องการ
ตาย อันถือเป็ นสุดยอดของปรัชญาชีวิต หากเข้ าใจความตายและวัฏจักรแห่งชีวิตก็จะทาให้ สามารถเรี ยนรู้
การดาเนินชีวิตเรื่ องอื่น ๆ ได้ โดยง่าย

เพื่อจะเข้ าใจถึงการโต้ แย้ งความหมายนัน้ เราสามารถวิเคราะห์ได้ จากโครงสร้ างของภาพยนตร์ ซึง่


พิจารณาจากองค์ประกอบต่าง ๆ ในภาพยนตร์ เช่น ตัวละคร เครื่ องแต่งกาย ฉาก เวลา แก่นเรื่ อง โครงเรื่ อง
และภาษาหนัง เป็ นต้ น ซึง่ เราจะพบว่า โครงสร้ างของภาพยนตร์ เรื่ อง โอคุริบิโตะ ประกอบไปด้ วยคูต่ รงกัน
ข้ าม (binary opposition) 4 คู่ คือ มีชีวิต-ตาย ดี-ไม่ดี ทันสมัย -ไม่พฒ
ั นา และวิทยาศาสตร์ -ธรรมชาติ และ
คูแ่ ย้ งทังหมดท
้ าหน้ าที่นิยามความหมายความตายใหม่ ดังภาพด้ านล่าง

มีชีวิต ตาย

ดี ไม่ดี

ทันสมัย ไม่พฒ
ั นา

วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ/ความเชื่อ

จากคูแ่ ย้ งข้ างต้ นอธิบายเพิ่มเติมได้ ว่า ที่ผ่านมาในสังคมทันสมัยการตายถูกนิยามตรงกันข้ ามกับชีวิต มีนยั


ยะแห่งการสูญเสีย ไม่ดี ไม่พฒ
ั นา และถูกกาหนดโดยวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะสถาบันการแพทย์ แต่
สาหรับในหนังเรื่ องนี ้และสังคมสมัยใหม่กลับนิยามความตายใหม่ด้วยการรื อ้ ฟื น้ ความหมายของการตายใน
อดีต กล่าวคือ การตายคือการมีชีวิตใหม่ เป็ นสิง่ ที่ดี เป็ นธรรมชาติและความเชื่อ ซึง่ กล่าวถึงการเริ่ มต้ นชีวิต
หรื อการออกเดินทาง ดังนัน้ การตายจึงไม่ใช่สงิ่ น่ากลัวแต่อย่างไร

แต่นนั่ ก็มิได้ หมายความว่า ทุกคนจะเข้ าใจเรื่ องการตาย จุดที่น่าสนใจก็คือ โอคุริบิโตะ ให้ ตวั เอก
เป็ นนักดนตรี เซลโล เป็ นตัวละครที่ค้นหาชีวิตและความตายและพบเจอได้ ในที่สดุ อาจแสดงให้ เห็นว่าการ
เล่นดนตรี และผู้เล่นดนตรี อาจเป็ นผู้คนด่านหน้ าที่สามารถเชื่อมโยงกับมิติ เรื่ องจิตวิญญาณได้ ง่าย (หากไม่

9
“โอคุริบโิ ตะ” : คาตอบของชีวติ ในสังคมญี่ปุ่นสมัยใหม่ 2010

นับพระ และผู้เข้ าใกล้ ความตาย) เพราะดนตรี มีความสัมพันธ์กบั จิตวิญญาณและพระผู้เป็ นเจ้ านับตังแต่


้ ยคุ
โบราณ อย่างไรก็ตามเนื่องจากการพัฒนาของประเทศ และความทันสมัย คนเล่นดนตรี อย่างพระเอกก็อาจ
ขายวิญญาณให้ กบั อุตสาหกรรมดนตรี และซื ้อเครื่ องดนตรี ราคาแพงแทนการเล่นเพื่อจิตวิญญาณ แต่
ภายหลังจากที่พระเอกเริ่ มตระหนักถึงความตาย เขาจึง คืนกลับจิตวิญญาณแห่งดนตรี ด้วยการเล่นดนตรี
อย่างมีความสุข

ท่าทีของหนังที่โต้ แย้ งเรื่ องความตายไม่เลือกที่จะใช้ “การแพทย์” เป็ นคูต่ รงกันข้ ามกับความเชื่อ แต่
กลับ ใช้ เทคนิคที่ หลากหลายเพื่อสื่อความหมาย โดย การเล่าเรื่ องผ่าน จุดยืน ของผู้ ที่ไ ม่เข้ าใจ “ความตาย ”
และใช้ เทคนิค การแนะนาให้ ร้ ู จกั พิธีกรรม ที่สง่ คนตายไปสูอ่ ีกโลกหนึง่ พร้ อมทัง้ “อธิบาย” ให้ เห็นขันตอน

ของการส่งคนตาย เช่น การชาระล้ างกายของคนตายด้ วยน ้าสะอาด เพื่อปลด ภาระอันหนักอึ ้งของคนตาย
ในโลกนี ้และเตรี ยมคนตายสูโ่ ลกหน้ า การแต่งหน้ า การแต่งตัวผู้ตาย เป็ นต้ น

นอกเหนือจากการอธิบาย หนังใช้ เทคนิค “การสาธิต” ให้ เห็นว่า หากเราเป็ นคนตายแล้ วจะเป็ นเช่น
ไร ผ่านการให้ ตวั ละครพระเอกเป็ น “แบบ” ที่แสดงเป็ นผู้ตายต้ องเจออะไรบ้ าง และ ฉากหนึง่ ที่น่าสนใจก็คือ
การใช้ มมุ กล้ องที่หงายขึ ้นประหนึง่ เป็ น ผู้ตายที่นอนอยู่ในโลงและเห็นฝาโลงที่กาลังเคลื่อนปิ ด อันเป็ น
เทคนิคที่ทาให้ ผ้ ชู มกลายเป็ น “ผู้ตาย” หรื อทดลองเป็ นผู้ตายแล้ วก็จะรู้ ว่า การตายเป็ นเช่นไร

หนังยังใช้ “สัญลักษณ์” เพื่อบอกใบ้ ให้ เห็นถึงการเกิดแก่เจ็บตายเป็ นเรื่ องธรรมชาติ โดยผ่านการใช้


“ฤดูกาล” คือ ใบไม้ ร่วง หนาว ใบไม้ ผลิ เป็ นฉากหลังของภาพยนตร์ นบั เริ่ มจากฉากฤดูใบไม้ ร่วงในตอนต้ น
เรื่ องเพื่อแสดงถึงจุดจบของชีวิตการงานของพระเอก หลังจากนันก็
้ เริ่ มก้ าวสูฤ่ ดูหนาวเมื่อพระเอกก้ าวเข้ าสู่
การทบทวนชีวิตเดิม การก้ าวสูช่ ีวิตใหม่ และปั ญหาที่จะต้ องเผชิญ ต่อจ ากนันหนั
้ ง จบลงด้ วยฤดูใบไม้ ผลิ
เพื่อแทนความหวัง การถือกาเนิดของชีวิตใหม่ รวมถึงความตายของชีวิตเดิม

ทังหมดนี
้ ้ ก็เพื่อแสดงให้ เห็นว่า การตายเป็ นเรื่ องธรรมชาติที่ไม่ว่าใครก็ต้องตาย เพียงแต่ว่าเราอาจ
หลงลืมไปชัว่ วูบและคิดว่า ความตายเป็ นเรื่ องไกลตัว ภาพยนตร์ จงึ กลายเป็ นสื่ อภาพและเสียงที่สามารถ สัง่
สอนให้ เห็นและรู้ จกั การตายมากกว่าการอ่านผ่านตัวอักษร กล่าวอีกนัย หนึง่ ก็คือ การเรี ยนรู้ การตายผ่าน
หนังนัน่ เอง

10
“โอคุริบโิ ตะ” : คาตอบของชีวติ ในสังคมญี่ปุ่นสมัยใหม่ 2010

ความสัมพันธ์ ครอบครั วที่หล่ นหาย ในสังคมญี่ปุ่น

ในขณะที่ประเด็นหลักของหนังจะมุ่งเน้ นมิตขิ องการตาย ภาพยนตร์ เรื่ อง โอคุริบิโตะ ยังได้


สอดแทรกประเด็นรองคือความสัมพันธ์ครอบครัวที่คลอนแคลน แต่ทงสองก็
ั้ เชื่อมโยงกันว่า “ล้ วนแล้ วเป็ น
ผลพวงมาจากความทันสมัย ” ไม่ตา่ งจากภาพยนตร์ เรื่ อง Tokyo Story ในทศวรรษที่ 50 แต่จดุ ที่น่าขบคิด
คือ แล้ วเหตุใดประเด็นดังกล่าวจึงยังคงกลับมาพูดซ ้าแล้ วซ ้า อีกในหนังเรื่ องนี ้อีกแม้ จะผ่านไปมากกว่า 50
ปี

คาอธิบายหนึง่ ที่อาจเป็ นไปได้ ก็คือ ปั ญหาเรื่ องครอบครัวเป็ นปั ญหาที่สงั คมญี่ปนประสบอย่


ุ่ างมาก
และไม่เสื่อมลงไปแม้ จะมีความพยายามแก้ ไขแต่ก็ดเู หมือนว่ายังแก้ ไขไม่ได้ ตัวละครพ่อและแม่ของไดโกะที่
หย่าร้ างจึงเป็ นตัวแทนปมปั ญหาที่ยากจะแก้ ไข การจะย้ อนกลับคืนสูค่ รอบครัวที่แสนสุขจึงเป็ นเพียงความ
ฝั นของชาวญี่ปนุ่ หนังจึงไม่เสนอหนทางการแก้ ไขปั ญหาดังกล่าว แต่กลับ ทดลองแสวงหาทางออกให้ ใหม่
ด้ วยการแสดงให้ เห็นว่า แม้ จะหย่าร้ างแต่ “ความรัก” ความผูกพันในครอบครัวก็ยงั คงมีอยู่โดยเฉพาะความ
รักระหว่างพ่อกับลูกที่เป็ นสายใยที่ตดั ไม่ขาด

หนังใช้ สญ
ั ลักษณ์ของ “ก้ อนหิน ” สองก้ อน ที่เป็ น “สื่อหรื อช่องทาง ” ความรักระหว่างพ่อลูกในวัย
เด็ก ก้ อนหินก้ อนใหญ่เป็ นตัวแทนความรักที่พ่อมอบให้ กบั ลูกอย่างไดโกะ เขาจึงเก็บก้ อนหินก้ อนนันไว้
้ แม้
อาจจะหลงลืมไปบ้ าง แต่เมื่อกลับมาที่บ้านเกิดเขาก็หยิบมันกลับมาและระลึกถึงพ่อ ส่วนก้ อนหินก้ อนเล็กที่
ปรากฏในฉากเกือบสุดท้ าย ก็คือ ตัวแทนความรักที่ไดโกะให้ พ่อ ที่ตวั เขาคิดว่า พ่อจะหลงลืมมันไปแต่มนั
กลับอยู่ในอุ้งมือของพ่อแม้ ตอนตาย อันแสดงให้ เห็นความรักที่พ่อยังคงระลึกถึงเขาอยู่แม้ จะหมดลมหายใจ

ความรัก และความผูกพันของครอบครัวในยุคใหม่ในหนังและในโลกความเป็ นจริ งจึงมีความ


สลับซับซ้ อนไม่ใช่น้อย แม้ จะไม่มีสภาพครอบครัวที่เป็ น พ่อ แม่ ลู ก แต่กลับเชื่อมโยงกันบนพื ้นฐานแห่ง
ความรัก เหตุนี ้แม้ จะไม่มีพ่อ ไร้ แม่ แต่ความเป็ นครอบครัวก็ยงั คงมีอยู่

อย่างไรก็ตาม แต่หากให้ เลือกแล้ ว หนังยังคงวาดความฝั นของชาวญี่ปนุ่ (และดูเหมือนว่า ไม่ตา่ ง


ไปจากคนทัว่ โลก) คือ ครอบครัวที่ดีหรื อสมบูรณ์คือครอบครัวที่สมาชิ กควรอยู่พร้ อมหน้ า ด้ วยฉากสุดท้ ายที่
ตัวละครไดโกะมอบหินก้ อนเล็กนันให้
้ กบั ลูกที่อยู่ในท้ องภรรยาของเขา แม้ ในอดีตไม่อาจกาหนด ความ
สมบูรณ์แห่งครอบครัว แต่ในอนาคตความเป็ นครอบครัวก็สามารถสร้ างขึ ้นมาใหม่ได้ และในอีกแง่หนึง่ ก็

11
“โอคุริบโิ ตะ” : คาตอบของชีวติ ในสังคมญี่ปุ่นสมัยใหม่ 2010

อาจตีความได้ ว่า ความรักความผูกพันเป็ นอมตะสามารถส่งผ่านจากรุ่ นสูร่ ุ่ นไม่แม้ กระทัง่ ความตายก็ไม่อาจ


หยุดยังความรั
้ กของครอบครัว

การสื่อความหมายของความรักของครอบครัวยังได้ รับการตอกย ้าใน เกือบทุกฉากในหนัง ผ่านฉาก


การส่งศพของผู้ตาย ไม่ว่าตัวละครจะเป็ นเช่นไร กะเทย สาวใจแตก แม่และพ่อผู้แสนดี หญิงชราผู้โดดเดี่ ยว
ฯลฯ ครอบครัว คนรอบข้ าง และคนส่งศพ (โนคันชิ ) จะเป็ นผู้อยู่เคียงข้ างในวาระสุดท้ ายและส่งให้ ผ้ ตู าย
เดินทางไปสูภ่ พหน้ าด้ วยดี

ภาพการเตรี ยมศพให้ กบั แม่ของยามาชิตะเพื่อนสมัยเด็กของไดโกะ (1:37:53)

ความรักของครอบครัวต่อผู้ตายยังสอดคล้ องกับแนวคิดเรื่ อง “ความกตัญํู ” ในสังคมไทยและ


ธรรมเนียมของการเคารพบรรพบุรุษของขงจื ้อในสังคมตะวันออก ที่ให้ คณ
ุ ค่าและยกย่องบูชาบรรพบุรุษแม้
จะตายไปแต่ก็มีความเชื่อถึงการยกย่องและให้ เกียรติบรรพบุรุษ การดูแลผู้ตายและการส่งศพจึงเป็ นส่วน
หนึง่ ที่ผ้ มู ีชีวิตอยู่พงึ กระทาที่ไม่ใช่แต่เป็ น การให้ เกียรติร่างกายผู้ตายแต่เป็ นความกตัญํูร้ ู คณ
ุ ผู้ตาย ดังที่
ตัวละครหลายตัวมักจะ “ขอบคุณ ” แก่ผ้ ตู าย และอาจหมายรวมถึงการมิให้ วิญญาณผู้ตายมารบกวน
(สนใจแนวคิดการตายของพุทธมหายานโปรดดูวรัญญา เพ็ชรคง 2550)

12
“โอคุริบโิ ตะ” : คาตอบของชีวติ ในสังคมญี่ปุ่นสมัยใหม่ 2010

บทสรุ ปของภาพยนตร์ ญ่ ีปุ่นและบทบาทหน้ าที่

นักวิชาการด้ านภาพยนตร์ ญี่ปนหลายท่


ุ่ านมองว่า ภาพยนตร์ ญี่ปนถื ุ่ อกาเนิดมาหลังจากการ ถือ
กาเนิดของภาพยนตร์ นบั ตังแต่
้ ปี 1898 (Kethe Geist: 2007: 238) ภาพยนตร์ ญี่ปนจึ
ุ่ งอยู่ในสังคมเป็ น
ระยะเวลายาวนาน ผ่านร้ อนผ่านหนาวนับตังแต่
้ ยคุ เฟื่ องฟูในช่วงทศวรรษที่ 1950 สูย่ คุ ซบเซาเมื่อโทรทัศน์
กาเนิดขึ ้นมาแต่กลับมาเฟื่ องใหม่ในช่วงทศวรรษที่ 1980 ด้ วยการตีตลาดโลกด้ วยภาพยนตร์ สยองขวัญและ
การ์ ตนู จนคนทัว่ โลกเริ่ มรู้ จกั คาว่า J-horror และ Anime รวมถึงการย้ อนกลับสูก่ ารผลิตภาพยนตร์ ที่ใช้
ศิลปะญี่ปนดั
ุ่ งยุคทองในอดีตในช่วงทศวรรษที่ 1950 และการร่ วมมือผลิตภาพยนตร์ กบั ประเทศในซีกโลก
ตะวันออกด้ วยกัน

ภาพยนตร์ ญี่ปนยั
ุ่ งได้ รับการยกย่องในระดับเวทีโลกอยู่บ่อยครัง้ นับตังแต่
้ ภาพยนตร์ เรื่ อง รา
โชมอน ได้ รับรางวัลเวนิสในปี 1950 อันถือเป็ นการเปิ ดตัวศิลปะของภาพยนตร์ ที่ใช้ ฉากอดีตและความงาม
แบบญี่ปนหรื ุ่ อที่เรี ยกว่า ภาพยนตร์ พีเรี ยด (jidaigeki) และสืบเนื่องต่อมาถึงภาพยนตร์ เรื่ อง โอคุริบิโตะ ที่
ได้ รับรางวัลอคาเดมี ปี 2009 ยิ่งไปกว่านัน้ ภาพยนตร์ ญี่ปนหลายเรื
ุ่ ่ องยังได้ รับการผลิตซ ้าเป็ นภา พยนตร์
ฮอลลีว้ ดู อีกหลายเรื่ อง เช่น ภาพยนตร์ ของปรมาจารย์ด้านภาพยนตร์ หรื อที่เรารู้ จกั ในนามจักรพรรดิแห่ง
ภาพยนตร์ ญี่ปนอากิ
ุ่ ระ คุโรซาวะ ที่ผลิตผลงานดี ๆ เช่น ราโชมอน และแม้ กระทัง่ หนังตระกูลผี ๆ ของญี่ปนุ่
เช่น ริ ง จูออน เป็ นต้ น

ภาพยนตร์ ญี่ปนยั
ุ่ งทาหน้ าที่ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็ นความบันเทิง การทาหน้ าที่โฆษณาชวนเชื่อ
ในยุคของสงคราม และการเป็ นเวทีแห่งการโต้ แย้ งและต่อสู้ความหมายต่าง ๆ ในสังคม โดยเฉพาะปั ญหา
การเติบโตของเมืองใหญ่ เพศ และครอบครัว ดังที่จะเห็นเด่นชัดในภาพยนตร์ ตระกูล J-horror / Anime
และภาพยนตร์ ดรามา โดยเฉพาะในตระกูลย่อยของดรามาญี่ปนที ุ่ ่นกั วิชาการด้ านภาพยนตร์ ญี่ปนใช้ ุ่ คาว่า
“Shomin-geki” (home drama) หรื อภาพยนตร์ ที่เกี่ยวข้ องกับปั ญหาของครอบครัว อันมีรากฐานจากอดีต
ผู้กากับผู้ยิ่งใหญ่ของญี่ปนนาม
ุ่ โยสุชิโร โอสุ (Yasujirō Ozu) (Ronald Bergan 2006: 236) โอสุ มักจะใช้
ลีลาภาษาและศิลปะแบบญี่ปนที ุ่ ่เนิบนาบเชื่องช้ าอ้ างว้ าง (ประหนึง่ กลอนไฮคุ การชงชา และการจัด
ั ลักษณ์นาฬิกา ควัน รถไฟ
ดอกไม้ ) (Paul Schrader อ้ างถึงใน Feda Freiberg 1998: 563) เช่น การใช้ สญ
ฤดูกาล (Kathe Geist 2007: 238) ทังหมดนี
้ ้เชื่อมโยงกับความรู้ สึกและอารมณ์ของชาวญี่ปนและท
ุ่ าให้ คน
ญี่ปนทั
ุ่ งประทั
้ บใจ และทาให้ กลับไปขบคิดถึงปมปั ญหาที่เกิดขึ ้นในครอบครัวของชาวญี่ปนุ่ ดังตัวอย่างใน
หนังเรื่ อง โอคุริบิโตะ ที่กล่าวถึงความตายและความสัมพันธ์ในครอบครัว

13
“โอคุริบโิ ตะ” : คาตอบของชีวติ ในสังคมญี่ปุ่นสมัยใหม่ 2010

นอกเหนือจากบทบาทที่หนังเรื่ อง โอคุริบิโตะ ทาหน้ าที่โต้ แย้ งความคิดความตายและครอบครัว


แบบเดิมแล้ ว หนังเรื่ องนี ้ยังมีบทบาทที่น่าสนใจอีกหลายหลายด้ าน

ประการแรก การเสริ ม บทบาทหน้ าที่ของศาสนาด้ วยการแปลงโลกของศาสนาที่เป็ นตัวอักษรใน


พระคัมภีร์และพระไตรปิ ฎกให้ กลายเป็ นภาพจาลองในหนัง เพื่อให้ ผ้ ชู มเห็นโดยไม่ต้องพบกับเหตุการณ์จริ ง
ความตายและความสัมพันธ์ในครอบครัวที่แสดงออกมาให้ เห็นในหนังจึงเป็ นแบบอย่างที่สงั คมญี่ปนและ
ุ่
อาจหมายรวมถึงผู้ชมไม่ว่าชาติใดก็ตาม “พึง” ปฏิบตั แิ ละจะนามาซึง่ ความสุขและความสมหวังในอนาคต
ในที่นี ้ ภาพยนตร์ จงึ เป็ นประดิษฐกรรมอันล ้าค่าที่ทาหน้ าที่ประหนึง่ ศาสนาก็ว่าได้

และประการที่สอง การเรี ยนรู้ เรื่ องชีวิต ผ่านหนัง อันหมายความว่า การเรี ยนรู้ เรื่ องการตายและ
ครอบครัวไม่อาจต้ องเรี ยนรู้ ผ่านการตายจริ ง แต่สามารถเรี ยนรู้ ผ่านภาพยนตร์ ได้ หากนาภาพยนตร์ เป็ นสื่อ
ที่ให้ บรรดานักวิชาชีพด้ านสาธารณสุขได้ ดเู พื่อที่จะทาความเข้ าใจมิตดิ ้ านจิตวิญญาณที่ศาสตร์ ด้าน
การแพทย์ทที่ าหล่นหายและเติมเต็มขึ ้นมา

ภาพยนตร์ จงึ มีคณ


ุ ค่าไม่ใช่เฉพาะความบันเทิ งแต่เป็ น “วัตถุดบิ ” สาคัญอีกชิ ้นหนึง่ ที่รอคอยให้
นักวิชาการและคนทัว่ ไปศึกษา ทาความเข้ าใจ ค้ นหา ซึง่ ในที่สดุ ก็จะช่วย ทาให้ เข้ าใจ ในมิตเิ ชิงสังคมและ
วัฒนธรรมที่แฝงเร้ นอยู่ในภาพยนตร์

14
“โอคุริบโิ ตะ” : คาตอบของชีวติ ในสังคมญี่ปุ่นสมัยใหม่ 2010

บรรณานุกรม

กาจร หลุยยะพงศ์ และสมสุข หินวิมาน 2552 หลอน รั ก สับสนในหนังไทย กรุ งเทพฯ ศยาม

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และราตรี ปิ่ นแก้ ว 2551 “สถานการณ์และองค์ความรู้ เกี่ยวกับความตายใน


สังคมไทย” ใน โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และคณะ (บรรณาธิการ) วัฒนธรรม ความตาย
กับวาระสุดท้ ายของชีวติ หน้ า 1-28 กรุ งเทพฯ หนังสือดีวนั

บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา 2552 ประพันธกรภาพยนตร์ ญ่ ีปุ่น กรุ งเทพฯ พับลิค บุเคอรี

พระไพศาล วิสาโล และคณะ 2546 ชีวติ และความตายในสังคมสมัยใหม่ กรุ งเทพฯ เคล็ดไทย

ราตรี ปิ่ นแก้ ว และมธุรส ศิริสถิตย์ 2551 “ชีวิตและความตายในทัศนะของพุทธศาสนา” ใน โกมาตร จึง


เสถียรทรัพย์ และคณะ (บรรณาธิการ) วัฒนธรรม ความตาย กับวาระสุดท้ ายของชีวติ
หน้ า 116-148 กรุ งเทพฯ หนังสือดีวนั

วรัญญา เพ็ชรคง 2551 “พุทธมหายาน ขงจื๊อ และเต๋า ในพิธีกรรมเกี่ยวกับความตายของชาวจีน ” โกมาตร


จึงเสถียรทรัพย์ และคณะ (บรรณาธิการ) วัฒนธรรม ความตาย กับวาระสุดท้ ายของ
ชีวติ หน้ า 181-217 กรุ งเทพฯ หนังสือดีวนั

วิภา อุตมฉันท์ 2541 สื่อมวลชนในญี่ปุ่น กรุ งเทพฯ จุฬาฯ

อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ 2548 Japanization กรุ งเทพฯ โอเพ่น

Bergan, Ronald. 2006. Film. London: DK.

Freiberg, Freda. 1998. “Japanese Cinema.” In Hill, John and Gibson, Pamela Church (eds.) The
Oxford Guide to Film Studies. pp. 562-567. New York: Oxford.

Geist, Kate. 2007. “Japanese Cinema.” In Cook, Pam (ed.) The Cinema Book. pp.238-239.
London: BFI.

Phillips, Alastair and Stringer, Julian. 2007. “Contemporary Japanese Cinema.” In Cook, Pam
(ed.) The Cinema Book. pp.239-242. London: BFI.

15

You might also like