8 Coordination of Protective Devices

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

86

Coordination of Protective Devices

1. เพราะเหตุใดจึงตองมีการจัดลําดับการทํางานของบริภัณฑปองกัน
ก. เพื่อใหบริภัณฑปองกันที่อยูใกลความผิดพรองมากที่สุดทํางานกอน
ข. เพื่อใหบริภัณฑปองกันที่อยูไกลความผิดพรองมากที่สุดทํางานกอน
ค. เพื่อใหบริภัณปองกันที่อยูถัดไปทํางานหากบริภัณฑปองกันที่อยูใกลความผิดพรองมากที่สุดไม
ทํางาน
ง. ถูกทั้งขอ ก. และ ค.

2. ลักษณะการทํางานของ Fully Rated Protective System คือขอใด


ก. เซอรกิตเบรกเกอรทุกตัวจะตองมีพิกัดการตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอสําหรับกระแสลัดวงจร
สูงสุดที่มีได ณ จุดติดตั้ง
ข. เซอรกิตเบรกเกอรทุกตัวจะตองมีพิกัดการตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอสําหรับกระแสลัดวงจร
สูงสุดที่มีได ณ จุดติดตั้ง แตเสนโคงลักษณะการตัดวงจรของเซอรกิตเบรกเกอรทุกตัวจะตอง
เลือกโดยไมใหมีการวางซอนทับกัน
ค. เซอร กิ ต เบรกเกอรป ระธานเท า นั้ น ที่ มี พิ กัด การตัด กระแสลัด วงจรเพี ย งพอสํ า หรับ กระแส
ลัดวงจรสูงสุดที่มีได ณ จุดติดตั้ง
ง. เซอรกิต เบรกเกอร ที่ อยูถัดจากเซอรกิตเบรกเกอรปประธานเทานั้น ที่มีพิกั ดการตัด กระแส
ลัดวงจรเพียงพอสําหรับกระแสลัดวงจรสูงสุดที่มีได ณ จุดติดตั้ง

3. ชวงเวลาในการทํา Coordination พิจารณาจากปจจัยใดบาง


ก. ขนาดของกระแสผิดพรอง
ข. ลักษณะสมบัติของบริภัณฑไฟฟา
ค. แรงดัน
ง. ถูกทุกขอ

4. ลักษณะการทํางานของ Selective Protective System คือขอใด


ก. เซอรกิตเบรกเกอรทุกตัวจะตองมีพิกัดการตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอสําหรับกระแสลัดวงจร
สูงสุดที่มีได ณ จุดติดตั้ง
ข. เซอรกิตเบรกเกอรทุกตัวจะตองมีพิกัดการตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอสําหรับกระแสลัดวงจร
สูงสุดที่มีได ณ จุดติดตั้ง แตเสนโคงลักษณะการตัดวงจรของเซอรกิตเบรกเกอรทุกตัวจะตอง
เลือกโดยไมใหมีการวางซอนทับกัน
ค. เซอร กิ ต เบรกเกอรป ระธานเท า นั้ น ที่ มี พิ กัด การตัด กระแสลัด วงจรเพี ย งพอสํ า หรับ กระแส
ลัดวงจรสูงสุดที่มีได ณ จุดติดตั้ง
Electrical System Design Coordination of Protective Devices
87

ง. เซอร กิต เบรกเกอรที่ อยูถัดจากเซอรกิตเบรกเกอรปประธานเทานั้ น ที่ มีพิกั ดการตัด กระแส


ลัดวงจรเพียงพอสําหรับกระแสลัดวงจรสูงสุดที่มีได ณ จุดติดตั้ง

5. ลักษณะการทํางานของ Cascade Protective System คือขอใด


ก. เซอรกิตเบรกเกอรทุกตัวจะตองมีพิกัดการตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอสําหรับกระแสลัดวงจร
สูงสุดที่มีได ณ จุดติดตั้ง
ข. เซอรกิตเบรกเกอรทุกตัวจะตองมีพิกัดการตัดกระแสลัดวงจรเพียงพอสําหรับกระแสลัดวงจร
สูงสุดที่มีได ณ จุดติดตั้ง แตเสนโคงลักษณะการตัดวงจรของเซอรกิตเบรกเกอรทุกตัวจะตอง
เลือกโดยไมใหมีการวางซอนทับกัน
ค. เซอรกิ ต เบรกเกอร ป ระธานเท า นั้น ที่มีพิกัด การตัด กระแสลัด วงจรเพี ย งพอสํ า หรับ กระแส
ลัดวงจรสูงสุดที่มีได ณ จุดติดตั้ง
ง. เซอรกิต เบรกเกอร ที่ อยูถัดจากเซอรกิตเบรกเกอรปประธานเทานั้น ที่มีพิกั ดการตัด กระแส
ลัดวงจรเพียงพอสําหรับกระแสลัดวงจรสูงสุดที่มีได ณ จุดติดตั้ง

6. การเลือกขอบเขตการปองกันของบริภัณฑไฟฟา ทําไดโดยพิจารณาปจจัยใดบาง
ก. การปองกันอยางต่ํา
ข. ความคงทนของบริภัณฑไฟฟา
ค. ลักษณะสมบัติของบริภัณฑไฟฟา
ง. ถูกทุกขอ

7. CB แรงต่ําแบบ Thermal-Magnetic มีคุณสมบัติอยางไร


ก. เมื่อ Overload มีคานอยจะใช Bimetal Device เปนตัว Trip แตถา Overload มีคามากจะใช
Electromagnetic Device เปนตัว Trip
ข. เมื่อ Overload มีคานอยจะใช Electromagnetic Device เปนตัว Trip แตถา Overload มีคามากจะ
ใชจะใช Bimetal Device เปนตัว Trip
ค. เมื่อเกิด Overload ไมวาจะมากหรือนอยจะใช Electromagnetic Device เปนตัว Trip
ง. เมื่อเกิด Overload ไมวาจะมากหรือนอยจะใช Bimetal Device เปนตัว Trip

8. CB แรงต่ําแบบ Solid State มีคุณสมบัติอยางไร


ก. ใชวงจรอิเล็กทรอนิกสเขามาชวยรวมกับหมอแปลงกระแส
ข. วงจรอิเล็กทรอนิกสและหมอแปลงกระแสทําหนาที่เปรียบเทียบคากระแสในวงจรกับคาที่ตั้งไว
หากกระแสในวงจรสูงกวาคาที่ตั้งไวก็จะทําการตัดวงจร
ค. มีความแมนยําและนาเชื่อถือสูง
ง. ถูกทุกขอ

Electrical System Design Coordination of Protective Devices


88

9. CB ปองกันทางดานแรงต่ําของหมอแปลงจะตองปรับตั้งไมเกินรอยละเทาใดของกระแสพิกัดหมอ
แปลง
ก. 80%
ข. 100%
ค. 125%
ง. 150%

10. Fuse ปองกันทางดานแรงสูงของหมอแปลงจะตองมีพิกัดปรับตั้งไมเกินรอยละเทาใดของกระแส


พิกัดหมอแปลง
ก. 100%
ข. 200%
ค. 300%
ง. 00%

11. Ground Fault Protection สําหรับสายประธานใชกับระบบที่กระแสตั้งแตเทาใด


ก. 800 A
ข. 1000 A
ค. 1200 A
ง. 1400 A

12. การปรับตั้ง Ground Fault Protection ของสายประธานตองไมเกินเทาใด


ก. 800 A
ข. 1000 A
ค. 1200 A
ง. 1400 A

Electrical System Design Coordination of Protective Devices

You might also like