Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 117

รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ

ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

http://www.docstoc.com/docs/DownloadDoc.aspx?doc_id=8018319
ประหยัดพลังงาน

รายละเอียดตัวชี้วดั ระดับกรม
กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

1
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
ประเด็นการประเมินผล : ผลสําเร็จในการบรรลุเป้ าหมายตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
ตัวชี้วดั ที่ 3.1 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักตามเป้ าหมายผลผลิตของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
(ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจําปี 2551) จํานวน 12 ตัวชี้วดั ดังนี้ (นํา้ หนักร้อยละ 5)
ผลผลิตที่ 1 : ผลงานการส่งเสริมพัฒนาและควบคุม กํากับคุณภาพมาตรฐานบริการสุขภาพในสถานบริการสุขภาพ
ภาครัฐและเอกชน
ตัวชี้วดั ที่ 3.1.1 จํานวนโรงพยาบาลภาครัฐได้รบั การประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานบริการสาธารณสุข กระทรวง
สาธารณสุข
หน่ วยวัด : แห่ง
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 0.50
คําอธิบาย :
โรงพยาบาลภาครัฐ หมายถึง โรงพยาบาลในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ โรงพยาบาล
ศูนย์ / โรงพยาบาลทัว่ ไป/โรงพยาบาลชุมชน ที่สมัครใจเข ้าร่วมโครงการตรวจประเมินคุณภาพ ตามมาตรฐานบริการ
สาธารณสุข
เกณฑ์มาตรฐานบริการสาธารณสุข หมายถึง มาตรฐานซึ่งกําหนดลักษณะพึงประสงค์ของผลลัพธ์ของการ
ให้บริการสาธารณสุขที่ส่งมอบให้แก่ประชาชนผูร้ บั บริการ โดยกระทรวงสาธารณสุขใช้มาตรฐานนี้ในการจัด และส่งเสริม
ให้สถานบริการ ส่งมอบ หรือ บริการ ให้แก่ผูป้ ่ วยและญาติ ใน 10 กลุม่ ดังนี้
1. ผลการตรวจ
2. ผลการวินิจฉัยเบื้องต้นและ/หรือข ้อสันนิษฐาน
3. ความเห็นและคําแนะนํา
4. การฝึ กทักษะที่สาํ คัญและจําเป็ นให้
5. การเฝ้ าระวังดูแล ขณะอยู ่ในพื้นที่ ขณะเคลือ่ นย้าย และขณะส่งต่อ
6. บริการยา วัคซีน เวชภัณฑ์ หรือผลิตภัณฑ์ ที่ส่งมอบให้ผูร้ บั บริการไป
7. หัตถการที่กระทําต่อร่างกายผูร้ บั บริการ
8. ผลงานอื่นที่ดาํ เนินการให้ (ซึ่งมิใช่หตั ถการ)
9. สิ่งของ และสถานที่ ที่จดั ไว้ให้ผูร้ บั บริการใช้ หรือใช้กบั ผูร้ บั บริการ
10. ผลงาน และสิ่งส่งมอบ ที่มผี ลกระทบต่อชุมชนและสังคม

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

2
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.1 จํานวนโรงพยาบาลภาครัฐได้รบั การประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานบริการสาธารณสุข กระทรวง
สาธารณสุข (ต่อ)

ได้รบั การประเมิน หมายถึง โรงพยาบาลที่สมัครใจเข ้าร่วมตรวจประเมิน และได้รบั การประเมินคุณภาพ ตาม


เกณฑ์มาตรฐานบริการสาธารณสุข กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เกณฑ์มาตรฐาน หมายถึง เกณฑ์มาตรฐานบริการสาธารณสุข กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ (PHSS)
เป้ าหมาย ในปี พ.ศ.2551 โรงพยาบาลภาครัฐได้รบั การประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานบริการสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข จํานวน 80 แห่ง

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 5 หน่วย ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้

ระดับ จํานวนโรงพยาบาลที่ได้รบั การประเมินตามเกณฑ์


คะแนน มาตรฐานบริการสาธารณสุข (แห่ง)
1 60 แห่ง
2 65 แห่ง
3 70 แห่ง
4 75 แห่ง
5 80 แห่ง

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดําเนิ นงานใน
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั
หน่ วยวัด ปี งบประมาณ พ.ศ.
(Baseline Data)
2548 2549 2550
จํานวนโรงพยาบาลที่ผ่านมาตรฐานบริการ
แห่ง - 108 226
สาธารณสุข

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

3
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.1 จํานวนโรงพยาบาลภาครัฐได้รบั การประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานบริการสาธารณสุข กระทรวง
สาธารณสุข (ต่อ)

แหล่งข้อมูล : กลุม่ พัฒนาคุณภาพบริการ สํานักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. แบบรายงานผลจากกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการ ตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข
2. ผลการสุ่มตรวจประเมินคุณภาพบริการของโรงพยาบาล

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายชาญวิทย์ ทระเทพ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1755


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางบุษบา บุศยพลากร เบอร์ติดต่อ 0 2590 1642
2. นางวิกนั ตา สนธยานนท์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1642
3. นางเพชรชมภู พันธุเ์ ปรมเจริญ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1743

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

4
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.9 จํานวนโรงพยาบาลภาครัฐได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข
หน่ วยวัด : แห่ง
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 0.40
คําอธิบาย :
โรงพยาบาลภาครัฐ หมายถึง โรงพยาบาลในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ โรงพยาบาล
ศูนย์ / โรงพยาบาลทัว่ ไป /โรงพยาบาลชุมชน ที่สมัครใจเข ้าร่วมโครงการตรวจประเมินคุณภาพตามมาตรฐานบริการ
สาธารณสุข
ได้รบั การส่งเสริมพัฒนา หมายถึง โรงพยาบาลที่สมัครใจเข ้าร่วมรับการฝึ กอบรม /พัฒนา สนับสนุนทาง
วิชาการและให้คาํ ปรึกษาการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานบริการสาธารณสุขกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานบริการสาธารณสุข หมายถึง มาตรฐานที่กาํ หนดลักษณะพึงประสงค์ของผลลัพธ์ของการให้บริการ
สาธารณสุขที่ส่งมอบให้แก่ประชาชนผูร้ บั บริการ โดยกระทรวงสาธารณสุขใช้มาตรฐานนี้ในการจัด และส่งเสริมให้สถาน
บริการ ส่งมอบ หรือ บริการ ให้แก่ผูป้ ่ วยและญาติ ใน 10 กลุม่ ดังนี้
1. ผลการตรวจ
2. ผลการวินิจฉัยเบื้องต้นและ/หรือข ้อสันนิษฐาน
3. ความเห็นและคําแนะนํา
4. การฝึ กทักษะที่สาํ คัญและจําเป็ นให้
5. การเฝ้ าระวังดูแล ขณะอยู ่ในพื้นที่ ขณะเคลือ่ นย้าย และขณะส่งต่อ
6. บริการยา วัคซีน เวชภัณฑ์ หรือผลิตภัณฑ์ ที่ส่งมอบให้ผูร้ บั บริการไป
7. หัตถการที่กระทําต่อร่างกายผูร้ บั บริการ
8. ผลงานอื่นที่ดาํ เนินการให้(ซึ่งมิใช่หตั ถการ)
9. สิ่งของ และสถานที่ ที่จดั ไว้ให้ผูร้ บั บริการใช้ หรือใช้กบั ผูร้ บั บริการ
10. ผลงาน และสิ่งส่งมอบ ที่มผี ลกระทบต่อชุมชนและสังคม

เป้ าหมาย ในปี พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลภาครัฐได้รบั การส่งเสริมตามเกณฑ์มาตรฐานบริการสาธารณสุข


กระทรวงสาธารณสุข จํานวน 275 แห่ง

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

5
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.9 จํานวนโรงพยาบาลภาครัฐได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข (ต่อ)

เกณฑ์การให้คะแนน :
ระดับ จํานวนโรงพยาบาลภาครัฐได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตาม
คะแนน มาตรฐานบริการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข (แห่ง)

1 235 แห่ง
2 245 แห่ง
3 255 แห่ง
4 265 แห่ง
5 275 แห่ง

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดําเนิ นงานในปี งบประมาณ
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั
หน่ วยวัด พ.ศ.
(Baseline Data)
2548 2549 2550
จํานวนโรงพยาบาลภาครัฐได้รบั การส่งเสริม
พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข แห่ง 192 329 359
กระทรวงสาธารณสุข

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

6
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.9 จํานวนโรงพยาบาลภาครัฐได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข (ต่อ)

หมายเหตุ ปี พ.ศ. 2550 จํานวนโรงพยาบาลภาครัฐได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข


กระทรวงสาธารณสุข จํานวน 359 แห่ง โรงพยาบาลบางแห่งได้รบั การส่งเสริมฯ หลายมาตรฐาน เป้ าหมายซํา้ ดังนี้
1. การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพบริการ ตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข 319 แห่ง
2. การส่งเสริมและพัฒนาตามมาตรฐานเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 28 แห่ง
3. การส่งเสริมและพัฒนาตามมาตรฐานการบริหารจัดการ 20 แห่ง

แหล่งข้อมูล : กลุม่ พัฒนาคุณภาพบริการ สํานักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1 แบบรายงานผลจากการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพบริการ ตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายชาญวิทย์ ทระเทพ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1755


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางนางบุษบา บุศยพลากร เบอร์ติดต่อ 0 2590 1636
2. นางวิกนั ตา สนธยานนท์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1642
3. เพชรชมภู พันธุเ์ ปรมเจริญ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1643

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

7
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.10 จํานวนสถานีอนามัยและศูนย์สุขภาพชุมชนได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพมาตรฐานศูนย์
สุขภาพชุมชน
หน่ วยวัด : จํานวนสถานีอนามัย และศูนย์สุขภาพชุมชน (แห่ง)
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 0.50
คําอธิบาย
สถานี อนามัย (สอ.) หมายถึง สถานบริการสาธารณสุขระดับต้นของกระทรวงสาธารณสุข โดยการให้ บริการเน้นการ
ส่งเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค รวมทัง้ รักษาพยาบาลโรคง่าย ๆ การฟื้ นฟูสมรรถภาพที่จาํ เป็ นต่อ สุขภาพและการดํารงชีวติ
ของประชาชน และเป็ นเครือข่ายของศูนย์สุขภาพชุมชน (ศสช.)
ศูนย์สุขภาพชุมชน (ศสช.) หมายถึง หน่วยบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มหี น้าที่ รับผิดชอบในการ
จัดบริการตอบสนองต่อความจําเป็ นทางด้านสุขภาพของประชาชนขัน้ พื้นฐาน มีความ เชื่อมโยงต่อเนื่องของกิจกรรมด้าน
สุขภาพในลักษณะองค์รวม ผสมผสาน ประชาชนเข ้าถึงบริการได้สะดวก และมีระบบการให้คาํ ปรึกษาส่งต่อ รวมทัง้ ดูแล
สนับสนุนสถานีอนามัยในเครือข่ายนี้เพื่อการสร้างสุขภาพ การสร้างความเข ้มแข็งให้ประชาชน เพื่อป้ องกันหรือลดปัญหา
ที่ป้องกันได้ทงั้ ทางกาย จิต สังคม โดยประชาชนมีส่วนร่วม
มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน หมายถึง มาตรฐานการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิให้มศี กั ยภาพและคุณภาพมาตรฐาน
ทัง้ ด้านบริการ (ในสถานีอนามัย/ศูนย์สุขภาพชุมชน ในชุมชนบริการต่อเนื่อง) ด้านบริหารจัดการ ด้านวิชาการ และ
ด้านการประเมินผล เพื่อให้บรรลุตามนิยาม ศูนย์สุขภาพชุมชน (ศสช.)
การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพมาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน หมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการต่าง ๆ ที่กรมสนับสนุน
บริการสุขภาพและหน่วยงานที่เกี่ยวข ้องต่าง ๆ ดําเนินการเพื่อสนับสนุนให้สถานีอนามัย (สอ.) และศูนย์สุขภาพชุมชน (ศสช.)
สามารถพัฒนาคุณภาพระบบบริการปฐมภูมไิ ด้ตามมาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน ได้แก่
1. การฝึ กอบรมบุคลากร สถานีอนามัยและศูนย์สุขภาพชุมชน
2. การฝึ กอบรมทีมที่ปรึกษาการพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมริ ะดับเขต/จังหวัด/อําเภอ
3. การสนับสนุนคู่มอื ปฏิบตั ิงาน/วิชาการ/องค์ความรูต้ ่างๆ
4. การประชุมชี้แจงทําความเข ้าใจ และการให้คาํ ปรึกษาแนะนํา
5. การกําหนดแนวทางและเป้ าหมายการพัฒนาประจําปี
6. การพัฒนานวัตกรรม และรู ปแบบบริการปฐมภูมคิ ุณภาพมาตรฐาน
7. การประกวดศูนย์สุขภาพชุมชน/สถานีอนามัยดีเด่นระดับเขต/จังหวัดประจําปี
8. การสนับสนุ นงบประมาณเพื่อการพัฒนาสถานีอนามัย/ศูนย์สุขภาพชุมชน
9. การแลกเปลีย่ นเรียนรูศ้ ึกษาดูงานรู ปแบบบริการปฐมภูมทิ ่ปี ระสบความสําเร็จ
ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

8
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

10. การนิเทศงาน/การตรวจเยี่ยม และติดตามประเมินผลการพัฒนา


มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.10 จํานวนสถานีอนามัยและศูนย์สุขภาพชุมชนได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพมาตรฐานศูนย์
สุขภาพชุมชน (ต่อ)

เป้ าหมาย ปี งบประมาณพ.ศ. 2551 จํานวนสถานีอนามัยและศูนย์สุขภาพชุมชนที่ได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพ


มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน จํานวน 1,000 แห่ง

เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วงเกณฑ์การให้ คะแนน +/- 5 หน่ วย ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้

จํานวนสถานี อนามัยและศูนย์สุขภาพชุมชนที่ได้รบั การส่งเสริมพัฒนา


ระดับคะแนน
คุณภาพมาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (แห่ง)
1 990 แห่ง
2 995 แห่ง
3 1,000 แห่ง
4 1,005 แห่ง
5 1,010 แห่ง

เงื่อนไข : หน่วยงานทุกระดับที่เกี่ยวข ้องต้องให้การส่งเสริมสนับสนุ นและพัฒนาอย่างชัดเจนเป็ นระบบ

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดําเนิ นงานในปี งบประมาณ
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั
หน่ วยวัด พ.ศ.
(Baseline Data)
2547 2548 2549 2550
1. จํานวน สอ.และศสช. ที่มคี ุณภาพมาตรฐาน แห่ง 956 1,836 4,230 5,975
2. จํานวน สอ.และศสช. ที่ได้รบั การส่งเสริม แห่ง 1,000 1,000 1,000 2,007
พัฒนาคุณภาพมาตรฐาน ศสช.

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

9
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.10 จํานวนสถานีอนามัยและศูนย์สุขภาพชุมชนได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพมาตรฐานศูนย์
สุขภาพชุมชน (ต่อ)

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. แหล่งข ้อมูล สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
2. การเก็บข ้อมูล ปี ละ 1 ครัง้

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายชาญวิทย์ ทระเทพ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1755, 1643


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางสุนทรี อภิญญานนท์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1637, 1643
2. นางศรีสมร นุย้ ปรี เบอร์ติดต่อ 0 2590 1637, 1643

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

10
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

3. นางงามพันธ์ พิมพ์พรรณ์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1642, 1749


มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.11 จํานวนศูนย์สุขภาพชุมชนได้รบั การประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน
หน่ วยวัด : จํานวนศูนย์สุขภาพชุมชน (แห่ง)
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 0.20
คําอธิบาย :
“ศูนย์สุขภาพชุมชน (ศสช.)” หมายถึง หน่วยบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มีหน้าที่รบั ผิดชอบในการ
จัดบริการตอบสนองต่อความจําเป็ นทางด้านสุขภาพของประชาชนขัน้ พื้นฐาน มีความเชื่อมโยงต่อเนื่องของกิจกรรมด้าน
สุขภาพในลักษณะองค์รวม ผสมผสาน ประชาชนเข ้าถึงบริการได้สะดวก และมีระบบการให้คาํ ปรึกษาส่งต่อ รวมทัง้ ดูแล
สนับสนุนสถานีอนามัยในเครือข่ายนี้เพื่อการสร้างสุขภาพ การสร้างความเข ้มแข็งให้ประชาชน เพื่อป้ องกันหรือลดปัญหา ที่
ป้ องกันได้ทงั้ ทางกาย จิต สังคม โดยประชาชนมีส่วนร่วม
“มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน” หมายถึง มาตรฐานการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมใิ ห้มีศักยภาพและคุณภาพมาตรฐาน
ทัง้ ด้านบริการ (ในสถานีอนามัย/ศูนย์สุขภาพชุมชน ในชุมชนบริการต่อเนื่อง) ด้านบริหารจัดการ ด้านวิชาการ และด้านการ
ประเมินผล เพื่อให้บรรลุตามนิยามศูนย์สุขภาพชุมชน (ศสช.)
“การประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน ” หมายถึง ศูนย์สุขภาพชุมชนที่ ได้รบั การตรวจประเมินผล
การพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชนของกระทรวงสาธารณสุข จํานวน 26 ข ้อมาตรฐาน 42 ตัวชี้วดั โดย
คณะกรรมการตรวจประเมินระดับจังหวัด/เขต
เป้ าหมาย ปี งบประมาณพ.ศ. 2551 จํานวนศูนย์สุขภาพชุมชนได้รบั การประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน
จํานวน 1,000 แห่ง
เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงเกณฑ์การให้ คะแนน +/- 5 หน่ วย ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้
จํานวนศูนย์สุขภาพชุมชนได้รบั การประเมินตามเกณฑ์
ระดับคะแนน
มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (แห่ง)
1 990 แห่ง
2 995 แห่ง
3 1,000 แห่ง
4 1,005 แห่ง
5 1,010 แห่ง

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

11
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

เงื่อนไข : หน่วยงานทุกระดับที่เกี่ยวข ้องต้องให้การส่งเสริมสนับสนุ นและพัฒนาอย่างชัดเจนเป็ นระบบ


มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.11 จํานวนศูนย์สุขภาพชุมชนได้รบั การประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน(ต่อ)

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดําเนิ นงานในปี งบประมาณ
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั
หน่ วยวัด พ.ศ.
(Baseline Data)
2547 2548 2549 2550
1. จํานวน สอ.และศสช. ที่มคี ุณภาพมาตรฐาน แห่ง 956 1,836 4,230 5,975
2. จํานวน ศสช. ได้รบั การประเมินตามเกณฑ์ แห่ง 1,000 1,000 1,000 2,007
มาตรฐาน ศสช.

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. แหล่งข ้อมูล สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
2. การเก็บข ้อมูล ปี ละ 1 ครัง้

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายชาญวิทย์ ทระเทพ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1755, 1643


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางสุนทรี อภิญญานนท์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1637, 1643
2. นางศรีสมร นุย้ ปรี เบอร์ติดต่อ 0 2590 1637, 1643
3. นางงามพันธ์ พิมพ์พรรณ์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1642, 1749

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

12
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.2 จํานวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานงานสุขศึกษา
หน่ วยวัด : จํานวน
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 0.50
คําอธิบาย :
สถานบริการสุขภาพภาครัฐ หมายถึง โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทัว่ ไป/โรงพยาบาลชุมชน ศูนย์
สุขภาพชุมชนและสถานีอนามัย ที่สงั กัดสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานงานสุขศึกษา หมายถึง สิ่งที่กาํ หนดขึ้นเพื่อใช้เป็ นกรอบในการดําเนินงานและวัดความสําเร็จ
ของงานสุขศึกษาของสถานบริการสุขภาพทุกระดับ ประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ
20 ดัชนีช้วี ดั
การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพ หมายถึง กระบวนงานที่ดาํ เนินการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาสถานบริการ
สุขภาพตามมาตรฐานงานสุขศึกษา ได้แก่
1) การประชุม/สัมมนา/ฝึ กอบรม
2) การนิเทศงาน การเป็ นวิทยากร
3) การสนับสนุ นเอกสารวิชาการ คู่มอื แนวทาง ฯลฯ
โดยจะต้องได้รบั การส่งเสริมด้วยกระบวนงานอย่างใดอย่างหนึ่ง อย่างน้อย 1 วิธี
เป้ าหมาย ในปี งบประมาณ พ.ศ.2551 สถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตาม
เกณฑ์มาตรฐานงานสุขศึกษา จํานวน 980 แห่ง
เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 5 หน่วย ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนน
ดังนี้

จํานวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รบั
ระดับคะแนน
การส่งเสริม (แห่ง)
1 960 แห่ง
2 965 แห่ง
3 970 แห่ง
4 975 แห่ง
5 980 แห่ง

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

13
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.2 จํานวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานงานสุขศึกษา
(ต่อ)

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :

ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั ผลการดําเนิ นงานในปี งบประมาณ พ.ศ.


(Baseline Data) 2548 2549 2550
จํานวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รบั
การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน
2,567 แห่ง 4,788 แห่ง 1,012 แห่ง
งานสุขศึกษา

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล
แหล่งข้อมูล : กองสุขศึกษา กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1) รายงานสรุปผลการดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการ
2) เก็บรวบรวมจากการติดตามผลการดําเนินงานตามแผนติดตามของกองสุขศึกษาทุกเดือน

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นางเพ็ญศรี เกิดนาค เบอร์ติดต่อ 0 2590 1661,089-8973607


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางสุดาพร ดํารงค์วานิช เบอร์ติดต่อ 0 2590 1616,086-5572720

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

14
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

2. นางชลธิรา ซึ้งจิตตวิสุทธิ เบอร์ติดต่อ 0 2590 2387,089-8962453


มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template

• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.3 จํานวนสถานบริการสุขภาพภาคเอกชนที่ได้รบั การควบคุมกํากับให้ได้คุณภาพมาตรฐานตาม


เกณฑ์ท่กี ฎหมายกําหนด
หน่ วยวัด : แห่ง
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 0.40
คําอธิบาย :
สถานบริการสุขภาพภาคเอกชน หมายถึง สถานพยาบาลตามกฎหมาย พ.ร.บ.สถานพยาบาล พ.ศ.
2541 ซึ่งมี 2 ประเภท ได้แก่ สถานพยาบาลที่ไม่รบั ผูป้ ่ วยไว้คา้ งคืน (คลินิก) และสถานพยาบาลที่รบั ผูป้ ่ วยค้างคืน
(โรงพยาบาล) ในเขตกรุงเทพมหานคร
การควบคุมกํากับหมายถึง การดําเนินการเพื่อให้สถานบริการสุขภาพภาคเอกชนได้รบั การควบคุม
กํากับมาตรฐาน 2 ลักษณะ คือ
1) การตรวจมาตรฐานประจําปี ตาม พ.ร.บ.สถานพยาบาล พ.ศ. 2541 ที่กาํ หนดให้มกี ารตรวจมาตรฐาน
อย่างสมํา่ เสมอ ตามแนวทางการตรวจมาตรฐานสถานพยาบาลประเภทที่ไม่รบั ผูป้ ่ วยค้างคืน (คลินิก) และแนวทางการ
ตรวจมาตรฐานสถานพยาบาลประเภทที่รบั ผูป้ ่ วยค้างคืน (โรงพยาบาล)
ของกระทรวงสาธารณสุข
2) การตรวจมาตรฐานเพื่ออนุญาต การประกอบกิจการ/ดําเนินการสถานพยาบาล ให้เป็ นไป
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขที่กาํ หนดในกฎกระทรวงตาม พ.ร.บ. สถานพยาบาล พ.ศ. 2541
ได้คุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ท่กี ฎหมายกําหนด หมายถึง สถานพยาบาลประเภทที่ไม่รบั ผูป้ ่ วย
ค้างคืน (คลินิก) และสถานพยาบาลที่รบั ผูป้ ่ วยค้างคืน (โรงพยาบาล) ได้คุณภาพมาตรฐานตามแนวทางการตรวจ
มาตรฐานสถานพยาบาลประเภททีไ่ ม่รบั ผูป้ ่ วยค้างคืน (คลินิก) และสถานพยาบาลที่รบั ผูป้ ่ วยค้างคืน (โรงพยาบาล) ของ
กระทรวงสาธารณสุข

เป้ าหมาย ในปี พ.ศ.2551 สถานบริการสุขภาพภาคเอกชนที่ได้รบั การควบคุมกํากับให้ได้คุณภาพ


มาตรฐานตามเกณฑ์ท่กี ฎหมายกําหนด จํานวน 3,700 แห่ง

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

15
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.3 จํานวนสถานบริการสุขภาพภาคเอกชนที่ได้รบั การควบคุมกํากับให้ได้คุณภาพมาตรฐานตาม
เกณฑ์ท่กี ฎหมายกําหนด (ต่อ)
เกณฑ์การประเมิน:
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 50 หน่วย ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนน
ดังนี้ :-

ระดับ สถานบริการสุขภาพภาคเอกชนได้รบั การควบคุมกํากับ


คะแนน ให้ได้คุณภาพมาตรฐาน (แห่ง)
1 3,500
2 3,550
3 3,600
4 3,650
5 3,700
เงื่อนไข : หากสถานบริการสุขภาพใดถูกเพิกถอนใบอนุญาต เนื่องจากการไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย กําหนดให้
นับรวมเป็ นฐานในการคํานวณผลการดําเนินงานเฉพาะกรณีท่ดี าํ เนินการไม่แล ้วเสร็จ

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดําเนิ นงานในปี งบประมาณ
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั
พ.ศ.
( Baseline Data)
2548 2549 2550
- จํานวนสถานบริการสุขภาพภาคเอกชนที่ได้รบั ควบคุม 3,147 แห่ง 3,603 แห่ง 3,781 แห่ง
กํากับ ในเขตกรุงเทพมหานคร

- จํานวนสถานบริการสุขภาพภาคเอกชนที่มคี ุณภาพได้ 3,147 แห่ง 3,603 แห่ง 3,781 แห่ง


มาตรฐาน ในเขตกรุงเทพมหานคร

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

16
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.3 จํานวนสถานบริการสุขภาพภาคเอกชนที่ได้รบั การควบคุมกํากับให้ได้คุณภาพมาตรฐานตาม
เกณฑ์ท่กี ฎหมายกําหนด (ต่อ)

แหล่งข้อมูล : กลุม่ งานสถานพยาบาล


กลุม่ งานแผนงานและพัฒนาวิชาการ
กองการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
แบบรายงาน ตามคํารับรองการปฎิบตั ิราชการ ทุกเดือน โดยเริ่มจัดเก็บข ้อมูลในไตรมาสที่ 1

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายธารา ชินะกาญจน์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1331


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางรัตนา สุกุมลจันทร์ เบอร์ติดต่อ 0 2589 4904, 0 2590 1997 ต่อ 401
2. นางนาตยา ผลโพธิ์ เบอร์ติดต่อ 0 2589 6653, 0 2590 1997 ต่อ 405

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

17
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

3. นางวิภาวดี หมีทอง เบอร์ติดต่อ 0 2589 5058, 0 2590 1997 ต่อ 403


4. นางนิภา ทิพย์พลิ า เบอร์ติดต่อ 0 2589 4025, 0 2590 1997 ต่อ 202
มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template

ผลผลิตที่ 2 : ผลงานการส่งเสริมสนับสนุ น และพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานด้านอาคารสถานที่ในสถานบริการสุขภาพ


ภาครัฐ
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.4 จํานวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานด้านอาคาร
สถานที่
หน่ วยวัด : จํานวน (แห่ง)
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 0.50
คําอธิบาย :
สถานบริการสุขภาพภาครัฐ หมายถึง โรงพยาบาลศูนย์ / โรงพยาบาลทัว่ ไป /โรงพยาบาลชุมชน ใน
สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานด้านอาคารสถานที่ หมายถึง คุณภาพทางกายภาพของอาคารสถานที่ของสถานบริการ
สุขภาพภาครัฐ เป็ นไปตามข ้อกําหนดหรือมาตรฐานวิชาชีพที่กาํ หนดไว้ ประกอบด้วย
- มาตรฐานวิศวกรรม (วิศวกรรมโยธา, วิศวกรรมไฟฟ้ า, วิศวกรรมเครื่องกล, วิศวกรรม
สุขาภิบาล)
- มาตรฐานด้านสถาปัตยกรรม
- มาตรฐานด้านมัณฑนศิลป์ (ตกแต่งภายใน,ภูมทิ ศั น์)
การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพ หมายถึง การนํามาตรฐาน ข ้อกําหนดองค์ความรู ้ แบบก่อสร้างที่ผ่านการ
พัฒนา ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั ไปใช้ในการดําเนินงานหรือบริหารการก่อสร้างอาคารสถานที่ เช่น
- การจัดทําโครงการก่อสร้าง
- การวางแผนการก่อสร้าง
- การจัดทําผังหลัก
- การออกแบบอาคาร
- การพัฒนาแบบรูป (แบบแปลน) ของแบบที่มอี ยู่
- การปรับปรุงภูมทิ ศั น์
- การควบคุมกํากับการก่อสร้าง และการอํานวยการก่อสร้าง

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

18
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

เพื่อให้อาคารได้คุณภาพตามมาตรฐานเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และการใช้งานรวมถึงการประเมินเพื่อ
การส่งเสริมพัฒนาสถานบริการสุขภาพ เป็ นต้น โดยโรงพยาบาลภาครัฐเป้ าหมายได้รบั การดําเนินงานหรือบริหารการ
ก่อสร้างอาคารสถานที่ตามกิจกรรมดังกล่าวอย่างใดอย่างหนึ่ง
มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.4 จํานวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานด้านอาคาร
สถานที่ (ต่อ)

เป้ าหมาย ในปี พ.ศ.2551 สถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานด้าน


อาคารสถานที่ จํานวน 170 แห่ง

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 5 หน่วย ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้
จํานวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐ
ระดับคะแนน
ได้รบั การส่งเสริม (แห่ง)
1 150 แห่ง
2 155 แห่ง
3 160 แห่ง
4 165 แห่ง
5 170 แห่ง

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดําเนิ นงานในปี งบประมาณ
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั
หน่ วยวัด พ.ศ.
( Baseline Data)
2548 2549 2550
1. ออกแบบอาคาร แบบ 139 200 80
2. ควบคุมกํากับการก่อสร้างและอํานวยการก่อสร้าง แห่ง 126 130 110
สรุป จํานวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รบั การ
แห่ง 265 330 190
ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานด้านอาคาร

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

19
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

สถานที่ (ข ้อ1+ข ้อ2)

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.4 จํานวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานด้านอาคาร
สถานที่ (ต่อ)

แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
กลุ่มกํากับมาตรฐานอาคารและสิ่งก่อสร้าง 1 – 6
แหล่งข้อมูล
กองแบบแผน กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
วิธีการจัดเก็บข้อมูล รวบรวม จัดเก็บข ้อมูลจากแบบรายงานผลการปฏิบตั ิงาน
กําหนดการรายงานข้อมูล รายงานผลงานรอบ 6 เดือน 9 เดือน และ 12 เดือน

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายกสินทร์ วิเศษสินธุ ์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1861


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นายพล วังส์ด่าน เบอร์ติดต่อ 0 2590 1941

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

20
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

2. นายเศรษฐสิทธิ์ โรจนหัสดิน เบอร์ติดต่อ 0 2590 1902

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
ผลผลิตที่ 3 : ผลงานการส่งเสริมสนับสนุ น และพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานด้านวิศวกรรมการแพทย์ในสถานบริการ
สุขภาพภาครัฐ
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.5 จํานวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานด้าน
วิศวกรรมการแพทย์
หน่ วยวัด : แห่ง
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 0.50
คําอธิบาย :

สถานบริการสุขภ าพภาครัฐ หมายถึง โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทัว่ ไป/โรงพยาบาลชุมชนในสังกัด


สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานด้านวิศวกรรมการแพทย์ หมายถึง กระบวนการที่กองวิศวกรรมการแพทย์กาํ หนดขึ้นตาม
มาตรฐานวิศวกรรม เพื่อใช้เป็ นกรอบในการดําเนินงานและวัดผลสําเร็จของงานด้านวิศวกรรมการแพทย์ในสถานบริการ
สุขภาพ ประกอบด้วย
1) กระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือทางการแพทย์และสาธารณสุข
2) กระบวนการจัดระบบดูแลรักษาเครื่องมือทางการแพทย์และสาธารณสุข
3) กระบวนการบํารุงรักษาเครื่องมือทางการแพทย์และสาธารณสุข
4) กระบวนการวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล

ได้รบั การส่งเสริมคุณภาพตามมาตรฐานด้านวิศวกรรมการแพทย์ หมายถึง โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล


ทัว่ ไป/โรงพยาบาลชุมชน ในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้รบั การดําเนินการตามกระบวนการส่งเสริม
สนับสนุน พัฒนา และควบคุมกํากับสถานบริการสุขภาพตามมาตรฐานด้านวิศวกรรมการแพทย์ อย่างน้อย 2
กระบวนการ
และหากเกิดปัญหาที่อาจทําให้สถานบริการที่ได้รบั การส่งเสริมคุณภาพไม่เข ้าสู่มาตรฐานด้านวิศวกรรม
การแพทย์ ก็จะต้องให้มกี ารจัดทํา Advice Report

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

21
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

เป้ าหมาย ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลภาครัฐที่ได้รบั การส่งเสริมคุณภาพตามมาตรฐานด้าน


วิศวกรรมการแพทย์ จํานวน 420 แห่ง

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.5 จํานวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รบั การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานด้าน
วิศวกรรมการแพทย์ (ต่อ)
เกณฑ์การให้คะแนน : ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 20 แห่ง ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้
คะแนนดังนี้
จํานวนโรงพยาบาลภาครัฐที่ได้รบั การส่งเสริมคุณภาพตามมาตรฐานด้านวิศวกรรม
ระดับคะแนน
การแพทย์ อย่างน้อย 2 กระบวนการ (แห่ง)
1 340
2 360
3 380
4 400
5 420

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดําเนิ นงานในปี งบประมาณ
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั
หน่ วยวัด พ.ศ.
( Baseline Data)
2548 2549 2550
จํานวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐที่ได้รบั การ
ส่งเสริมคุณภาพตามมาตรฐานด้านวิศวกรรม
แห่ง 350 400 400
การแพทย์

แหล่งข้อมูล : กองวิศวกรรมการแพทย์ กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


วิธีการจัดเก็บข้อมูล : รวบรวมจากแบบรายงานผลการปฏิบตั ิงานกองวิศวกรรมการแพทย์
ความถี่ในการจัดเก็บ : ทุกเดือน

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายประสาท ตราดธารทิพย์ เบอร์ติดต่อ 0 2951 0185 , 0188

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

22
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นายสําเนา สมโมทย์ เบอร์ติดต่อ 0 2951 0187 ต่อ 1601


2. นางณัฐยา บัวศรี เบอร์ติดต่อ 0 2951 0187 ต่อ 1602
3. น.ส.จิราณี ตัง้ พรโชติช่วง เบอร์ติดต่อ : 0 2951 0187 ต่อ 1605
มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template
ผลผลิตที่ 4 : ธุรกิจบริการสุขภาพได้รบั การส่งเสริมและสนับสนุ นให้มคี ุณภาพและมาตรฐาน
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.6 จํานวนสถานประกอบการเพื่อธุรกิจบริการสุขภาพได้รบั การส่งเสริมพัฒนาให้เข ้าสู่คุณภาพตาม
มาตรฐานที่กาํ หนด
หน่ วยวัด : แห่ง
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 0.30
คําอธิบาย :
สถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพ หมายถึง สถานที่เพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมสวยที่ใช้ในการประกอบ
กิจการสปาเพื่อสุขภาพ กิจการนวดเพื่อสุขภาพ หรือกิจการนวดเพื่อเสริมสวย ซึ่งกิจการดังกล่าวไม่เข ้าข่ายการประกอบ
โรคศิลปะ ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ การประกอบวิชาชีพอื่นตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพทางการแพทย์
หรือสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล
ได้รบั การส่งเสริมพัฒนา หมายถึง สถานประกอบการธุ รกิจบริการสุขภาพทัง้ ที่ได้รบั ใบรับรองมาตรฐาน และ
ยังไม่ได้รบั ใบรับรองมาตรฐาน ได้เข ้าร่วมกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่นการประชุม/อบรม/สัมมนา ได้รบั การออก
เยี่ยมสํารวจ ได้รบั การชี้แจงรายสถานประกอบการ ได้รบั การชี้แจงในพื้นที่ ตลอดจนได้รบั เอกสาร /การ
ประชาสัมพันธ์
เข้าสูค่ ุณภาพตามมาตรฐานที่กาํ หนด หมายถึง สถานประกอบการธุ รกิจบริการสุขภาพที่ได้รบั การส่งเสริมได้
ยื่นคําร้องขอรับใบรับรองมาตรฐานตามที่ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฯ กําหนด
เป้ าหมาย ปี งบประมาณ พ.ศ.2551 สถานประกอบการธุ รกิจบริการสุขภาพได้รบั การส่งเสริมพัฒนาให้เข ้าสู่
คุณภาพตามมาตรฐานที่กาํ หนด จํานวน 1,100 แห่ง

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 50 แห่ง ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้
ระดับ จํานวนสถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพได้รบั การส่งเสริมพัฒนาให้เข้า
คะแนน สูค่ ุณภาพตามมาตรฐานที่กาํ หนด (แห่ง)
1 900
2 950

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

23
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

3 1000
4 1050
5 1,100
มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.6 จํานวนสถานประกอบการเพื่อธุรกิจบริการสุขภาพได้รบั การส่งเสริมพัฒนาให้เข ้าสู่คุณภาพตาม
มาตรฐานที่กาํ หนด (ต่อ)

ข้อมูลพื้นฐาน

ข้อมูลพื้นฐานในปี งบประมาณ
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั
หน่ วยวัด พ.ศ.
( Baseline Data)
2548 2549 2550
จํานวนสถานประกอบการธุรกิจ
บริการสุขภาพได้รบั การส่งเสริม
จํานวน 934 1,047 1,008*
พัฒนาให้เข ้าสู่คุณภาพมาตรฐาน
ตามที่กาํ หนด
หมายเหตุ : * ปรับตัวเลขตามรายงาน SAR 6 เดือน และ SAR 9 เดือน

วิธีการจัดเก็บข้อมูล : 1. ฐานข ้อมูลสถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพที่ได้ย่นื คําร้องขอรับใบรับรองมาตรฐาน


ทัง้ กรณี รายต่ออายุและรายใหม่
2 . ความถี่ในการจัดเก็บ ทุก 3 เดือน

แหล่งข้อมูล : 1. สํานักงานส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


2. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกแห่ง

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายภัทรพล จึงสมเจตไพศาล เบอร์ติดต่อ 0 2590 1997 ต่อ 701 -705

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

24
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางสาวแสงเดือน จารุโรจน์สกุลชัย เบอร์ติดต่อ 0 2590 1997 ต่อ 701 -705
2. นางเสาวภา จงกิตติพงศ์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1997 ต่อ 701 -705
3. นางสาวสุธีรา เอี่ยมสุภาษิต เบอร์ติดต่อ 0 2590 1997 ต่อ 701 -705
มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.7 จํานวนสถานพยาบาลเอกชนที่ได้รบั การส่งเสริมและสนับสนุนคุณภาพมาตรฐานให้เป็ นที่
ยอมรับของชาวต่างประเทศ
หน่ วยวัด : แห่ง
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 0.20
คําอธิบาย :
สถานพยาบาลเอกชน หมายถึง สถานพยาบาลตามกฎหมาย พ.ร.บ. สถานพยาบาล พ.ศ. 2541 ซึ่งมี
2 ประเภท คือ สถานพยาบาลที่ไม่รบั ผูป้ ่ วยไว้คา้ งคืน (คลินิก) / สถานพยาบาลที่รบั ผูป้ ่ วยไว้คา้ งคืน (รพ.เอกชน)
การส่งเสริมและสนับสนุ นคุณภาพมาตรฐานให้เป็ นที่ยอมรับของชาวต่างชาติ ห มายถึง การประชุม อบรม
พัฒนากฎหมาย เผยแพร่ ข ้อมูลข่าวสาร ให้คาํ ปรึกษาด้านวิชาการ เพื่อสนับสนุน ให้ความรู ้ กิจกรรมรักษาพยาบาล
ส่งเสริมคุณภาพ และฟื้ นฟูสมรรถภาพผูร้ บั บริการ ในสถานพยาบาลเอกชนที่จดั บริการให้แก่ชาวต่างชาติ รวมทัง้ การ
สนับสนุ นการประชาสัมพันธ์เชิงรุกตามยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็ นศูนย์กลางการดูแลสุขภาพของเอเซีย
(Medical Hub of Thailand)

เป้ าหมาย ปี งบประมาณ พ.ศ.2551 สถานพยาบาลเอกชนที่ได้รบั การส่งเสริมและสนับสนุนคุณภาพมาตรฐาน


ให้เป็ นที่ยอมรับของชาวต่างประเทศ จํานวน 50 แห่ง

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 5 หน่วย ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
จํานวนสถานพยาบาลเอกชนที่ได้รบั การส่งเสริมและสนับสนุ นคุณภาพ
ระดับ
มาตรฐานให้เป็ นที่ยอมรับของชาวต่างประเทศ (แห่ง)
1 30 แห่ง
2 35 แห่ง
3 40 แห่ง
4 45 แห่ง
5 50 แห่ง

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

25
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.7 จํานวนสถานพยาบาลเอกชนที่ได้รบั การส่งเสริมและสนับสนุนคุณภาพมาตรฐานให้เป็ นที่
ยอมรับของชาวต่างประเทศ (ต่อ)

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ไม่มี เนื่องจากเริ่มดําเนินการในปี แรก

แหล่งข้อมูล : กลุม่ งานสถานพยาบาล กองการประกอบโรคศิลปะ

วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
แบบรายงาน ตามคํารับรองการปฎิบตั ิราชการ ทุกเดือน โดยเริ่มจัดเก็บข ้อมูลในไตรมาสที่ 1

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายธารา ชินะกาญจน์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1331

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

26
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางรัตนา สุกุมลจันทร์ เบอร์ติดต่อ 0 2589 4904, 0 2590 1997 ต่อ 401
2. นางภัทรวดี ปานขาว เบอร์ติดต่อ 0 2589 6653, 0 2590 1997 ต่อ 405
3. นางนิภา ทิพย์พลิ า เบอร์ติดต่อ 0 2589 4025, 0 2590 1997 ต่อ 202
มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template

ผลผลิตที่ 5 : ผลงานการวิจยั พัฒนาองค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีดา้ น ระบบบริการสุขภาพ สุขศึกษาและสุขภาพภาพ


ประชาชน
ตัวชี้วดั ที่ 3.1.8 จํานวนผลงานการวิจยั พัฒนาองค์ความรู ้ และ เทคโนโลยีระบบบริการสุขภาพ สุขศึกษาและสุขภาพ
ภาคประชาชน
หน่ วยวัด : เรื่อง
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 0.60
คําอธิบาย :
การวิจยั พัฒนา องค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีระบบบริการสุขภาพ สุขศึกษาและสุขภาพภาค
ประชาชน หมายถึง การวิจยั การพัฒนารู ปแบบ การพัฒนาแนวทาง การพัฒนามาตรฐาน ทางด้านสุขศึกษา ด้าน
ระบบบริการสุขภาพ ด้านพฤติกรรมสุขภาพ ด้านธุรกิจบริการสุขภาพ ด้านรักษาพยาบาล ด้านสิ่งแวดล ้อม ฯลฯ เพื่อให้
สถานบริการสุขภาพ องค์กรส่วนท้องถิ่น องค์กรภาคประชาชน ชมรมสร้างสุขภาพ ผูใ้ ห้บริการด้านสุขภาพ อาสมัคร
สาธารณสุข ฯลฯ นําไปใช้ประโยชน์หรือประยุกต์ใช้ต่อไป

เป้ าหมายในปี งบประมาณ พ.ศ.2551 จํานวนผลงานการวิจยั พัฒนาองค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีระบบ


บริการสุขภาพ สุขศึกษาและสุขภาพภาคประชาชน มีจาํ นวน 17 เรื่อง

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 1 เรื่อง ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้

คะแนน
จํานวนองค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีท่มี ีการศึกษา วิจยั และพัฒนา
ที่ได้
1 13 เรื่อง
2 14 เรื่อง

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

27
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

3 15 เรื่อง
4 16 เรื่อง
5 17 เรื่อง

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
• ตัวชี้วดั ที่ 3.1.8 จํานวนผลงานการวิจยั พัฒนาองค์ความรู ้ และ เทคโนโลยีระบบบริการสุขภาพ สุขศึกษาและ
สุขภาพภาคประชาชน (ต่อ)

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :

ข้อมูลพื้นฐานในปี งบประมาณ
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั
หน่ วยวัด พ.ศ.
( Baseline Data)
2548 2549 2550
จํานวนผลงานการวิจยั พัฒนา องค์ความรูแ้ ละ
เทคโนโลยีระบบบริการสุขภาพ เรื่อง 34 19 19
สุขศึกษาและสุขภาพภาคประชาชน

แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. กําหนดให้สาํ นัก/กอง เป็ นหน่วยงานที่รบั ผิดชอบในการจัดเก็บข ้อมูล
2. ความถี่ของการจัดเก็บข ้อมูล สํานัก / กอง รวบรวมข ้อมูล/ผลการศึกษา วิจยั และพัฒนาจากแบบรายงาน
ผลการดําเนินงาน ปี ละ 1 ครัง้ และรายงานความก้าวหน้าผลการดําเนินงาน รอบ 6 เดือน 9 เดือน 11 เดือน

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

28
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายศิริชยั ชูประวัติ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1710


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางมลิวลั ย์ ตรังคชสาร เบอร์ตดิ ต่อ 0 2590 1769
2. นางเพชรชมภู พันธุเ์ ปรมเจริญ เบอร์ตดิ ต่อ 0 2590 1743

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
ผลผลิตที่ 8 : ภาคีเครือข่ายได้รบั การส่งเสริมและสนับสนุนให้มกี ิจกรรมด้านสุขภาพ
ตัวชี้วดั ที่ 3.1.12 จํานวนภาคีเครือข่ายได้รบั การส่งเสริมพัฒนาและสนับสนุนให้มสี ่วนร่วมในการจัดกิจกรรมสุขภาพ
หน่ วยวัด : จํานวน (เครือข่าย)
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 0.40
คําอธิบาย :
องค์กรภาคีเครือข่าย หมายถึง หน่วยงาน หรือ องค์กรที่มสี ่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพ
ประกอบด้วย 2 ภาคส่วนดังนี้
1. หน่วยงานองค์กรภาครัฐ ได้แก่ หน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัด/ อําเภอ/ตําบล องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นๆ
2. หน่วยงานองค์กรภาคประชาชน ได้แก่ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ชมรมสร้างสุขภาพ
สมาคม/มูลนิธิ หรือองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ รวมทัง้ กลุม่ / ชมรม / องค์กรอื่นๆ
โดยภาคีเครือข่ายจะต้องมีองค์ประกอบทัง้ 2 ข ้อ และมีความร่วมมือประสานการจัดกิจกรรมด้าน
สุขภาพ ซึ่งมีหน่วยงานหรือองค์กรใดองค์กรหนึ่งทําหน้าที่เป็ นศูนย์กลางประสานของเครือข่าย
การส่งเสริม พัฒนา และสนับสนุ น หมายถึง การกระทําต่างๆ เช่น การประชุมชี้แจง การจัด
อบรม การจัดเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู ้ การสนับสนุ นด้านวิชาการ งบประมาณ การนิเทศติดตาม เพื่อให้ภาคีเครือข่าย
เกิดการประสานงาน แลกเปลีย่ นเรียนรูท้ างด้านวิชาการ และการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพในการสนับสนุนหมูบ่ า้ น
จัดการสุขภาพ
มีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพ หมายถึง ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการวางแผน การ
จัดการงบประมาณเพื่อใช้ในการพัฒนา มีการจัดกิจกรรม และการประเมินผลการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพ
เป้ าหมายดําเนิ นการปี 2551 จํานวน 200 เครือข่าย ประกอบด้วย
1. เครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน จํานวน 150 เครือข่าย
2. เครือข่ายพันธมิตรในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ จํานวน 50 เครือข่าย

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

29
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

เกณฑ์การให้คะแนน :
กําหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.1.12 จํานวนภาคีเครือข่ายได้รบั การส่งเสริมพัฒนาและสนับสนุนให้มสี ่วนร่วมในการจัดกิจกรรมสุขภาพ
(ต่อ)

จํานวนภาคีเครือข่ายได้รบั การส่งเสริมพัฒนา
ระดับคะแนน
และสนับสนุ น
1 120 เครือข่าย
2 140 เครือข่าย
3 160 เครือข่าย
4 180 เครือข่าย
5 200 เครือข่าย

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดําเนิ นงานใน
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั
หน่ วยวัด ปี งบประมาณ พ.ศ.
( Baseline Data)
2548 2549 2550
จํานวนภาคีเครือข่ายได้รบั การส่งเสริมพัฒนาและ เครือ 76 76 76
สนับสนุนให้มสี ่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพ ข่าย
แหล่งข้อมูล : กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน และ กองสุขศึกษา
วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. รวบรวมจากการรายงานผลการดําเนินงาน
2. รวบรวมจากแบบประเมินภาคีเครือข่าย
ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายธงชัย สาระกูล เบอร์ติดต่อ 0 2590 1531
ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางรุจยา ชัชวาลยางกูร เบอร์ติดต่อ 0 2590 1540

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

30
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

2. นางพวงเพชร เฉิดฉันท์พพิ ฒั น์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1545


3. นางชัญญาภัค บุณยรัตนิน เบอร์ติดต่อ 0 2590 1545
4. นางสาวนวลจันทร์ ศักดิ์ธนากูล เบอร์ติดต่อ 0 2590 1619
5. นางบุญตา เจนสุขอุดม เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1614
มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.1 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักตามเป้ าหมายผลผลิตของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
(ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจําปี 2551) จํานวน 12 ตัวชี้วดั (นํา้ หนักร้อยละ 5) (ต่อ)
ตารางและสูตรการคํานวณ ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักตามเป้ าหมายผลผลิตของกรมสนับสนุน
บริการสุขภาพ (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจําปี 2551) จํานวน 12 ตัวชี้วดั (นํา้ หนักร้อยละ 5) ดังนี้

เป้ าหมายผลผลิตของ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ


นํา้ คะแนนเฉลีย่ ถ่วง
กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ ของเป้ าหมายผลผลิต คะแนนทีไ่ ด้
หนัก นํา้ หนัก
(ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย (Ci)
(Wi) 1 2 3 4 5 (Wi x Ci)
ปี งบประมาณ 2551)(i)
ผลผลิตที่ 1 : ผลงานการส่งเสริมพัฒนาและควบคุม กํากับคุณภาพมาตรฐานบริการสุขภาพในสถานบริการสุขภาพภาครัฐและเอกชน
ตัวชี้วดั ที่ 3.1.1 จํานวนโรงพยาบาลภาครัฐได้รบั การประเมินตาม
0.10 80 85 90 95 100 (C1) (Wi x Ci)
เกณฑ์มาตรฐานบริการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วดั ที่ 3.1.9 จํานวนโรงพยาบาลภาครัฐได้รบั การส่งเสริมพัฒนา
0.08 235 245 255 265 275 (C2) (W2 x C2)
คุณภาพตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วดั ที่ 3.1.10 จํานวนสถานีอนามัยและศูนย์สุขภาพชุมชนได้รบั
0.10 990 995 1000 1005 1010 (C3) (W3 x C3)
การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพมาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน
ตัวชี้วดั ที่ 3.1.11 จํานวนศูนย์สุขภาพชุมชนได้รบั การประเมินตาม
0.04 990 995 1000 1005 1010 (C4) (W4 x C4)
เกณฑ์มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน
ตัวชี้วดั ที่ 3.1.2 จํานวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รบั การ
0.10 960 965 970 975 980 (C5) (W5 x C5)
ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานงานสุขศึกษา
ตัวชี้วดั ที่ 3.1.3 จํานวนสถานบริการสุขภาพภาคเอกชนทีไ่ ด้รบั การ
0.08 3500 3550 3600 3650 3700 (C6) (W6 x C6)
ควบคุมกํากับให้ได้คุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ทกี่ ฎหมายกําหนด
ผลผลิตที่ 2 : ผลงานการส่งเสริมสนับสนุ น และพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานด้านอาคารสถานทีใ่ นสถานบริการสุขภาพภาครัฐ
ตัวชี้วดั ที่ 3.1.4 จํานวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รบั การส่งเสริม
0.10 150 155 160 165 170 (C7) (W7 x C7)
พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานด้านอาคารสถานที่
ผลผลิตที่ 3 : ผลงานการส่งเสริมสนับสนุ น และพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานด้านวิศวกรรมการแพทย์ในสถานบริการสุขภาพภาครัฐ
ตัวชี้วดั ที่ 3.1.5 จํานวนสถานบริการสุขภาพภาครัฐได้รบั การส่งเสริม
0.10 340 360 380 400 420 (C8) (W8 x C8)
พัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานด้านวิศวกรรมการแพทย์
ผลผลิตที่ 4 : ธุรกิจบริการสุขภาพได้รบั การส่งเสริมและสนับสนุ นให้มีคุณภาพและมาตรฐาน
ตัวชี้วดั ที่ 3.1.6 จํานวนสถานประกอบการเพือ่ ธุรกิจบริการสุขภาพ
0.06 900 950 1000 1050 1100 (C9) (W9 x C9)
ได้รบั การส่งเสริมพัฒนาให้เข้าสู่คุณภาพตามมาตรฐานทีก่ าํ หนด

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

31
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ตัวชี้วดั ที่ 3.1.7 จํานวนสถานพยาบาลเอกชนทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม


0.04 30 35 40 45 50 (C10) (W10 x C10)
และสนับสนุ นคุณภาพมาตรฐานให้เป็ นทีย่ อมรับของชาวต่างประเทศ
ผลผลิตที่ 5 : ผลงานการวิจยั พัฒนาองค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีดา้ น ระบบบริการสุขภาพ สุขศึกษาและสุขภาพภาคประชาชน
ตัวชี้วดั ที่ 3.1.8 จํานวนผลงานการวิจยั พัฒนาองค์ความรู ้ และ
0.12 13 14 15 16 17 (C11) (W11 x C11)
เทคโนโลยีระบบบริการสุขภาพ สุขศึกษาและสุขภาพภาคประชาชน
มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.1 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักตามเป้ าหมายผลผลิตของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
(ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจําปี 2551)จํานวน 12 ตัวชี้วดั (นํา้ หนักร้อยละ 5) (ต่อ)
สูตรการคํานวณ (ต่อ)

เป้ าหมายผลผลิตของ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ


นํา้ คะแนนเฉลีย่ ถ่วง
กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ ของเป้ าหมายผลผลิต คะแนนทีไ่ ด้
หนัก นํา้ หนัก
(ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย (Ci)
(Wi) (Wi x Ci)
ปี งบประมาณ 2551)(i)
ผลผลิตที่ 8 : ภาคีเครือข่ายได้รบั การส่งเสริมและสนับสนุ นให้มีกิจกรรมด้านสุขภาพ
ตัวชี้วดั ที่ 3.1.12 จํานวนภาคีเครือข่ายได้รบั การส่งเสริมพัฒนาและ
สนับสนุ นให้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมสุขภาพ 0.08 120 140 160 180 200 (C12) (W12 x C12)

Σ ผลรวม
นํ้ าหนักรวม Wi= (Wi x Ci)
1.00

ผลรวมคะแนนเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนัก เท่ากับ

Σ (Wi x Ci) หรือ (W1 x C1) + (W2 x C2) + ... + (Wi x Ci)
Σ Wi W1 + W2 + W3 +...+ Wi

โดยที่ :
W หมายถึง นํา้ หนักความสําคัญที่ให้กบั แต่ละเป้ าหมายผลผลิต และผลรวมของนํา้ หนักของทุกเป้ าหมาย
ผลผลิต เท่ากับ 1
C หมายถึง คะแนนที่ได้จากการเทียบกับร้อยละของเป้ าหมายผลผลิต
i หมายถึง ลําดับที่ของเป้ าหมายผลผลิต ; 1, 2,…, i

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

32
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.1 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักตามเป้ าหมายผลผลิตของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
(ตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจําปี 2551) จํานวน 12 ตัวชี้วดั (นํา้ หนักร้อยละ 5) (ต่อ)

เกณฑ์การให้คะแนน :
+/- 1 ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 Σ (Wi x SMi) = 1
2 Σ (Wi x SMi) = 2
3 Σ (Wi x SMi) = 3
4 Σ (Wi x SMi) = 4
5 Σ (Wi x SMi) = 5

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

33
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
ประเด็นการประเมินผล : ผลสําเร็จในการบรรลุเป้ าหมายตัวชี้วดั ตามแผนปฏิบตั ิราชการ/ตวั ชี้วดั ตามภารกิจหลักของ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จํานวน 6 ตัวชี้วดั (นํา้ หนักร้อยละ 15) ดังนี้
ตัวชี้วดั ที่ 3.2 ร้อยละของสถานบริการสุขภาพภาคเอกชนได้คุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ท่กี ฎหมายกําหนด
หน่ วยวัด : ร้อยละ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 3
คําอธิบาย :
สถานบริการสุขภาพภาคเอกชน หมายถึง สถานพยาบาลตามกฎหมาย พ.ร.บ.สถานพยาบาล พ.ศ.
2541 ซึ่งมี 2 ประเภท ได้แก่ สถานพยาบาลที่ไม่รบั ผูป้ ่ วยไว้คา้ งคืน (คลินิก) และสถานพยาบาลที่รบั ผูป้ ่ วยค้างคืน
(โรงพยาบาล) ในเขตกรุงเทพมหานคร
ได้คุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ท่กี ฎหมายกําหนด หมายถึง สถานพยาบาลประเภทที่ไม่รบั ผูป้ ่ วย
ค้างคืน (คลินิก) และสถานพยาบาลประเภทที่รบั ผูป้ ่ วยค้างคืน (โรงพยาบาล) ในเขตกรุงเทพมหานคร ได้คุณภาพ
มาตรฐานตามแนวทางการตรวจมาตรฐานสถานพยาบาลประเภทที่ไม่รบั ผูป้ ่ วยค้างคื(คลิ น นิก) และแนวทางการตรวจ
มาตรฐาน สถานพยาบาลประเภทที่รบั ผูป้ ่ วยค้างคืน (โรงพยาบาล) ของกระทรวงสาธารณสุข
เป้ าหมาย : สถานบริการสุขภาพภาคเอกชน ทัว่ ประเทศ ได้คุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ท่กี ฎหมาย
กําหนด เท่ากับ ร้อยละ 95

สูตรการคํานวณ :
ร้อยละของสถานบริการสุขภาพภาคเอกชน ในเขตกรุงเทพมหานครที่ได้คุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ท่กี ฎหมาย
กําหนด
= จํานวนสถานบริการสุขภาพเอกชนฯที่ได้คณ
ุ ภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ท่กี ฎหมายกําหนด x 100
จํานวนสถานบริการสุขภาพภาคเอกชนทัว่ ประเทศ

เกณฑ์การประเมิน:
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 2 หน่วย ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนน

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

34
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ดังนี้ :-

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.2 ร้อยละของสถานบริการสุขภาพภาคเอกชนได้คุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ท่กี ฎหมายกําหนด ( ต่อ )

ระดับ สถานบริการสุขภาพภาคเอกชนได้คุณภาพมาตรฐาน
คะแนน ( ร้อยละ)
1 92
2 94
3 96
4 98
5 100

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :

ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั ผลการดําเนิ นงาน ปี งบประมาณ พ.ศ.


(Baseline Data) 2548 2549 2550
- จํานวนสถานบริการสุขภาพภาคเอกชนที่ได้รบั ควบคุม 15,532 16,648 17,729
กํากับทัว่ ประเทศ แห่ง แห่ง แห่ง

- จํานวนสถานบริการสุขภาพภาคเอกชนที่มคี ุณภาพได้ 15,530 16,648 17,729


มาตรฐานทัว่ ประเทศ แห่ง แห่ง แห่ง

- ร้อยละของสถานบริการสุขภาพภาคเอกชนมีคุณภาพ 100% 100 % 100 %


ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ท่กี ฎหมายกําหนด

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

35
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

แหล่งข้อมูล : กลุม่ งานสถานพยาบาล


กลุม่ งานแผนงานและพัฒนาวิชาการ
กองการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.2 ร้อยละของสถานบริการสุขภาพภาคเอกชนได้คุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ท่กี ฎหมายกําหนด ( ต่อ )

วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
แบบรายงาน ตามคํารับรองการปฎิบตั ิราชการ ทุกเดือน โดยเริ่มจัดเก็บข ้อมูลใน ไตรมาสที่ 1

เงื่อนไขตัวชี้วดั 3.2 ในการเจรจาข้อตกลง :


1. กําหนดให้กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพต้อง Advice กับสถานบริการสุขภาพที่เข ้าไปตรวจว่า ต้องมีการ
พัฒนาคุณภาพมาตรฐานด้านใดบ้าง และต้องมีการ Fallow up ตาม Advice ให้สาํ เร็จและครบถ้วน พร้อมทําสรุป
รายงานการดําเนินงาน
2. ในกรณีสถานบริการแห่งใดถูกเพิกถอนใบอนุ ญาตในครัง้ แรกของการตรวจประเมิน จะถูกตัดออกจากฐาน
การคํานวณผลการดําเนินงาน

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายธารา ชินะกาญจน์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1331

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

36
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางรัตนา สุกุมลจันทร์ เบอร์ติดต่อ 0 2589 4904, 0 2590 1997 ต่อ 401
2. นางนาตยา ผลโพธิ์ เบอร์ติดต่อ 0 2589 6653, 0 2590 1997 ต่อ 405
3. นางวิภาวดี หมีทอง เบอร์ติดต่อ 0 2589 5058, 0 2590 1997 ต่อ 403
4. นางนิภา ทิพย์พลิ า เบอร์ติดต่อ 0 2589 4025, 0 2590 1997 ต่อ 202
มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.3 ร้อยละของสถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพที่ได้รบั การตรวจมาตรฐาน
หน่ วยวัด : ร้อยละ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 2
คําอธิบาย :

สถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพ หมายถึง สถานที่เพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมสวยที่ใช้ในการประกอบ


กิจการสปาเพื่อสุขภาพ กิจการนวดเพื่อสุขภาพ หรือกิจการนวดเพื่อเสริมสวย ซึ่งกิจการดังกล่าวไม่เข ้าข่ายการประกอบ
โรคศิลปะ ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ การประกอบวิชาชีพอื่นตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพทางการแพทย์
หรือสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล

การตรวจและประเมินมาตรฐาน หมายถึง กระบวนการตัง้ แต่การรับคําร้องขอตรวจ การพิจารณาคําร้อง การ


ตรวจและประเมินมาตรฐานของสถานประกอบการ ตามที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข ตลอดจนการเสนอ
ความเห็นต่อผูอ้ อกใบรับรองมาตรฐาน เพื่อพิจารณาออก/ไม่ออกใบรับรองมาตรฐาน

สูตรการคํานวณ :

จํานวนสถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพทีไ่ ด้ รับการตรวจมาตรฐาน
x 100
จํานวนสถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพทีย่ นื่ คําร้ องการตรวจมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน:
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนนกําหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ :-

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

37
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.3 ร้อยละของสถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพได้รบั การตรวจมาตรฐาน(ต่อ)

ระดับ ร้อยละของสถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพที่ได้รบั การตรวจและ


คะแนน ประเมินมาตรฐาน
1 94
2 95.5
3 97
4 98.5
5 100

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ข้อมูลพื้นฐานในปี งบประมาณ
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั หน่ วย พ.ศ.
( Baseline Data) วัด
พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2550

ร้อยละของสถานประกอบการ
ธุ รกิจบริการสุขภาพที่ได้รบั การ
ร้อยละ 89.44 99.80 100
ตรวจและประเมินมาตรฐาน

วิธีการจัดเก็บข้อมูล : 1 . ฐานข ้อมูลสถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพที่ย่นื คําร้องขอรับใบรับรอง


มาตรฐานและได้รบั การตรวจและประเมินมาตรฐานสถานประกอบการ
2 . ความถี่ในการจัดเก็บ ทุก 3 เดือน
แหล่งข้อมูล : 1 . สํานักส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
2. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกแห่ง

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

38
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายภัทรพล จึงสมเจตไพศาล เบอร์ติดต่อ 0 2590 1997 ต่อ 701-705


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางดรุณี วัชรธรรม เบอร์ติดต่อ 0 2590 1997 ต่อ 701-705
2. นางประไพ ตรีกาลนนท์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1997 ต่อ 701-705
มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.4 ร้อยละของสถานประกอบการธุ รกิจบริการสุขภาพได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กาํ หนด
หน่ วยวัด : ร้อยละ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 2
คําอธิบาย :
สถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพ หมายถึง สถานที่เพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมสวยที่ใช้ในการประกอบ
กิจการสปาเพื่อสุขภาพ กิจการนวดเพื่อสุขภาพ หรือกิจการนวดเพื่อเสริมสวย ซึ่งกิจการดังกล่าว ไม่เข ้าข่ายการประกอบ
โรคศิลปะ ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ การประกอบวิชาชีพอื่นตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพทางการแพทย์
หรือสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล
ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กาํ หนด หมายถึงสถานประกอบการธุ รกิจบริการสุขภาพซึ่งได้รบั ใบรับรอง
มาตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฯ แล ้ว มีความประสงค์จะต่ออายุใบรับรองมาตรฐาน มายื่นคําร้องขอ
ใบรับรองมาตรฐานซึ่งได้รบั การตรวจและประเมินมาตรฐานแล ้วรักษามาตรฐานไว้ได้ ได้รบั ใบรับรองมาตรฐานตาม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฯ
สูตรการคํานวณ :

สถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพทีไ่ ด้ รับการรับรองมาตรฐาน x 100

สถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพที่ ได้ รับการตรวจมาตรฐานทัง้ หมด

เกณฑ์การประเมิน:
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 3 หน่วย ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้
:-
ระดับ ร้อยละของสถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพได้
คะแนน คุณภาพตามมาตรฐานที่กาํ หนด
1 87

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

39
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

2 90
3 93
4 96
5 99
มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.4 ร้อยละของสถานประกอบการธุ รกิจบริการสุขภาพได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กาํ หนด(ต่อ)
ข้อมูลพื้นฐาน

ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั ข้อมูลพื้นฐานในปี งบประมาณ พ.ศ.


หน่ วยวัด
( Baseline Data) 2548 2549 2550
ร้อยละของสถานประกอบการ
ธุรกิจบริการสุขภาพได้คุณภาพ ร้อยละ 88.29 106.32 96.67
ตามมาตรฐานที่กาํ หนด

หมายเหตุ ข ้อมูลพื้นฐาน ( Baseline Data) ปี พ.ศ. 2548 - 2550 มาจากการใช้สูตรการคํานวณดังนี้

สถานประกอบการธุรกิจบริ การสุขภาพที่ได้ รับการรับรองมาตรฐาน (ทังกรณี


้ รายใหม่และรายต่ออายุ)
X 100
สถานประกอบการธุรกิจบริ การสุขภาพที่ได้ รับการตรวจมาตรฐาน (ทังกรณี
้ รายใหม่และรายต่ออายุ)

วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. ฐานข ้อมูลสถานประกอบการธุรกิจบริการสุขภาพที่ได้รบั ใบรับรองมาตรฐานแล ้วยื่นคําร้อง เมือ่
ได้รบั การตรวจและประเมินมาตรฐาน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กาํ หนด
2. ความถี่ในการจัดเก็บ ทุก 3 เดือน

แหล่งข้อมูล : 1. สํานักส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


2. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกแห่ง

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

40
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.4 ร้อยละของสถานประกอบการธุ รกิจบริการสุขภาพได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กาํ หนด(ต่อ)

เงื่อนไขตัวชี้วดั 3.4 ในการเจรจาข้อตกลง :


1. กําหนดให้กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพต้อง Advice กับสถานประกอบการสุขภาพที่เข ้าไปตรวจถึงสิ่งที่ตอ้ งมี
การพัฒนาเพื่อให้ได้คุณภาพมาตรฐาน และต้อง Fallow up ตาม Advice ให้สาํ เร็จและครบถ้วน พร้อมทําสรุปรายงาน
การดําเนินงาน
2. ฐานที่ใช้ในการคํานวณผลการดําเนินงานได้แก่ สถานประกอบการธุ รกิจบริการสุขภาพที่ประกอบ ธุ รกิจ
เกี่ยวกับ SPA เท่านัน้
3. ณ สิ้นปี งบประมาณ ต้องนําข ้อมูล ตัวชี้วดั 3.3 แยกประเภท สถานประกอบการธุ รกิจบริการสุขภาพที่ได้รบั
การตรวจมาตรฐาน เพื่อแสดงให้เห็นถึงฐานที่จะนําไปใช้คาํ นวณ ตัวชี้วดั 3.4 ต่อไป

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

41
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายภัทรพล จึงสมเจตไพศาล เบอร์ติดต่อ 0 2590 1997 ต่อ 701-705


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางสาวแสงเดือน จารุโรจน์สกุลชัย เบอร์ติดต่อ 0 2590 1997 ต่อ 701 – 705
2. นางอุบลวรรณ ศรีเสรีนุวฒั น์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1997 ต่อ 701-705
มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.5 ร้อยละของผูบ้ ริโภครับรูส้ ทิ ธิประโยชน์การคุม้ ครองด้านบริการสุขภาพ
หน่ วยวัด : ร้อยละ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 2
คําอธิบาย :
ผูบ้ ริโภค หมายถึง ประชาชนผูร้ บั บริการสถานบริการสุขภาพภาคเอกชน ที่ตอบแบบสอบถาม เรื่องการรับรู ้
สิทธิประโยชน์การคุม้ ครองด้านบริการสุขภาพ
รับรูส้ ทิ ธิประโยชน์ หมายถึง การรับทราบข ้อมูลข่าวสารการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านบริการสุขภาพ ในสถานบริการ
สุขภาพภาคเอกชน ตามเกณฑ์ท่กี ฎหมายกําหนด คือ สิทธิของผูป้ ่ วย และ อัตราค่ารักษาพยาบาล (ตอบแบบสอบถามได้
มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 ของคําถาม)

เป้ าหมาย : ร้อยละ 70 (ของผูบ้ ริโภคที่ตอบแบบสอบถามได้มากกว่าหรือเท่ากับ60 % ของคําถาม)

สูตรการคํานวณ :
A = จํานวนผูบ้ ริโภคที่ได้รบั ทราบข ้อมูลข่าวสารการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านบริการสุขภาพในสถานบริการ
สุขภาพภาคเอกชน ตามเกณฑ์กฎหมายที่กาํ หนด คือ สิทธิของผูป้ ่ วย และ อัตราค่ารักษาพยาบาล(ตอบแบบสอบถาม
ได้มากกว่าหรือเท่ากับ60 % ของคําถาม)
B = จํานวนผูบ้ ริโภคที่ตอบแบบสอบถาม เรื่องการรับรูส้ ทิ ธิประโยชน์การคุม้ ครองด้านบริการสุขภาพ
สูตรการคํานวณ = (A / B) x 100

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 5 หน่วย ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

ระดับ 1 ระดับ2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5


ร้อยละ 60 ร้อยละ 65 ร้อยละ70 ร้อยละ 90 ร้อยละ 95

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

42
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.5 ร้อยละของผูบ้ ริโภครับรูส้ ทิ ธิประโยชน์การคุม้ ครองด้านบริการสุขภาพ (ต่อ)

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2550 กลุม่ ผูบ้ ริโภคเป็ นแกนนํา/ชมรม/เครือข่าย สร้างสุขภาพในเขตกรุงเทพมหานคร

แหล่งข้อมูล : กลุม่ งานแผนงานและพัฒนาวิชาการ กองการประกอบโรคศิลปะ

วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
แบบรายงาน ตามคํารับรองการปฎิบตั ิราชการ ทุกเดือน

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

43
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายธารา ชินะกาญจน์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1331


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางสายสุนีย ์ ชัยชนะ เบอร์ติดต่อ 0 2589 4025, 0-2590 1997 ต่อ 201
2. นางธนัชพร สิริยานนท์ เบอร์ติดต่อ 0 2589 4025, 0 2590 1997 ต่อ 203
3. นางนิภา ทิพย์พลิ า เบอร์ติดต่อ 0 2589 4025, 0 2590 1997 ต่อ 202
มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.6 ระดับความสําเร็จของประชาชนกลุม่ เป้ าหมายมีความรูท้ ่ถี ูกต้องในการดูแลสุขภาพ
หน่ วยวัด : ระดับความสําเร็จ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 3
คําอธิบาย :

ประชาชนกลุ่มเป้ าหมาย หมายถึง สมาชิกชมรมสร้างสุขภาพ และหรืออาสาสมัครสาธารณสุขที่ได้รบั การ


ถ่ายทอดความรูด้ า้ นสุขภาพ ในพื้นที่เป้ าหมายการดําเนินงานตามแผนงาน /โครงการ ของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
ประจําปี งบประมาณ 2551

มีความรูท้ ่ถี ูกต้องในการดูแลสุขภาพ หมายถึง ประชาชนกลุม่ เป้ าหมายสามารถนําความรูท้ ่ถี ูกต้อง ที่ได้รบั จาก
การถ่ายทอดไปปฏิบตั ิเพื่อการดูแลสุขภาพในประเด็นที่เกี่ยวข ้องกับพฤติกรรมการส่งเสริมและป้ องกันโรคความดัน
โลหิตสูง

เกณฑ์การให้คะแนน :
กําหนดเป็ นระดับขัน้ ของความสําเร็จ (Milestone) ในการปฏิบตั ิงาน โดยแบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็ น 5
ระดับ พิจารณาจากความก้าวหน้าของขัน้ ตอนการดําเนินงานตามเป้ าหมายแต่ละระดับ ดังนี้

ระดับขัน้ ของความสําเร็จ (Milestone)


ระดับคะแนน
ขัน้ ตอนที่ 1 ขัน้ ตอนที่ 2 ขัน้ ตอนที่ 3 ขัน้ ตอนที่ 4 ขัน้ ตอนที่ 5
1 
2  
3   
4    
5     

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

44
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.6 ระดับความสําเร็จของประชาชนกลุม่ เป้ าหมายมีความรูท้ ่ถี ูกต้องในการดูแลสุขภาพ (ต่อ)

โดยมีขนั้ ตอนการดําเนินงาน 5 ขัน้ ตอนดังนี้


ขัน้ ตอน รายละเอียดการดําเนิ นการ
1 ระบุประชาชนกลุม่ เป้ าหมาย พร้อมระบุเหตุผลในการเลือก
จัดทําแผนปฏิบตั ิ / มาตรการเพื่อถ่ายทอดความรูใ้ ห้ประชาชนกลุม่ เป้ าหมายม
2
มีความรู ้ ในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง
ดําเนินการตามแผนฯ ได้แล ้วเสร็จครบถ้วน ร้อยละ 100 พร้อมทัง้ จัดทําสรุปรายงานผลการ
3
ดําเนินงาน รามถึงปัจจัยสนับสนุน ปัญหาและอุปสรรค
ประชาชนกลุม่ เป้ าหมายมีความพึงพอใจต่อความรู ้ ที่ได้รบั จากการถ่ายทอด ร้อยละ 85 พร้อมจัดทํา
4
รายงานสรุป พร้อมระบุถงึ ข ้อเสนอแนะที่ได้รบั จากกลุม่ เป้ าหมาย
ประชาชนกลุม่ เป้ าหมาย สามารถนําความรูท้ ่ไี ด้รบั จากการถ่ายทอดไปปฏิบตั ิเพื่อการดูแลสุขภาพที่
5
ถูกต้อง ระหว่างร้อยละ 70 - 90

หมายเหตุ :ในขัน้ ตอนที่ 4 และขัน้ ตอนที่ 5 มีสูตรการคํานวณและเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

1. ขัน้ ตอนที่ 4 : ประชาชนกลุม่ เป้ าหมาย มีความพึงพอใจต่อความรูท้ ่ไี ด้รบั จากการถ่ายทอด ร้อยละ 85 โดย
ใช้เกณฑ์ความพึงพอใจที่ระดับมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 ซึ่งมีสูตรการคํานวณและเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

1.1. สูตรการคํานวณ

จํานวนประชาชนกลุม่ เป้ าหมายมีความพึงพอใจต่อความรู ้ ที่ได้รบั จากการถ่ายทอด x 100


จํานวนประชาชนกลุม่ เป้ าหมายที่เป็ นกลุม่ ตัวอย่าง

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

45
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.6 ระดับความสําเร็จของประชาชนกลุม่ เป้ าหมายมีความรูท้ ่ถี ูกต้องในการดูแลสุขภาพ (ต่อ)

1.2. เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- 0.20 โดยกําหนดเกณฑ์การการให้คะแนน ดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนนของผลสําเร็จเทียบกับเป้ าหมาย
ระดับคะแนน
(ร้อยละ)
0.20 65
0.40 70
0.60 75
0.80 80
1.00 85

2. ขัน้ ตอนที่ 5 : ประชาชนกลุม่ เป้ าหมาย สามารถนําความรูท้ ่ไี ด้รบั จากการถ่ายทอดไปปฏิบตั ิเพื่อการดูแล
สุขภาพที่ถูกต้อง ในขัน้ ตอนนี้ ผลงานจะต้องได้ ร้อยละ 71 ขึ้นไปจึงจะได้คะแนนในช่วง 1 คะแนน คํานวณโดยวิธี
เทียบบัญญัติไตรยางศ์ ดังนี้
การคิดคะแนน ช่วงคะแนนของขัน้ ตอนที่ 5 ตัง้ แต่ 71 – 90 เท่ากับ 20 ซึ่งเท่ากับ 1 คะแนน
เช่น
- ผลงาน = ร้อยละ 80
- เทียบช่วงคะแนนได้ = 10 ใน 20
ดังนั้น จะได้คะแนนในขัน้ ตอนนี้ เท่ากับ ช่วงคะแนน 20 = 1 คะแนน
ผลงาน 10 = 1 x 10 = 0.50
20
สรุป หากผลงานได้รอ้ ยละ 80 จะได้คะแนน ในขัน้ ตอนนีเ้ ท่ากับ 0.50 คะแนน

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

46
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.6 ระดับความสําเร็จของประชาชนกลุม่ เป้ าหมายมีความรูท้ ่ถี ูกต้องในการดูแลสุขภาพ (ต่อ)
เงื่อนไข : -
รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ปี งบประมาณ พ.ศ.
กลุ่มเป้ าหมาย
2548 2549 2550
ประชาชนกลุม่ เป้ าหมายที่เป็ นกลุม่ ตัวอย่าง 8,800 6,018 5,979
ประชาชนกลุม่ เป้ าหมายมีความรูท้ ่ถี ูกต้องเพื่อการดูแลสุขภาพ 5,555 5,501 -
ประชาชนกลุม่ เป้ าหมายมีการปฏิบตั ิเพื่อการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง - - 4,461
คิดเป็ นร้อยละ 63.13 91.40 74.60
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
แหล่งข้อมูล : กองสุขศึกษา กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. รายงานสรุปผลการดําเนินงานตามแผนฯ โดยการ เก็บรวบรวมจากการติดตามผลการดําเนินงาน
ตามแผนการติดตามของกองสุขศึกษา ทุกเดือน
2. รายงานสรุปผลความพึงพอใจต่อความรูท้ ่กี ลุม่ เป้ าหมายได้รบั จากการถ่ายทอดความความรู ้ และ
ผลสรุปประชาชนกลุม่ เป้ าหมายสามารถนําความรูท้ ่ถี ูกต้องที่ได้รบั จากการถ่ายทอดไปปฏิบตั ิในการดูแลสุขภาพ โดย
การเก็บรวบรวม และประเมินผลกลุม่ ตัวอย่างในพื้นที่เป้ าหมาย ปี ละ 1 ครัง้

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

47
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นางเพ็ญศรี เกิดนาค เบอร์ติดต่อ 0 2590 1661 ,089-8973607


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางชลธิรา ซึ้งจิตตวิสุทธิ์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1619,089-4884383
2. นางวิมลศรี อุทยั พัฒนาชีพ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1623 ,083-7787386
3. นางพิณญาดา อําภัยฤทธิ์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 2687 , 083 -7165819
มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.7 ระดับความสําเร็จในการจัดทําระบบรายงาน ระบบติดตาม และเฝ้ าระวังปัญหายาเสพติด (บสต.)
หน่ วยวัด : ระดับความสําเร็จ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 3
คําอธิบาย :
ระบบรายงาน ระบบติดตาม และเฝ้ าระวังปัญหายาเสพติด (บสต.) หมายถึงระบบการรายงานข ้อมูลของ
ผูป้ ่ วยที่เข ้าบําบัดยาเสพติด และผลการติดตามผูป้ ่ วยภายหลังจากการบําบัดรักษา ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
สถานบริการ หมายถึงหน่วยงานที่ให้บริการบําบัดรักษาฟื้ นฟูสมรรถภาพผูป้ ่ วยยาเสพติด และ/หรือ ติดตาม
ภายหลังบําบัดรักษา

เกณฑ์การให้คะแนน :
กําหนดเป็ นระดับขัน้ ของความสําเร็จ (Milestone) ในการปฏิบตั ิงาน โดยแบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็ น 5
ระดับ พิจารณาจากความก้าวหน้าของขัน้ ตอนการดําเนินงานตามเป้ าหมายแต่ละระดับ ดังนี้

ระดับขัน้ ของความสําเร็จ (Milestone)


ระดับคะแนน
ขัน้ ตอนที่ 1 ขัน้ ตอนที่ 2 ขัน้ ตอนที่ 3 ขัน้ ตอนที่ 4 ขัน้ ตอนที่ 5
1 
2  
3   
4    
5     

โดยพิจารณาตามระดับความสําเร็จของการจัดทําระบบรายงาน ระบบติดตาม และเฝ้ าระวังปัญหายา


เสพติด (บสต.) ในแต่ละระดับ ดังนี้

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

48
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.7 ระดับความสําเร็จในการจัดทําระบบรายงาน ระบบติดตาม และเฝ้ าระวังปัญหายาเสพติด (บสต.) (ต่อ)

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
สรุปทบทวนผลการนําข ้อมูลผูบ้ าํ บัดรักษาพยาบาลยาเสพติดเข ้าสู่ระบบรายงาน
ระบบติดตาม และเฝ้ าระวังปัญหายาเสพติดของสถานบริการ โดยระบุปญั หา
ระดับ 1 อุปสรรค และข ้อเสนอแนะที่ได้จากการรับฟังความคิดเห็นของสถานบริการ พร้อม
เสนอแนวทางการแก้ไขหรือปรับปรุงระบบดังกล่าวฯ

จัดทําแผนปฏิบตั ิการในการจัดทําระบบรายงาน ระบบติดตาม และเฝ้ าระวังปัญหายาเสพติด


ระดับ 2
(บสต.)ได้แล ้วเสร็จ
ดําเนินการตามแผนปฏิบตั ิการ และสามารถจัดทําระบบรายงาน ระบบติดตามและเฝ้ าระวัง
ระดับ 3
ปัญหายาเสพติด (บสต.)ได้แล ้วเสร็จ
จัดประชุมชี้แจงระบบรายงาน ระบบติดตาม และเฝ้ าระวังปัญหายาเสพติด(บสต.) ที่ได้
ระดับ 4
ดําเนินการแล ้วเสร็จให้กบั หน่วยงานที่เกี่ยวข ้องทัง้ หมด เพื่อทดลองดําเนินงานจริง
สรุปผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการฯ และผลของการทดลองใช้ระบบฯ
ระดับ 5 ดังกล่าวของหน่วยงานที่เกี่ยวข ้อง โดยระบุปจั จัยสนับสนุ น ปัญหา อุปสรรค ข ้อเสนอแนะ ที่
ได้จากหน่วยงานที่เกี่ยวข ้อง

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ข้อมูลพื้นฐานในปี งบประมาณ
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั
หน่ วยวัด พ.ศ.
(Baseline Data)
2548 2549 2550
ระดับความสําเร็จในการจัดทําระบบรายงาน ระบบติดตาม
ระดับ - - -
และเฝ้ าระวังปัญหายาเสพติด (บสต.)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

49
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 3.7 ระดับความสําเร็จในการจัดทําระบบรายงาน ระบบติดตาม และเฝ้ าระวังปัญหายาเสพติด (บสต.) (ต่อ)

วิธีการจัดเก็บข้อมูล : รวบรวมจากข ้อมูลที่เกี่ยวข ้องกับการดําเนินงานของกลุม่ พัฒนาระบบงานยาเสพติด


สํานักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายชาญวิทย์ ทระเทพ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1761 , 089-6092250

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

50
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1.นายจารุวฒั น์ บุษราคัมรุหะ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 2457 , 089-5250075


2.นางจริยา ผุดผ่อง เบอร์ติดต่อ : 0 2590 2457 , 081-5819734
3.นางมลิวลั ย์ ตรังคชสาร เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1742 , 089-0770385

มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


KPI Template
ตารางและสูตรการคํานวณ ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักตามแผนปฏิบตั ิราชการ/ตัวชี้วดั ตามภารกิจ
หลักของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จํานวน 6 ตัวชี้วดั (นํา้ หนักร้อยละ 15) ดังนี้

นํา้ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ คะแนนเฉลีย่ ถ่วง


เป้ าหมายตัวชี้วดั ของ คะแนนทีไ่ ด้
หนัก ของผลสําเร็จตามเป้ าหมายของตัวชี้วดั นํา้ หนัก
กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ (i) (SMi)
(Wi) 1 2 3 4 5 (Wi x SMi)
ตัวชี้วดั ที่ 3.2 ร้อยละของสถานบริการสุขภาพภาคเอกชนได้
0.20 92 94 96 98 100 (SM1) (W1 x SM1)
คุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ทกี่ ฎหมายกําหนด
ตัวชี้วดั ที่ 3.3 ร้อยละของสถานประกอบการธุรกิจบริการ
0.13 94 95.5 97 98.5 100 (SM 2) (W2 x SM 2)
สุขภาพทีไ่ ด้รบั การตรวจมาตรฐาน
ตัวชี้วดั ที่ 3.4 ร้อยละของสถานประกอบการธุรกิจบริการ
0.13 87 90 93 96 99 (SM 3) (W3 x SM 3)
สุขภาพได้คุณภาพตามมาตรฐานทีก่ าํ หนด
ตัวชี้วดั ที่ 3.5 ร้อยละของผูบ้ ริโภครับรูส้ ทิ ธิประโยชน์การ ร้อย ร้อย ร้อย ร้อย ร้อย
คุม้ ครองด้านบริการสุขภาพ 0.13 ละ ละ ละ ละ ละ (SM 4) (W4 x SM 4)
60 65 70 80 85
ตัวชี้วดั ที่ 3.6 ระดับความสําเร็จของประชาชนกลุ่มเป้ าหมาย ขัน้ ขัน้ ขัน้ ขัน้ ขัน้
มีความรูท้ ถี่ ูกต้องในการดูแลสุขภาพ 0.20 ตอน ตอน ตอน ตอน ตอน (SM 5) (W5 x SM 5)
ที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 ที่ 5
ตัวชี้วดั ที่ 3.7 ระดับความสําเร็จในการจัดทําระบบรายงาน ขัน้ ขัน้ ขัน้ ขัน้ ขัน้
ระบบติดตาม และเฝ้ าระวังปัญหายาเสพติด (บสต.) 0.20 ตอน ตอน ตอน ตอน ตอน (SM 6) (W6 x SM 6)
ที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 ที่ 5
Σ ผลรวม
นํ้ าหนักรวม
Wi=1.00 (Wi x SM i)
ผลรวมคะแนนเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนัก เท่ากับ

Σ (Wi x SM i) หรือ (W1 x SM 1) + (W2 x SM 2) + ... + (Wi x SM i)


Σ Wi W1 + W2 + W3 +...+ Wi

โดยที่ :

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

51
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

W หมายถึง นํา้ หนักความสําคัญที่ให้กบั ตัวชี้วดั ที่กาํ หนดขึ้นจากแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการ


สุขภาพ และผลรวมของนํา้ หนักของทุกตัวชี้วดั เท่ากับ 1
SM หมายถึง คะแนนที่ได้จากการเทียบกับร้อยละของตัวชี้วดั
i หมายถึง ลําดับที่ของตัวชี้วดั ที่กาํ หนดขึ้นตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ; 1, 2,…i
มิติท่ี 1 มิติดา้ นประสิทธิผลตามแผนปฏิบตั ิราชการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
KPI Template

เกณฑ์การให้คะแนน :
+/- 1 ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 Σ (Wi x SMi) = 1
2 Σ (Wi x SMi) = 2
3 Σ (Wi x SMi) = 3
4 Σ (Wi x SMi) = 4
5 Σ (Wi x SMi) = 5

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

52
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ประเด็นการประเมินผล : การเสริมสร้างธรรมาภิบาล
ตัวชี้วดั ที่ 4 ระดับความสําเร็จในการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนเข ้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม
ตรวจสอบผลการปฏิบตั ิราชการ
หน่ วยวัด ระดับความสําเร็จ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 6
คําอธิบาย :
พิจารณาจาก กระบวนการบริหารราชการและการปฏิบตั ิราชการของส่วนราชการ เพื่อกระตุน้ การปรับ
ระบบราชการสู่การบริหารราชการที่เปิ ดเผย โปร่งใส เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน และพัฒนาระบบราชการเพื่อ
ตอบสนองความต้องการของประชาชน และเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
การมีสว่ นร่วมของประชาชน หมายถึง กระบวนการที่ประชาชนและผูท้ ่เี กี่ยวข ้องมีโอกาสได้ เข ้าร่วมใน
การรับรู ้ เรียนรู ้ ทําความเข ้าใจ ร่วมแสดงทัศนะ ร่วมเสนอปัญหา/ประเด็นที่สาํ คัญที่เกี่ยวข ้อง ร่วมคิดแนวทาง
ร่วมการแก้ไขปัญหา ร่วมในกระบวนการตัดสินใจ และร่วมกระบวนการพัฒนาในฐานะหุน้ ส่วนการพัฒนา

เกณฑ์การให้คะแนน :
กําหนดเป็ นระดับขัน้ ของความสําเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็ น 5 ระดับ พิจารณา
จากความก้าวหน้าของขัน้ ตอนการดําเนินงานตามเป้ าหมายแต่ละระดับ ดังนี้

ระดับขัน้ ของความสําเร็จ (Milestone)


ระดับคะแนน
ขัน้ ตอนที่ 1 ขัน้ ตอนที่ 2 ขัน้ ตอนที่ 3 ขัน้ ตอนที่ 4 ขัน้ ตอนที่ 5
1 
2  
3   
4    

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

53
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

5     

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 4 ระดับความสําเร็จในการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนเข ้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม
ตรวจสอบผลการปฏิบตั ิราชการ (ต่อ)
โดยที่ :
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1  ส่วนราชการมีการวิเคราะห์ภารกิจหลักหรือยุทธศาสตร์ท่สี าํ คัญและเหมาะสม ในการเปิ ด
โอกาสให้ประชาชนเข ้ามามีส่วนร่วม
 ส่วนราชการมีการแต่งตัง้ คณะทํางานภาคประชาชน โดยเป็ นคณะทํางานร่วมระหว่างภาครัฐ
และภาคส่วนต่าง ๆ
 ส่วนราชการกับคณะทํางานภาคประชาชนมีการปรึกษาหารือ เพื่อเลือกประเด็นการพัฒนา
ระบบราชการ/ผลการปฏิบตั ิราชการ/การพัฒนาบริการสาธารณะที่เห็นว่าเหมาะสมที่จะนํามา
ดําเนินการในปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 โดยประเด็นการพัฒนาระบบราชการ/ผลการปฏิบตั ิ
ราชการ/การพัฒนาบริการสาธารณะที่เลือกต้องเป็ นประเด็นที่เกี่ยวข ้องกับภารกิจหลัก
(Core Function)ของส่วนราชการหรือเป็ นเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรงและต้อง
มีฉนั ทามติหรือมีการยอมรับร่วมกัน ในการเลือก
2  ส่วนราชการมีช่องทาง/กระบวนการการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผูท้ ่เี กี่ยวข ้อง
จากภาคส่วนต่างๆเพื่อนําความคิดเห็นและข ้อเสนอแนะที่ได้ มาประกอบการจัดทําแผนงาน/
โครงการตามประเด็นที่เลือก
 ส่วนราชการกับคณะทํางานภาคประชาชนร่วมกัน จัดทําแผนงาน/โครงการ แบบมีส่วนร่วม
ตามประเด็นฯ ที่เลือก โดย เป็ นแผนระยะสัน้ หรือระยะยาว ซึ่งต้องระบุกิจกรรมการ
ดําเนินงาน โดยให้ผูท้ ่เี กี่ยวข ้องจากภาคส่วนต่างๆ (ในประเด็นที่เลือก) เข ้ามามีส่วนร่วม มี
วัตถุประสงค์ ระยะเวลาดําเนินการ เป้ าหมาย/ผลสําเร็จ ตัวชี้วดั วิธีการดําเนินการ วิธีการ
วัดผล ระบบหรือวิธีการจัดเก็บข ้อมูล และวิธีการติดตามประเมินผล งบประมาณ และ
ผูร้ บั ผิดชอบไว้อย่างชัดเจน

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

54
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
3  ส่วนราชการและคณะทํางานภาคประชาชนร่วมกันดําเนินการตามแผนงาน/โครงการแบบมี
ส่วนร่วมฯ ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 ได้แล ้วเสร็จครบถ้วน โดยมีการติดตาม
ความก้าวหน้าของการดําเนินการตามแผนฯร่วมกัน ตามวิธีการที่กาํ หนดไว้ในแผนงาน/
โครงการแบบมีส่วนร่วมฯพร้อมทัง้ จัดทํารายงานสรุปผลการติดตามความก้าวหน้าเสนอต่อ
ผูบ้ ริหารของ ส่วนราชการอย่างสมํา่ เสมอ (รายเดือน/รายไตรมาส)

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 4 ระดับความสําเร็จในการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนเข ้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม
ตรวจสอบผลการปฏิบตั ิราชการ (ต่อ)

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
4  จัดทํารายงานสรุปผล การดําเนินการตามแผนงาน/โครงการแบบมีส่วนร่วมฯได้แล ้วเสร็จ
โดยระบุปจั จัยสนับสนุ น ปัญหา อุปสรรค และข ้อเสนอแนะสําหรับการดําเนินการในปี ต่อไป
ได้อย่างครบถ้วน
 เผยแพร่รายงานสรุปผลการดําเนิดันงการกล่าวให้ประชาชน ผูท้ ่เี กี่ยวข ้องจากทุกภาคส่วน ได้ร ั
โดยผ่านกระบวนการหรือกลไกที่ส่วนราชการจัดให้มขี ้นึ ได้อย่างเป็ นรู ปธรรม
5  นําข ้อมูลที่ได้จากสรุปผลการดําเนินงานฯ ในระดับคะแนนที่ 4 ไป กําหนดแนวทางหรือ
แผนงาน/โครงการแบบมีส่วนร่วมสําหรับปี งบประมาณ พ.ศ. 2552

แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. กําหนดให้กลุม่ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมรวบรวม และจัดเก็บข ้อมูลเป็ นรายเดือน
2. จัดทํารายงานตามแบบรายงานการประเมินตนเองSAR ( Report) ทุก 3 เดือน

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

55
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายธงชัย สาระกูล เบอร์ติดต่อ 0 2590 1531


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางรุจยา ชัชวาลยางกูร เบอร์ติดต่อ 0 2590 1545
2. นางพวงเพชร เฉิดฉันท์พพิ ฒั น์ เบอร์ติดต่อ 0 2590 1545
3. นางชัญญาภัค บุณยรัตนิน เบอร์ติดต่อ 0 2590 1545
มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 5 ระดับความสําเร็จในการเปิ ดเผยข ้อมูลข่าวสารของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
หน่ วยวัด : ระดับความสําเร็จ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 3
คําอธิบาย :
• ความสําเร็จของการดําเนินการเกี่ยวกับการเปิ ดเผยข ้อมูลข่าวสารของราชการ โดย กรมสนับสนุ น
บริการสุขภาพต้องดําเนินการให้เป็ นไปตาม พ.ร.บ.ข ้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 และมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่
28 ธันวาคม พ.ศ. 2547 เกี่ยวกับการเปิ ดเผยข ้อมูลเกี่ยวกับประกาศประกวดราคา ประกาศสอบราคา และสรุปผลการ
จัดซื้อจัดจ้างของส่วนราชการ และการกําหนดมาตรการให้ทุกหน่วยงานของรัฐ ให้บริการข ้อมูลข่าวสารต่าง ๆ แก่
ประชาชนด้วยความรวดเร็ว ซึ่งพิจารณาจากความก้าวหน้าของการดําเนินงานตามเป้ าหมาย ที่กาํ หนดไว้ในแต่ละระดับ

เกณฑ์การให้คะแนน :
กําหนดเป็ นระดับขัน้ ของความสําเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์ตามเป้ าหมายแต่ละระดับ ดังนี้

ระดับขัน้ ของความสําเร็จ (Milestone)


ระดับคะแนน ขัน้ ตอน ขัน้ ตอน ขัน้ ตอน ขัน้ ตอน ขัน้ ตอน
ที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 ที่ 5
1 
2  
3   
4    

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

56
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

5     

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 5 ระดับความสําเร็จในการเปิ ดเผยข ้อมูลข่าวสารของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ (ต่อ)
โดยที่ :
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 ดําเนินการตามพระราชบัญญัตขิ อ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ดังนี้
 จัดสถานที/่ จัดตัง้ ศู นย์ขอ้ มูลข่าวสารของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ สําหรับให้บริการข้อมูลข่าวสารตาม
มาตรา 9 เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าตรวจสอบ ข้อมูลข่าวสารได้โดยสะดวก
 มีเจ้าหน้าที่รบั ผิดชอบประจําศู นย์ขอ้ มูลข่าวสารหรือปฏิบตั หิ น้าที่เกี่ยวกับการให้บริการข้อมูลข่าวสารของส่วน
ราชการเป็ นการเฉพาะ
 มีป้ายบอกถึงที่ตงั้ ของสถานที่หรือศู นย์ขอ้ มูลข่าวสารที่กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพจัดไวส้ าํ หรับการให้บริการ
ข้อมูลข่าวสาร ที่เข้าใจได้งา่ ยและมองเห็นได้ชดั เจน
2 จัดระบบข้อมูลข่าวสารตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
มาตรา 9 ดังนี้
 มีขอ้ มูลข่าวสารตามมาตรา 9 ครบถ ้วน และเป็ นปัจจุบนั
 จัดทําดัชนีขอ้ มูลข่าวสารไวใ้ ห้บริการ ณ ศู นย์ขอ้ มูลข่าวสารอย่างชัดเจนและสามารถสืบค้นได้สะดวก รวดเร็ว
3 บริหารจัดการเกี่ยวกับการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารอย่างเป็ นระบบ โดยดําเนินการ ดังนี้
 มอบหมายให้ผูบ้ ริหารระดับรองหัวหน้าส่วนราชการรับผิดชอบในการปฏิบตั งิ านตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร
ของราชการเป็ นการเฉพาะ
 ผูบ้ ริหารของส่วนราชการให้ความสําคัญและควบคุมดูแลให้มกี ารปฏิบตั ิ ตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของ
ราชการอย่างเคร่งครัด เช่น มีการประชุมเพื่อซักซ้อมความเข้าใจในการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย เป็ นต้น
 จัดเก็บสถิตแิ ละสรุปผลการมาใช้บริการ ณ ศู นย์ขอ้ มูลข่าวสารของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ รายงานให้
ผูบ้ ริหารของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพทราบอย่างสมํา่ เสมอ (รายเดือนหรือรายไตรมาส)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

57
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
 มีการปฏิบตั ติ ามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ในการให้บริการข้อมูลข่าวสารแก่
ประชาชนด้วยความรวดเร็ว โดยมีเรื่องที่สามารถตอบสนองหรือให้บริการข้อมูลข่าวสารได้ภายในกําหนดร้อย
ละ 100

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 5 ระดับความสําเร็จในการเปิ ดเผยข ้อมูลข่าวสารของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ (ต่อ)

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
4 เผยแพร่ความรู ค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิการรับรู ข้ อ้ มูลข่าวสารให้บคุ ลากรใน กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
และประชาชนทราบ ดังนี้
 จัดอบรม ให้ความรู ้ และกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการพัฒนาความรู ค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายข้อมูลข่าวสาร
และการปฏิบตั หิ น้าที่ในการให้บริการข้อมูลข่าวสารตามบทบัญญัตขิ องกฎหมายให้แก่บคุ ลากรของกรม
สนับสนุ นบริการสุขภาพอย่างทัว่ ถึงและสมํา่ เสมอไม่นอ้ ยกว่า 3 ชัว่ โมง
 ประชาสัมพันธ์เผยแพร่เกี่ยวกับผลการปฏิบตั ติ ามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการโดยเฉพาะการจัดตัง้
ศู นย์ขอ้ มูลตามมาตรา 9 ให้ประชาชนรับทราบผ่านช่องทางต่าง ๆ อย่างน้อย 5 ช่องทางโดย 1 ใน 5 ช่องทาง
จะต้องเป็ น การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
 รับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่เกี่ยวกับการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารผ่านทางช่องทางต่าง ๆ และมีการนํา
ความคิดเห็นของประชาชนมาพิจารณาประกอบการบริหารจัดการด้านการเปิ ดเผยหรือให้บริการข้อมูลข่าวสา
5  เผยแพร่ขอ้ มูลเกี่ยวกับการประกวดราคา ประกาศสอบราคาที่หวั หน้า ส่วนราชการลงนามแล ้วบนเว็บไซต์
ของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
 จัดทําสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างเป็ นรายเดือน และเผยแพร่บนเว็บไซต์ของ กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพทุก
เดือน

หมายเหตุ :

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

58
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

1. ให้ส่วน ราชการ ส่วนกลางรับผิดชอบการปฏิบตั ิตาม พ.ร.บ. เปิ ดเผยข ้อมูลข่าวสารของราชการ


หน่วยงานในสังกัดที่ตงั้ อยู ่ในส่วนกลางและส่วนราชการส่วนกลางที่ปฏิบตั ิราชการหรือมีสาํ นักงานตัง้ อยู่ในส่วนภูมภิ าคที่
ผูบ้ งั คับบัญชาของส่วนราชการไม่ได้มอบอํานาจให้แก่ผูว้ ่าราชการจังหวัด
2. มาตรา 9 แห่ง พ.ร.บ. ข ้อมูลข่าวสารของราชการ บัญญัติไว้ดงั นี้
มาตรา 9 ภายใต้บงั คับมาตรา 14 และมาตรา 15 หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มขี ้อมูลข่าวสารของราชการอย่างน้อย
ดังต่อไปนี้ไว้ให้ประชาชนเข ้าตรวจดูได้ ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกําหนด
(1) ผลการพิจารณาหรือคําวินิจฉัยที่มผี ลโดยตรงต่อเอกชน รวมทัง้ ความเห็นแย้งและคําสัง่ ที่เกี่ยวข ้องในการ
พิจารณาวินิจฉัยดังกล่าว
(2) นโยบายหรือการตีความที่ไม่เข ้าข่ายต้องลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ตามมาตรา 7 (4)
(3) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ายประจําปี ของปี ท่กี าํ ลังดําเนินการ
มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 5 ระดับความสําเร็จในการเปิ ดเผยข ้อมูลข่าวสารของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ (ต่อ)

(4) คู่มอื หรือคําสัง่ เกี่ยวกับวิธีปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหน้าที่ของเอกชน


(5) สิ่งพิมพ์ท่ไี ด้มกี ารอ้างอิงถึงตามมาตรา 7 วรรคสอง
(6) สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มลี กั ษณะเป็ นการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญาร่วมทุนกับเอกชนในการจัดทําบริการ
สาธารณะ
(7) มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการที่แต่งตัง้ โดยกฎหมาย หรือโดยมติคณะรัฐมนตรี ทัง้ นี้ให้ระบุ
รายชื่อรายงานทางวิชาการ รายงานข ้อเท็จจริง หรือข ้อมูลข่าวสารที่นาํ มาใช้ในการพิจารณาไว้ดว้ ย
(8) ข ้อมูลข่าวสารอื่นตามที่คณะกรรมการกําหนด
ข ้อมูลข่าวสารที่จดั ให้ประชาชนเข ้าตรวจดูได้ตามวรรคหนึ่ง ถ้ามีส่วนที่ตอ้ งห้ามมิให้เปิ ดเผยตามมาตรา 14 หรือ
มาตรา 15 อยู ่ดว้ ย ให้ลบหรือตัดทอนหรือทําโดยประการอื่นใดที่ไม่เป็ นการเปิ ดเผยข ้อมูลข่าวสารนัน้
บุคคลไม่ว่าจะมีส่วนได้เสียเกี่ยวข ้องหรือไม่ก็ตาม ย่อมมีสทิ ธิเข ้าตรวจดู ขอสําเนาหรือขอสําเนาที่มี
คํารับรองถูกต้องของข ้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งได้ ในกรณีท่สี มควรหน่วยงานของรัฐโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการ จะวางหลักเกณฑ์เรียกค่าธรรมเนียมในการนัน้ ก็ได้ ในการนี้ให้คาํ นึงถึงการช่วยเหลือผูม้ รี ายได้นอ้ ย
ประกอบด้วย ทัง้ นี้ เว้นแต่จะมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติไว้เป็ นอย่างอื่น
คนต่างด้าวจะมีสทิ ธิตามมาตรานี้เพียงใดให้เป็ นไปตามที่กาํ หนดโดยกฎกระทรวง
3. มติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2547 เกี่ยวกับการกําหนดมาตรการให้ทุกหน่วยงานของ
รัฐ ให้บริการข ้อมูลข่าวสารต่าง ๆ แก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว โดยต้องถือปฏิบตั ิเมือ่ ประชาชนขอข ้อมูลข่าวสาร ดังนี้

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

59
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

3.1 กรณี ท่ปี ระชาชนขอข ้อมูลข่าวสารจากหน่วยงานของรัฐ และข ้อมูลข่าวสารนัน้ หน่วยงานของรัฐมี


ข ้อมูลข่าวสารพร้อมที่จะจัดหาให้ได้ จะต้องดําเนินการให้แล ้วเสร็จโดยเร็วหรือภายในวันที่รบั คําขอ
3.2 ในกรณี ท่ขี ้อมูลข่าวสารที่ขอมีเป็ นจํานวนมาก หรือไม่สามารถดําเนินการให้แล ้วเสร็จภายใน 15
วัน จะต้องแจ้งให้ผูข้ อข ้อมูลทราบภายใน 15 วัน รวมทัง้ แจ้งกําหนดวันที่จะดําเนินการแล ้วเสร็จให้ผูข้ อข ้อมูลทราบ
ด้วย
3.3 ในกรณีท่หี น่วยงานของรัฐจะไม่เปิ ดเผยข ้อมูลข่าวสารตามคําขอ จะต้องแจ้งคําสัง่ มิให้เปิ ดเผย
ข ้อมูลข่าวสารพร้อมเหตุผลให้ผูข้ อข ้อมูลทราบภายใน 15 วันนับจากวันที่ได้รบั คําขอ

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 5 ระดับความสําเร็จในการเปิ ดเผยข ้อมูลข่าวสารของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ (ต่อ)

4. ส่วนราชการสามารถดาวน์โหลด พ.ร.บ.ข ้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ได้จากเว็บไซต์


www.oic.go.th ของสํานักงานคณะกรรมการข ้อมูลข่าวสารของราชการ
5. ส่วนราชการสามารถขอคําปรึกษาเกี่ยวกับการเปิ ดเผยข ้อมูลข่าวสารของราชการจากสํานักงาน
คณะกรรมการข ้อมูลข่าวสารของราชการ (สขร.) สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีได้

ข้อมูลพื้นฐาน :

ข้อมูลพื้นฐานในปี งบประมาณ
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั
หน่ วยวัด พ.ศ.
( Baseline Data )
2548 2549 2550
ระดับความสําเร็จในการเปิ ดเผยข ้อมูล
ระดับ
ข่าวสารของราชการ - - ระดับ 5
ความสําเร็จ

วิธีการจัดเก็บข้อมูล : - รวบรวมจากหน้าWebsite กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ


- ความถี่ทุกเดือน

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

60
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

แหล่งข้อมูล :
1 สํานักบริหาร กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
2. Website กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (http://www.hss.moph.go.th)

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายจํานงค์ อิ่มสมบูรณ์ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1656


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางสาววิภาวี ทองแก้ว เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1644
2. นางนงลักษณ์ นันทวนิช เบอร์ติดต่อ : 0 2590 2832
3. นางชัญญา แสงเพ็ชร เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1681
มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 6 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต
หน่ วยวัด : ระดับความสําเร็จ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 6
คําอธิบาย :
• ความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต โดยพิจารณาความ
ครบถ้วนของการดําเนินการใน 3 ประเด็น ได้แก่
1. การกําหนดหลักเกณฑ์ ระเบียบ หรือแนวทาง ที่ชดั เจนในการป้ องกันการทุจริต รวมทัง้ เพื่อการ
ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในการปฏิบตั ิราชการ
2. การจัดทําข ้อมูลเรื่องกล่าวหา/ข ้อร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตหรือการปฏิบตั ิหรือละเว้น การ
ปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐและข ้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง
3. การดําเนินการอย่างเคร่งครัดเมือ่ มีการกล่าวหาว่ามีการกระทําผิดในปี งบประมาณ พ.ศ. 2551

ประเด็นที่ 1 : การกําหนดหลักเกณฑ์ ระเบียบ หรือแนวทาง ที่ชดั เจนในการป้ องกันการทุจริต รวมทัง้ เพื่อการ


ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในการปฏิบตั ิราชการ
ตัวชี้วดั ที่ 6.1 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการ/แผนปฏิบตั ิการป้ องกันการทุจริต การส่งเสริม
คุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 3
คําอธิบาย :

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

61
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

• พิจารณาจากระดับขัน้ ของความสําเร็จในการดําเนินการตามมาตรการ/แผนปฏิบตั ิการป้ องกันการ


ทุจริต การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ปี งบประมาณ พ.ศ. 2551

เกณฑ์การให้คะแนน :
กําหนดเป็ นระดับขัน้ ของความสําเร็จ ( Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็ น 5 ระดับ พิจารณาจาก
ความก้าวหน้าของขัน้ ตอนการดําเนินงานตามมาตรการ/แผนปฏิบตั ิการป้ องกันการทุจริต การส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรมและธรรมาภิบาล ปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 ตามเป้ าหมายแต่ละระดับดังนี้

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 6 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต (ต่อ)

ระดับขัน้ ของความสําเร็จ (Milestone)


ระดับคะแนน
ขัน้ ตอนที่ 1 ขัน้ ตอนที่ 2 ขัน้ ตอนที่ 3 ขัน้ ตอนที่ 4 ขัน้ ตอนที่ 5
1 
2  
3   
4    
5     

โดยที่ :
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1  ทบทวนผลการดําเนินงานตามมาตรการ/แผนปฏิบตั กิ ารป้ องกันและปราบปราม การทุจริตที่ได้ดาํ เนินการ
ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2550
 วิเคราะห์ความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริต การปฏิบตั แิ ละ/หรือละเวน้ การปฏิบตั หิ น้าที่โดยมิ
ชอบในการปฏิบตั ริ าชการ
 สรุปข้อมูลที่ได้จากระบบการรับฟังข้อร้องเรียนของส่วนราชการหรือที่มกี ารร้องเรียนผ่านศู นย์ดาํ รงธรรม
กระทรวงมหาดไทย หรือศู นย์บริการประชาชน สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

62
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
 ศึกษา วิเคราะห์เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยเสี่ยงที่อาจเป็ นเหตุทาํ ให้การปฏิบตั ริ าชการตามอํานาจหน้าที่ของ
ข้าราชการเป็ นไปในลักษณะที่ขาดหรือมีความรับผิดชอบไม่เพียงพอ การปฏิบตั หิ น้าที่ไปในทางที่ทาํ ให้
ประชาชนขาดความเชื่อถือในความมีคุณธรรม ความมีจริยธรรม การคํานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า
ประโยชน์ส่วนตนและการ ยึดมัน่ ในหลักธรรมาภิบาล
2  นําข้อมูลที่ได้จากขัน้ ตอนที่ 1 มาใช้ประกอบการจัดทําแนวทาง/มาตรการ/แผนงาน/โครงการหรือแผนปฏิบตั ิ
การป้ องกันการทุจริต การเสริมสร้างให้เจ้าหน้าที่ของรัฐได้ปฏิบตั หิ น้าที่ราชการด้วยความรับผิดชอบต่อ
ประชาชน มีคุณธรรม จริยธรรม การคํานึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็ นที่ตงั้ และมีธรรมาภิบาล
ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 ให้แล ้วเสร็จ โดยต้องคํานึงถึงระดับความรุนแรงและโอกาสของความเสี่ยง
รวมทัง้ การมีส่วนร่วมของภาครัฐและเครือข่ายภาคประชาชน และในมาตรการ/แผนปฏิบตั กิ าร จะต้องระบุถงึ

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 6 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต(ต่อ)

ระดับ
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน
- การกําหนดหรือปรับปรุงแก้ไข หลักเกณฑ์ ระเบียบ หรือแนวทางการปฏิบตั ริ าชการของส่วนราชการที่เอื้อต่อ
การปฏิบตั งิ านที่โปร่งใสสามารถตรวจสอบได้ และประชาสัมพันธ์ ให้ภาครัฐและภาคประชาชน และ/หรือให้ผูม้ สี ่วน
ได้เสียได้รบั รู ้
- กําหนดให้มกี จิ กรรมส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ของรัฐได้ปฏิบตั หิ น้าที่ราชการด้วยความรับผิดชอบต่อประชาชน มี
คุณธรรม จริยธรรม การคํานึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็ นที่ตงั้ และมีธรรมาภิบาล
- กิจกรรมการสร้างความเข้มแข็งในด้านการป้ องกันการทุจริต/การให้ความรู ้ กับภาครัฐและภาคประชาชน
ตลอดจนเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในด้านการป้ องกันการทุจริต
3 ดําเนินการตามมาตรการ/แผนปฏิบตั กิ ารป้ องกันการทุจริต หรือการปฏิบตั หิ รือละเวน้ การปฏิบตั หิ น้าที่โดยมิชอบ
ของเจ้าหน้าที่ของรัฐในสังกัด รวมทัง้ การเสริมสร้างให้เจ้าหน้าที่ของรัฐได้ปฏิบตั หิ น้าที่ราชการด้วยความรับผิดชอบ
ต่อประชาชน มีคุณธรรม จริยธรรม การคํานึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็ นที่ตงั้ และมีธรรมาภิบาล ปี งบประมาณ
พ.ศ. 2551 ได้แล ้วเสร็จครบถ ้วน
4  ตอบสนองต่อข้อร้องเรียนเรื่อง “การทุจริตหรือการปฏิบตั หิ รือละเวน้ การปฏิบตั หิ น้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่
ของรัฐในสังกัด” ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 ที่มกี ารร้องเรียนผ่านระบบการรับฟังข้อร้องเรียนของส่วนราชการ
ศู นย์ดาํ รงธรรม กระทรวงมหาดไทย ศู นย์บริการประชาชน สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี อย่างครบถ ้วน

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

63
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

 ตอบสนองต่อข้อร้องเรียนเจ้าหน้าที่ของรัฐไม่ได้ปฏิบตั หิ น้าที่ราชการด้วยความรับผิดชอบต่อประชาชน ไม่มี


คุณธรรม จริยธรรม การไม่คาํ นึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็ นที่ตงั้ และไม่มธี รรมาภิบาล ในปี งบประมาณ พ.ศ.
2551 ตามที่มกี ฎหมาย ระเบียบ แบบแผนของทางราชการที่เกี่ยวข้องได้กาํ หนดไวโ้ ดยครบถ ้วน

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 6 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต(ต่อ)

ระดับ
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน
5  สรุปผลการดําเนินการตามแนวทาง/มาตรการ/แผนงาน/โครงการหรือแผนปฏิบตั กิ ารป้ องกันการทุจริตของ
เจ้าหน้าที่ของรัฐ และการเสริมสร้างให้เจ้าหน้าที่ของรัฐได้ปฏิบตั หิ น้าที่ราชการด้วยความรับผิดชอบต่อประชาชน
มีคุณธรรม จริยธรรม การคํานึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็ นที่ตงั้ และมีธรรมาภิบาล ปี งบประมาณ พ.ศ. 2551
โดยระบุปจั จัยสนับสนุ น ปัญหา อุปสรรคในการดําเนินงานและสรุปผลการตอบสนองต่อ ข้อร้องเรียน
เรื่อง “การทุจริตหรือการปฏิบตั หิ รือละเวน้ การปฏิบตั หิ น้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐในสังกัด” รวมทัง้ การ
เสริมสร้างให้เจ้าหน้าที่ของรัฐได้ปฏิบตั หิ น้าที่ราชการด้วยความรับผิดชอบต่อประชาชน มีคุณธรรม จริยธรรม
การคํานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็ นที่ตงั้ และมีธรรมาภิบาล ในขัน้ ตอนที่ 4 พร้อมทัง้ กําหนดแนวทางหรือมี
ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแนวทาง/มาตรการ/แผนงาน/โครงการหรือแผนปฏิบตั กิ ารป้ องกันการทุจริต การ
เสริมสร้างให้เจ้าหน้าที่ของรัฐได้ปฏิบตั หิ น้าที่ราชการด้วยความรับผิดชอบต่อประชาชน มีคุณธรรม จริยธรรม
การคํานึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็ นที่ตงั้ และมีธรรมาภิบาลสําหรับปี งบประมาณ พ.ศ. 2552
เงื่อนไข :
การดําเนินการในแต่ละระดับสํานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ จะพิจารณา
คุณภาพของการจัดทําข ้อมูลเพื่อนํามาเป็ นประเด็นปรับคะแนนเชิงคุณภาพด้วย

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

64
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 6 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต(ต่อ)

ประเด็นที่ 2 : การจัดทําข้อมูลเรื่องกล่าวหา/ข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตหรือการปฏิบตั ิหรือละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่


โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐและข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง
ตัวชี้วดั ที่ 6.2 การจัดทําข ้อมูลเรื่องกล่าวหา/ข ้อร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตหรือการปฏิบตั ิหรือละเว้น การปฏิบตั ิหน้าที่
โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐและข ้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 1
คําอธิบาย :
• พิจารณาจากความสําเร็จของการจัดทําข ้อมูลเรื่องกล่าวหา/ข ้อร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตหรือการ
ปฏิบตั ิหรือละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐและข ้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างเพื่อใช้เป็ นฐานข ้อมูลการ
ทุจริตในระดับชาติ

เกณฑ์การให้คะแนน :
กําหนดเป็ นระดับขัน้ ของความสําเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็ น 5 ระดับ พิจารณาจาก
ความก้าวหน้าของขัน้ ตอนการดําเนินงานตามเป้ าหมายแต่ละระดับ ดังนี้

ระดับคะแนน ระดับขัน้ ของความสําเร็จ (Milestone)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

65
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ขัน้ ตอนที่ 1 ขัน้ ตอนที่ 2 ขัน้ ตอนที่ 3 ขัน้ ตอนที่ 4 ขัน้ ตอนที่ 5
1 
2  
3   
4    
5     

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 6 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต(ต่อ)

โดยที่ :
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 จัดทําข ้อมูลเรื่องกล่าวหา/ข ้อร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตหรือการปฏิบตั ิหรือละเว้นการ
ปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐตามรูปแบบ รายการ และวิธีการที่สาํ นักงาน
คณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) กําหนด (ตามแบบฟอร์ม
ขท 01 แบบข ้อมูลเรื่องกล่าวหา/ข ้อร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตหรือการปฏิบตั ิหรือละเว้น
การปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐ) ได้อย่างสมบูรณ์ ครบถ้วน และมีการ
ปรับปรุงสถานะของผลการดําเนินงานให้เป็ นปัจจุบนั อยู่เสมอ
2 มีการประมวลผลข ้อมูลที่จดั ทําตามขัน้ ตอนที่ 1 ให้อยู่ในรูป Information และนําเสนอใน
รู ปแบบ กราฟ แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ เพื่อเป็ นข ้อมูลประกอบการตัดสินใจของผูบ้ ริหารของ
ส่วนราชการ ในการเฝ้ าระวังและติดตามการปฏิบตั ิงานในการป้ องกันและปราบปรามการ
ทุจริตหรือการปฏิบตั ิหรือละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐได้
3 เก็บรวบรวมข ้อมูล การจัดซื้อจัดจ้าง โดยวิธีประกวดราคาหรือวิธีประมูลด้วยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ของส่วนราชการ แล ้วบันทึกข ้อมูลตามรู ปแบบที่สาํ นักงานคณะกรรมการ
ป้ องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) กําหนด ได้อย่างสมบูรณ์ ครบถ้วน

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

66
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
(ตามแบบฟอร์ม ขท 02 แบบข ้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง)
4 มีการรายงานข ้อมูลตามขัน้ ตอนที่ 1 ขัน้ ตอนที่ 2 และขัน้ ตอนที่ 3 ไปยังสํานักงาน
คณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เกินระยะเวลาที่กาํ หนด
(หมายเหตุ : ข ้อมูลตามขัน้ ตอนที่ 1 ขัน้ ตอนที่ 2 และขัน้ ตอนที่ 3 ไม่รวมถึงข ้อมูลของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
5 มีการรายงานข ้อมูลตามขัน้ ตอนที่ 1 ขัน้ ตอนที่ 2 และขัน้ ตอนที่ 3 ไปยังสํานักงาน
คณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ภายในระยะเวลาที่
กําหนด

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 6 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต(ต่อ)

เงื่อนไข :
การดําเนินงานตามขัน้ ตอนที่ 4 และขัน้ ตอนที่ 5 สํานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการ
ทุจริตแห่งชาติ จะพิจารณาคุณภาพของการจัดทําข ้อมูลเพื่อนํามาเป็ นประเด็นปรับคะแนนเชิงคุณภาพด้วย
หมายเหตุ :
1. กรณีส่วนราชการไม่มขี ้อมูลต้องรายงานตามแบบ ขท 01 และแบบ ขท 02 ให้นํานํ้ าหนักตัวชี้วดั ร้อยละ
1 ไปรวมกับตัวชี้วดั ที่ 6.1 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการ/แผนปฏิบตั ิการป้ องกันการทุจริต การ
ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล
2. กําหนดการรายงานข ้อมูล : กําหนดให้ส่วนราชการรายงาน 3 ครัง้ คือ
ครัง้ ที่ 1 : ภายในเวลา 30 วัน นับจากวันครบรอบระยะเวลาการปฏิบตั ิราชการฯ รอบ 6 เดือน (ภายใน
เดือนเมษายน พ.ศ. 2551)
ครัง้ ที่ 2 : ภายในเวลา 30 วัน นับจากวันครบรอบระยะเวลาการปฏิบตั ิราชการฯ รอบ 9 เดือน (ภายใน
เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551)
ครัง้ ที่ 3 : ภายในเวลา 30 วัน นับจากวันครบรอบระยะเวลาการปฏิบตั ิราชการฯ รอบ 12 เดือน
(ภายในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2551)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

67
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

3. การส่ง File ข ้อมูลต้องทําเป็ น Zip File เท่านัน้ และตัง้ ชื่อ File ที่ Zip ไว้ โดยใช้รหัสหน่วยงานเป็ นชื่อ
File เช่น ตช 0014 และจัดส่งไปยัง E-mail Address : infonccc@nccc.go.th

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 6 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต(ต่อ)

ประเด็นที่ 3 การดําเนิ นการอย่างเคร่งครัดเมื่อมีการกล่าวหาว่ามีการกระทําผิดในปี งบประมาณ พ.ศ. 2551


ตัวชี้วดั ที่ 6.3 ร้อยละของจํานวนสํานวนการสอบสวนที่ดาํ เนินการได้ครบถ้วนสมบูรณ์ภายในระยะเวลาที่กาํ หนด
หน่ วยวัด ร้อยละ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 2
คําอธิบาย :

• พิจารณาจากร้อยละของจํานวนสํานวนการสอบสวนที่ดาํ เนินการได้ครบถ้วนสมบูรณ์ตามประเด็นที่
สํานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) มีหนังสือขอให้ดาํ เนินการ โดยมีเอกสาร
ประกอบหรือมีพยานหลักฐานชัดเจนพร้อมให้วนิ ิจฉัยได้ และสามารถจัดส่งสํานวนการสอบสวนและเอกสารประกอบ
หรือพยานหลักฐานดังกล่าวไปยังสํานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ภายในระยะเวลาที่
กําหนด เทียบกับจํานวนสํานวนการสอบสวนที่สาํ นักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
(ป.ป.ช.) มีหนังสือขอให้ดาํ เนินการทัง้ หมด

สูตรการคํานวณ :

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

68
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

จํานวนสํานวนการสอบสวนที่ดาํ เนินการได้ครบถ้วนสมบูรณ์และจัดส่ง
ไปยังสํานักงาน ป.ป.ช. ได้ภายในระยะเวลาที่กาํ หนด x 100
จํานวนสํานวนการสอบสวนที่สาํ นักงาน ป.ป.ช. ขอให้ดาํ เนินการทัง้ หมด

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 6 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต(ต่อ)

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 10 ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 ร้อยละ 40
2 ร้อยละ 50
3 ร้อยละ 60
4 ร้อยละ 70
5 ร้อยละ 80

หมายเหตุ :

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

69
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

1. กรณีส่วนราชการไม่มสี าํ นวนการสอบสวนที่สาํ นักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต


แห่งชาติ (ป.ป.ช.) ขอทราบ ให้นํานํ้ าหนักตัวชี้วดั ร้อยละ 2 ไปเพิ่มให้ตวั ชี้วดั ที่ 6.1 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการ
ตามมาตรการ/แผนปฏิบตั ิการป้ องกันการทุจริต การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล
2. ให้ส่วนราชการส่วนกลางมีหน้าที่ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและการปฏิบตั ิหรือละเว้นการปฏิบตั ิ
หน้าที่โดยมิชอบ หน่วยงานในสังกัดที่ตงั้ อยู่ในส่วนกลาง และหน่วยงานราชการบริหารส่วนกลางที่ปฏิบตั ิราชการหรือมี
สํานักงานตัง้ อยู ่ในส่วนภูมภิ าค ที่ผูบ้ งั คับบัญชาของส่วนราชการไม่ได้มอบอํานาจให้แก่ผูว้ ่าราชการจังหวัด
3. ให้จงั หวัดมีหน้าที่ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและการปฏิบตั ิหรือละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่โดยมิ
ชอบ หน่วยงานราชการบริหารส่วนภูมภิ าคและหน่วยงานราชการบริหารส่วนกลางที่ปฏิบตั ิราชการหรือมีสาํ นักงานตัง้ อยู่
ในส่วนภูมภิ าคและผูว้ ่าราชการจังหวัดได้รบั มอบอํานาจจากผูบ้ งั คับบัญชาของส่วนราชการ ตามระเบียบสํานัก
นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการมอบอํานาจ พ.ศ. 2546 ทัง้ นี้ ไม่รวมหน่วยงานราชการสังกัดราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
หน่วยงานราชการบริหารส่วนกลางที่ปฏิบตั ิราชการหรือ มีสาํ นักงานตัง้ อยู่ในส่วนภูมภิ าค และผูว้ ่าราชการจังหวัดไม่ได้
รับมอบอํานาจจากผูบ้ งั คับบัญชาของส่วนราชการ เช่น สํานักงานอัยการสูงสุด สํานักงานสรรพากรภาค สํานักงานตํารวจ
แห่งชาติ เป็ นต้น

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 6 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการป้ องกันและปราบปรามการทุจริต(ต่อ)

แหล่งข้อมูล : สํานักบริหาร กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
รวบรวมจากเอกสาร/รายงานการดําเนินงานตามมาตรการการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตปี พ.ศ.
2551 ทุกรายไตรมาส

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

70
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายจํานงค์ อิ่มสมบูรณ์ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1656


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางจันฑนา จินดาถาวรกิจ เบอร์ติดต่อ : 0 2965 9174
2. นายบุญเลิศ เตียวสุวรรณ เบอร์ติดต่อ : 2965 9174

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ประเด็นการประเมินผล : ความพึงพอใจของผูร้ บั บริการ
ตัวชี้วดั ที่ 7 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผูร้ บั บริการ
หน่ วยวัด ร้อยละ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 5
คําอธิบาย :
1. ผูร้ บั บริการ หมายถึง ประชาชนผูม้ ารับบริการโดยตรง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ (ที่ไม่ใช่เจ้าหน้าที่
ของส่วนราชการผูใ้ ห้บริการ) หรือหน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชนที่มารับบริการจากส่วนราชการ
2. พิจารณาจากผลสํารวจความพึงพอใจของผูร้ บั บริการของส่วนราชการ โดยสํานักงานก.พ.ร.จะเป็ น
ผูจ้ ดั จ้างหน่วยงานผูป้ ระเมินอิสระภายนอกมาดําเนินการสํารวจ
3. ประเด็นการสํารวจประกอบด้วย ประเด็นสําคัญๆ ดังนี้
3.1 ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขัน้ ตอนการให้บริการ
3.2 ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผูใ้ ห้บริการ
3.3 ความพึงพอใจด้านสิ่งอํานวยความสะดวก

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

71
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

3.4 ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ
3.5 ความเชื่อมันเกี
่ ่ยวกับคุณภาพการให้บริการ โดยเน้นวาระแห่งชาติดา้ นจริยธรรม
ธรรมาภิบาล และการป้ องกันการทุจริตและประพฤติมชิ อบในภาครัฐ
4. สํานักงาน ก.พ.ร. จะเป็ นผูส้ าํ รวจ วิเคราะห์ และคัดเลือกงานบริการหลักของส่วนราชการไม่เกิน
3 งานบริการ ตามหลักเกณฑ์ท่กี าํ หนด และแจ้งให้ส่วนราชการทราบ เพื่อใช้เป็ นข ้อมูลสําหรับการสํารวจความพึงพอใจ
5. หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกงานบริการ
5.1 เป็ นงานบริการ ที่เป็ นภารกิจหลักของส่วนราชการ
5.2 เป็ นงานบริการที่มผี ูใ้ ช้บริการจํานวนมาก มีผลกระทบสูงต่อประชาชน
ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 งานบริการของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ ที่จะนํามาประเมินความพึง
พอใจผูร้ บั บริการของกรมฯ มีจาํ นวน 3 งานบริการ โดยแบ่งนํา้ หนักแต่ละงานบริการดังนี้

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 7 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผูร้ บั บริการ (ต่อ)

ชื่องานบริการ นํ้ าหนัก


1. งานต่ออายุใบอนุ ญาตดําเนินการสถานพยาบาล(คลินิก) 40
2. การสอบเทียบเครื่องมือแพทย์ 30
3. ส่งเสริมการพัฒนามาตรฐานงานสุขศึกษาของสถานบริการสาธารณสุขที่
30
ขอการรับรองคุณภาพงาน
รวม 100

ทัง้ นี้ได้รบั แจ้งหนังสือเป็ นทางการจากสํานักงานก.พ.ร.ที่นร 1201/1217 ลงวันที่ 8 เมษายน 2551 ว่า


จากการประชุม ครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 11 เมษายน 2551 สํานักงานก.พ.ร. โดยคณะอนุ กรรมการพัฒนาระบบราชการเกี่ยวกับ
การส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มีมติเห็นชอบ ให้มกี ารสํารวจความพึงพอใจงานบริการของ กรมสนับสนุ น
บริการสุขภาพ ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 จํานวน 1 งานบริการ คือ ความพึงพอใจของเอกชนผูป้ ระกอบกิจการ

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

72
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

สถานพยาบาลต่อกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

เกณฑ์การให้คะแนน :

ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 5 ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้


ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 ร้อยละ 65
2 ร้อยละ 70
3 ร้อยละ 75
4 ร้อยละ 80
5 ร้อยละ 85

มิติท่ี 2 มิติดา้ นคุณภาพการให้บริการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 7 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผูร้ บั บริการ (ต่อ)

เงื่อนไข :
1. ประเด็นข ้อสังเกตของผูป้ ระเมินอิสระ จะนํามาใช้ประกอบการพิจารณาปรับคะแนน
2. กรณีงานบริการที่ถูกคัดเลือกมีจุดให้บริการหลายแห่ง ผูป้ ระเมินอิสระขอสงวนสิทธิ์ในการสุ่มจุด
บริการในการสํารวจความพึงพอใจ

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

73
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : ร.อ.หญิงบุญสืบ สมบัติ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 2842, 081-8358943


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางเรวดี โกมาสถิตย์ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 2842, 089-2248898
2. นางเกศินี จันทสิริยากร เบอร์ติดต่อ : 0 2590 2843, 081-8029548
3. นางสมพร มีเสถียร เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1997, 081-2509708

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารงบประมาณ
การประเมินผลการบริหารงบประมาณ
กรณี ท่ี 1 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน
ตัวชี้วดั ที่ 8 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน
หน่ วยวัด : ร้อยละ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 3
คําอธิบาย :

• การพิจารณาผลสําเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณจะใช้อตั ราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย
ลงทุนของส่วนราชการทัง้ ที่เบิกจ่ายในส่วนกลางและส่วนภูมภิ าค เป็ นตัวชี้วดั ความสามารถในการเบิกจ่ายเงินของกรม
สนับสนุ นบริการสุขภาพ ทัง้ นี้ไม่รวมงบประมาณที่ได้รบั การจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปี งบประมาณ โดยจะใช้ข ้อมูลการ
เบิกจ่ายเงินงบประมาณจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์(GFMIS)
• การให้คะแนนจะพิจารณาตามความสามารถในการเบิกจ่ายเมือ่ เทียบกับวงเงินงบประมาณที่ได้รบั
ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

74
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

• หากมีการโอนเปลีย่ นแปลงงบประมาณระหว่างปี (รายจ่ายประจําไปรายจ่ายลงทุน หรือรายจ่ายลงทุน


ไปรายจ่ายประจํา) จะนํายอดงบประมาณหลังโอนเปลีย่ นแปลงแล ้วมาเป็ นฐานในการคํานวณ
• รายจ่ายลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่รฐั บาลจ่ายเพื่อจัดหาทรัพย์สนิ ประเภททุน ทัง้ ที่มตี วั ตนและ
ทรัพย์สนิ ที่ไม่มตี วั ตน ตลอดจนรายจ่ายที่รฐั บาลอุดหนุนหรือโอนให้แก่บุคคล องค์กร หรือรัฐวิสาหกิจโดยผูร้ บั ไม่ตอ้ ง
จ่ายคืนให้รฐั บาลและผูร้ บั นําไปใช้จดั หาทรัพย์สนิ ประเภททุน เป็ นต้น สามารถตรวจสอบได้จากรหัสงบประมาณรายจ่าย
รหัสลักษณะงานตําแหน่งที่ 5 แสดงถึงลักษณะเศรษฐกิจที่สาํ นักงบประมาณกําหนดให้
• ในปี งบประมาณ พ.ศ.2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ มีเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน เท่ากับ
46,568,300 บาท

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 8 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน (ต่อ)

สูตรการคํานวณ :

เงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ส่วนราชการเบิกจ่าย x 100
วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ได้รบั

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงปรับเกณฑ์การให้คะแนน +/- ร้อยละ 3 ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 ร้อยละ 68

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

75
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

2 ร้อยละ 71
3 ร้อยละ 74
4 ร้อยละ 77
5 ร้อยละ 80
หมายเหตุ :
1. ระดับคะแนน 3 เท่ากับ ค่าเป้ าหมายร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายในภาพรวม
ตามที่คณะรัฐมนตรีกาํ หนด
2. การคํานวณวงเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม จะไม่รวมงบประมาณที่ส่วนราชการประหยัดได้ และ
ไม่ได้นาํ เงินดังกล่าวไปใช้จ่ายในภารกิจหรือโครงการอื่น ๆ ต่อ ทัง้ นี้ ขอให้ส่วนราชการรายงานวงเงินงบประมาณที่
ประหยัดได้ดงั กล่าว (งบประมาณเหลือจ่าย) เพื่อใช้ประกอบการประเมินผล
3. ในกรณีท่สี ่วนราชการนําเงินงบประมาณที่ประหยัดได้จากโครงการเดิมไปใช้ในโครงการอื่นๆ การเบิก
จ่ายเงินงบประมาณโครงการใหม่จะนํามาใช้คาํ นวณอัตราเบิกจ่ายด้วย
4. สามารถตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่างลงทุนที่ได้รบั ผ่านทางเว็บไซต์ของ
กรมบัญชีกลาง www.cgd.go.th

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 8 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน (ต่อ)

แหล่งข้อมูลอ้างอิง :
ใช้ข ้อมูลในการติดตามประเมินผลจากกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง

วิธีการจัดเก็บข้อมูล
เก็บรวบรวมจากแผนการก่อหนี้ผูกพันและแผนการเบิกจ่ายเงิน,รายงานผลการก่อหนี้ผูกพันเป็ นประจําทุก
เดือน และรายงานผลการเบิกจ่ายเงินเป็ นประจําทุกเดือนซึ่งต้องใช้ในการรายงานให้กรมบัญชีกลาง

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

76
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายจํานงค์ อิ่มสมบูรณ์ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1654


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางสาวสุธารี เปี่ ยมเอม เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1650
2. นายธีรเดช บุญวาศ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1659
3. นางทิพวรรณ มณีรตั น์ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1659
มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ
KPI Template
ประเด็นการประเมินผล : การประหยัดพลังงาน
ตัวชี้วดั ที่ 9 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
หน่ วยวัด ระดับความสําเร็จ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 3
คําอธิบาย :
ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพจะ
พิจารณาจาก ความครบถ้วนของข ้อมูล ได้แก่ ข ้อมูลปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้ า (kWh) ข ้อมูลปริมาณการใช้นาํ้ มัน
เชื้อเพลิง (ลิตร) ข ้อมูลพื้นฐานสําหรับการจัดทําดัชนีการใช้พลังงาน เช่น เวลาที่ให้บริการ จํานวนบุคลากร พื้นที่ของ
อาคารที่การให้บริการ เป็ นต้น และพิจารณาปริมาณพลังงานที่ส่วนราชการใช้จริง โดยเปรียบเทียบกับปริมาณพลังงาน
มาตรฐาน ที่หน่วยงานควรจะใช้อย่างเหมาะสมตามปัจจัยที่มผี ลต่อการใช้พลังงานของหน่วยงาน โดยใช้ข ้อมูลตามที่
รายงานและจัดเก็บในฐานข ้อมูล www.e-report.energy.go.th ของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน
พิจารณาจากร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักของ พลังงาน 2 ชนิ ด คือ

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

77
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

1. ไฟฟ้ า
2. นํา้ มัน

เกณฑ์การให้คะแนน :-
1. ไฟฟ้ า คะแนนการประเมินผลด้านไฟฟ้ าของ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ คิดปริมาณการใช้
เฉพาะ กองวิศวกรรมการแพทย์ เพียงหน่วยงานเดียว เนื่องจาก สํานัก/กองอื่นๆในสังกัดกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มีการใช้ไฟฟ้ าร่วมกับสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ไม่สามารถแบ่งแยกได้) จึงไม่นาํ ปริมาณการใช้มาคิดรวม
โดยเกณฑ์การให้คะแนน การใช้ไฟฟ้ าของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ มีรายละเอียด เป็ นดังนี้

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 9 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ (ต่อ)

ระดับคะแนน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน


ระดับที่ ข ้อมูลปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้ า (kWh) ครบถ้วน
0.5
1
ระดับที่ ข ้อมูลพื้นฐานสําหรับการจัดทําดัชนีการใช้พลังงานครบถ้วน
0.5
2
ปริมาณการใช้ไฟฟ้ าจริง มากกว่าปริมาณการใช้นาํ้ มันมาตรฐาน โดยอยู่ในช่วงตัง้ แต่
ระดับที่
0.5 1.5 เท่า ถึง 2 เท่าของปริมาณการใช้นาํ้ มันมาตรฐาน หรือ มีค่าดัชนีการใช้พลังงาน
3
ไฟฟ้ าอยู ่ในช่วง -0.500 ถึง -0.334

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

78
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ปริมาณการใช้ไฟฟ้ าจริง มากกว่าปริมาณการใช้ไฟฟ้ ามาตรฐาน โดยอยู่ในช่วงตัง้ แต่


ระดับที่
0.5 1.2 เท่า ถึง 1.5 เท่าของปริมาณการใช้ไฟฟ้ ามาตรฐาน หรือ มีค่าดัชนีการใช้พลังงาน
4
ไฟฟ้ าอยู ่ในช่วง -0.333 ถึง -0.167
ปริมาณการใช้ไฟฟ้ าจริง เท่ากับหรือมากกว่าปริมาณการใช้ไฟฟ้ ามาตรฐาน โดยอยู่
ในช่วงตัง้ แต่ 1 เท่า ถึง 1.2 เท่าของปริมาณการใช้ไฟฟ้ ามาตรฐาน หรือ มีค่าดัชนีการ
ระดับที่ ใช้พลังงานไฟฟ้ าอยู่ในช่วง -0.166 ถึง 0
0.5
5 ในกรณีท่ปี ริมาณการใช้ไฟฟ้ าจริงน้อยกว่าปริมาณการใช้ไฟฟ้ ามาตรฐาน หรือ มีค่า
ดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้ ามากกว่า 0 จะได้คะแนนเต็มในการประเมินผลด้านไฟฟ้ า
(2.5 คะแนน)

2. นํ้ ามัน คะแนนการประเมินผลด้านนํา้ มันของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ คิดจากคะแนนเฉลีย่


ของหน่วยงานในสังกัดทัง้ หมด โดยเกณฑ์การให้คะแนนของแต่ละหน่วยงาน มีรายละเอียด ดังนี้

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 9 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ (ต่อ)

ระดับคะแนน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน


ระดับที่ ข ้อมูลปริมาณการใช้พลังงานนํา้ มัน (kWh) ครบถ้วน
0.5
1
ระดับที่ ข ้อมูลพื้นฐานสําหรับการจัดทําดัชนีการใช้พลังงานครบถ้วน
0.5
2
ปริมาณการใช้นาํ้ มันจริง มากกว่าปริมาณการใช้นาํ้ มันมาตรฐาน โดยอยู่ในช่วงตัง้ แต่
ระดับที่
0.5 1.5 เท่า ถึง 2 เท่าของปริมาณการใช้นาํ้ มันมาตรฐาน หรือ มีค่าดัชนีการใช้พลังงาน
3
นํา้ มันอยู ่ในช่วง -0.500 ถึง -0.334

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

79
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ปริมาณการใช้นาํ้ มันจริง มากกว่าปริมาณการใช้นาํ้ มันมาตรฐาน โดยอยู่ในช่วงตัง้ แต่


ระดับที่
0.5 1.2 เท่า ถึง 1.5 เท่าของปริมาณการใช้นาํ้ มันมาตรฐาน หรือ มีค่าดัชนีการใช้พลังงาน
4
นํา้ มันอยู ่ในช่วง -0.333 ถึง -0.167
ปริมาณการใช้นาํ้ มันจริง เท่ากับหรือมากกว่าปริมาณการใช้นาํ้ มันมาตรฐาน โดยอยู ่
ในช่วงตัง้ แต่ 1 เท่า ถึง 1.2 เท่าของปริมาณการใช้นาํ้ มันมาตรฐาน หรือ มีค่าดัชนีการ
ระดับที่ ใช้พลังงานนํา้ มันอยู่ในช่วง -0.166 ถึง 0
0.5
5 ในกรณีท่ปี ริมาณการใช้นาํ ้ มันจริงน้อยกว่าปริมาณการใช้นาํ ้ มันมาตรฐาน หรือ มีค่า
ดัชนีการใช้พลังงานนํา้ มันมากกว่า 0 จะได้คะแนนเต็มในการประเมินผลด้านนํา้ มัน
(2.5 คะแนน)

ปัจจัยที่ใช้ในการคํานวณคะแนนขัน้ ที่ 3 - 5 :
(1) ปริมาณการใช้ไฟฟ้ า/นํ้ ามันมาตรฐาน
คํานวณจากแบบจําลองทางคณิตศาสตร์ท่ไี ด้จากการวิเคราะห์ผลของข ้อมูลปัจจัยพื้นฐานต่อ
ปริมาณการใช้พลังงานของหน่วยงานในแต่กลุม่ โดยในการวิเคราะห์นนั้ จะพิจารณาตัวแปรที่มผี ลต่อการ
ใช้พลังงานของหน่วยงาน แบ่งออกเป็ น 2 ส่วนคือ

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 9 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ (ต่อ)
(ก) ตัวแปรจากลักษณะการทํางาน เช่น เช่น จํานวนบุคลากร พื้นที่ใช้สอยภายในอาคาร เวลาการทํางาน
จํานวนผูเ้ ข ้ามาใช้บริการ การออกให้บริการ เป็ นต้น
(ข) ตัวแปรจากสภาวะแวดล ้อม เช่น อุณหภูมิ ระยะห่างจากตัวจังหวัดที่ตงั้ พื้นที่ของอําเภอที่ตงั้ พื้นที่
ของจังหวัดที่ตงั้ เป็ นต้น
(รายละเอียดของการคํานวณปริมาณการใช้ไฟฟ้ า/นํา้ มันมาตรฐานของแต่ละกลุม่ อยู่ใน
www.e-report.energy.go.th)
(2) ค่าการใช้พลังงานไฟฟ้ า/นํ้ ามันจริงที่รายงานแก่ สนพ.
คือ ปริมาณการใช้ไฟฟ้ า/นํา้ มัน ที่หน่วยงานรายงานผ่าน www.e-report.energy.go.th ครบ 12
เดือน

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

80
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 9 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

81
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

10,000

9,000

ช่วงที่ 5 ไม่ได้คะแนนในขัน้ 3-5


8,000 ช่วงที่ 1 ระดับคะแนนที่ 3

หน่วยงานที่ได้ 0 คะแนน หน่วยงานที่ได้


7,000 0 - 0.5 คะแนน

ช่วงที่ 2 ระดับคะแนนที่ 3-4


6,000
หน่วยงานที่ได้
ปริมาณการใช้ พลังงานจริง

0.5 - 1 คะแนน
5,000 ช่วงที่ 3 ระดับคะแนนที่ 3-5
หน่วยงานที่ได้
1 – 1.5 คะแนน
4,000
หน่วยงานที่ได้ 1.5 คะแนน
ช่วงที่ 4 ได้คะแนนเต็มในขัน้ 3-5
3,000
SEU
1.2 SEU
2,000
1.5 SEU
2 SEU
1,000

0
0 1,000 2,000 3,000 4,000 5,000
ปริมาณการใช้ พลังงานมาตรฐาน

SEU = ปริมาณการใช้ไฟฟ้ า/นํา้ มันมาตรฐาน


หน่วยงานทีจ่ ะได้รบั การประเมินดัชนีการใช้พลังงานต้องได้รบั คะแนนเต็มในขัน้ ที่ 1-2
แผนภาพแสดงการให้คะแนนในระดับคะแนน 3-5

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 9 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

82
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

สูตรการคํานวณค่าดัชนี การใช้พลังงาน :

ค่าดัชนี การใช้ไฟฟ้ า/นํ้ ามัน = ค่าการใช้ไฟฟ้ า/นํา้ มันมาตรฐาน - ค่าการใช้ไฟฟ้ า/นํา้ มันจริง
ค่าการใช้ไฟฟ้ า/นํา้ มันจริง

เงื่อนไข :
ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ สํานักงาน ก.พ.ร. จะ
ใช้ข ้อมูลที่ส่วนราชการได้รายงานผลผ่าน www.e-report.energy.go.th ของ ส่วนอนุรกั ษ์พลังงานและพลังงานหมุนเวียน
สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน
ส่วนราชการจะต้องได้คะแนนเต็มในขัน้ ตอนที่ 1 และ 2 จึงจะได้รบั การประเมินผลค่าคะแนนดัชนีการใช้
พลังงาน ในขัน้ ตอนที่ 3-5
หน่วยงานที่มคี ่าดัชนีการใช้พลังงานตํา่ กว่า -0.500 หรือเป็ นหน่วยงานที่มปี ริมาณการใช้พลังงานจริงเป็ น
2 เท่าของปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐานขึ้นไป จะไม่ได้คะแนนในขัน้ ตอนที่ 3-5 ซึ่งจากข ้อมูลของปี 2550 จะมี
หน่วยงานในกลุม่ ดังกล่าว ประมาณร้อยละ 10 ของหน่วยงานราชการทัง้ ประเทศ
หมายเหตุ :
ส่วนราชการ หมายถึง ส่วนราชการที่เป็ นราชการบริหารส่วนกลางในสังกัดกรมที่จดั ตัง้ ขึ้นตาม
กฎกระทรวง และรวมถึงส่วนราชการที่ตงั้ ขึ้นเป็ นหน่วยงานภายในกรมนัน้ ที่ไม่ปรากฏในกฎกระทรวง
สําหรับส่วนราชการที่เป็ นราชการบริหารส่วนกลางในสังกัดกรมนัน้ ซึ่งจัดตัง้ ขึ้นตามกฎกระทรวง แต่
ปฏิบตั ิงานอยู่ในภูมภิ าค การรายงานผลการดําเนินงานและการประเมินผลของส่วนราชการนัน้ ๆ ให้พจิ ารณาจากสถาน
ที่ตงั้ ของส่วนราชการว่า ตัง้ อยู ่ ณ จังหวัดใด ให้รายงานผลการดําเนินงานไปรวมกับจังหวัดที่ตงั้ อยู่นนั้
หน่ วยงานในจังหวัด หมายรวมถึง ส่วนราชการที่เป็ นราชการบริหารส่วนภูมภิ าคที่จดั ตัง้ ขึ้น
ตามกฎกระทรวง รวมทัง้ ส่วนราชการที่เป็ นราชการบริหารส่วนกลางที่ปฏิบตั ิงานอยู่ในภูมภิ าคซึ่งจัดตัง้ ขึ้นตาม
กฎกระทรวง ทัง้ นี้ การรายงานผลการดําเนินงานและการประเมินผลของส่วนราชการนัน้ ๆ ให้พจิ ารณาจากสถานที่ตงั้
ของส่วนราชการว่าตัง้ อยู ่ ณ จังหวัดใด ให้รายงานผลการดําเนินงานไปรวมกับจังหวัดที่ตงั้ อยู่นนั้

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 9 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

83
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

วิธีการเก็บข้อมูล
เก็บจากระบบรายงาน ระบบติดตาม และการเฝ้ าระวังการใช้ ไฟฟ้ าและ นํา้ มัน ของกรมสนับสนุ น
บริการสุขภาพ

ความถี่ในการจัดเก็บ
ทุก 1 เดือน

แหล่งข้อมูล
1. สํานักบริหาร กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
2. จาก Website http://www.e-report.energy.go.th

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายจํานงค์ อิ่มสมบูรณ์ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1654


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางสาววิภาวี ทองแก้ว เบอร์ติดต่อ : 0 2591 0186
2. นายสําเนา สมโมทย์ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1659
3. นายธีรเดช บุญวาศ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1659
4. นางสาวกรรณิ ภา สุขละมูล เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1649

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ประเด็นการประเมินผล : การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

84
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ตัวชี้วดั ที่ 10 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักในการรักษาเวลามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ


หน่ วยวัด : ระดับ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 2
คําอธิบาย :
• พิจารณาจากระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักของผูร้ บั บริการที่ได้รบั บริการตามรอบ
ระยะเวลามาตรฐาน โดยเปรียบเทียบกับผูร้ บั บริการทัง้ หมดในแต่ละกระบวนงานบริการ ที่กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
ได้ประกาศเรื่องการกําหนดระยะเวลาแล ้วเสร็จของงาน พ.ศ. 2551 จํานวน 5 กระบวนงาน
• รอบระยะเวลาการมาตรฐาน หมายถึง ระยะเวลาเฉลีย่ ที่ กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ สามารถ
ดําเนินการลดได้จริงและได้แจ้งระยะเวลาเฉลีย่ ดังกล่าวเป็ นผลการปฏิบตั ิราชการ ณ สิ้นปี งบประมาณ พ.ศ.2547
ปี งบประมาณ พ.ศ.2548 ปี งบประมาณ พ.ศ.2549 และปี งบประมาณ พ.ศ.2550 แล ้วแต่กรณี
• กระบวนงานที่นํามาประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ หมายถึง ทุกกระบวนงานที่กรมสนับสนุ นบริการ
สุขภาพเสนอไปยังสํานักงาน ก.พ.ร. ในปี งบประมาณ พ.ศ.2547 - 2550 และกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ สามารถ
ดําเนินการลดรอบระยะเวลาได้ตงั้ แต่รอ้ ยละ 30 ขึ้นไป

เงื่อนไขการเสนอกระบวนงานเพื่อการประเมินผล :
1. กระบวนงานที่กรมสนับสนุนบริการสุขภาพคัดเลือก เป็ นกระบวนงานที่กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
นํามาประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ จํานวน 25กระบวนงาน ในปี งบประมาณ พ.ศ.2547 - 2550 และปัจจุบนั
คงเหลือการดําเนินการ 23 กระบวนการ เนื่องจากไม่มกี ารดําเนินการกิจกรรมดังกล่าวจํานวน 1 กระบวนงานและ
ดําเนินการในระบบ GFMIS จํานวน 1 กระบวนงาน และกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ สามารถดําเนินการลดรอบ
ระยะเวลาได้ตงั้ แต่รอ้ ยละ 30 ขึ้นไปเรียบร้อยแล ้ว จํานวน 5 กระบวนงาน
2. กระบวนงานที่กรมสนับสนุนบริการสุขภาพคัดเลือกมาดําเนินการเป็ น กระบวนงาน หลักที่สาํ คัญและมี
ผูใ้ ช้บริการจํานวนมากของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
บสนุนบริการสุขภาพเสนอดําเนินการในปี 2551 จํานวน 5 กระบวนงานดังนี้
3. กระบวนงานทีกรมสนั

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 10 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักในการรักษาเวลามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ(ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

85
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

รายชื่อกระบวนงาน นํ้ าหนัก และรอบระยะเวลามาตรฐานที่กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพเสนอประเมินผลใน


ปี งบประมาณ พ.ศ.2551
ปี งบประมาณ
รอบระยะเวลามาตรฐาน
รายชื่อกระบวนงาน ที่เสนอลดรอบ นํ้ าหนัก
(ที่ให้บริการจริง)
ระยะเวลา
1 การแจ้งเลิกสถานพยาบาลเอกชนที่ไม่รบั ผูป้ ่ วยไว้คา้ งคืน
30 นาที
(คลินิก) พ.ศ.2549 0.20
( 50 %)

2 การเปลีย่ นแปลงการประกอบกิจการสถานพยาบาลเอกชน
20 วัน
ที่ไม่รบั ผูป้ ่ วยไว้คา้ งคืน(คลินิก) พ.ศ.2549 0.20
( 50 %)
3 การขอโอนใบอนุ ญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล /
8 วัน
การแก้ไขเปลีย่ นแปลงรายการในใบอนุญาต /การขอใบแทน พ.ศ.2550 0.20
( 50 %)
ใบอนุญาตสถานพยาบาล
4 การจัดสอบเพื่อรับรองผูด้ าํ เนินการในสถานประกอบการ
71 วัน
เพื่อสุขภาพ พ.ศ.2549 0.20
( 50 %)

5 งานตรวจรับรองแบบก่อสร้างอาคารสถานบริการสุขภาพที่
17 วัน
เอกชนออกแบบที่มวี งเงินไม่เกิน 100 ล ้านบาท พ.ศ.2548 0.20
( 50 %)
รวม 1.00

สูตรการคํานวณ :

จํานวนผูร้ บั บริการที่ได้รบั บริการตามรอบระยะเวลามาตรฐาน X 100


จํานวนผูร้ บั บริการทัง้ หมดที่ได้รบั บริการในแต่ละงานบริการ
มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 10 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักในการรักษาเวลามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

86
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับ
ร้อยละของผูร้ บั บริการที่ได้รบั คะ
คะแนน
งานบริการ นํ้ าหนัก บริการตามรอบระยะเวลา แนน
ถ่วงนํ้ าหนัก
(i) (Wi) มาตรฐานเทียบกับจํานวน ที่ได้
(WiXCi)
ผูร้ บั บริการทัง้ หมด (Ci)
1 2 3 4 5
1.การแจ้งเลิกสถานพยาบาลเอกชนที่ไม่ 0.20
50 60 70 80 90 C1 W1 X C1
รับผูป้ ่ วยไว้คา้ งคืน(คลินิก) (W1)
2. การเปลีย่ นแปลงการประกอบกิจการ
0.20
สถานพยาบาลเอกชนที่ไม่รบั ผูป้ ่ วยไว้ 50 60 70 80 90 C2 W2 X C2
(W2)
ค้างคืน(คลินิก)
3. การขอโอนใบอนุ ญาตให้ประกอบ
กิจการสถานพยาบาล / การแก้ไข 0.20
50 60 70 80 90 C3 W3 X C3
เปลีย่ นแปลงรายการในใบอนุญาต /การ (W3)
ขอใบแทนใบอนุ ญาตสถานพยาบาล
4.การจัดสอบเพื่อรับรองผูด้ าํ เนินการใน 0.20
50 60 70 80 90 C4 W4 X C4
สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ (W4)
5.งานตรวจรับรองแบบก่อสร้างอาคาร
สถานบริการสุขภาพที่เอกชนออกแบบที่ 0.20
50 60 70 80 90 C5 W5X C5
มีวงเงินไม่เกิน (W5)
100 ล ้านบาท
นํ้ าหนักรวม ∑ Wi=1 ค่าคะแนนของตัวชี้วดั นี้ เท่ากับ ∑ ( Wi X Ci )

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 10 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักในการรักษาเวลามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

87
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ผลรวมคะแนนเฉลี่ยถ่วงนํ้ าหนัก เท่ากับ :

∑( Wi X Ci ) หรือ (W1 x C1)+ (W2 x C2)+…+(Wi x Ci)


∑ Wi W1+W2+...+...+ Wi

โดยที่ :
นํา้ หนักความสําคัญที่ให้กบั แต่ละงานบริการและผลรวมของนํา้ หนักของทุกงานบริการเท่ากับ
W หมายถึง
1
คะแนนที่ได้จากการเทียบกับร้อยละของผูร้ บั บริการที่ได้รบั บริการตามรอบระยะเวลา
C หมายถึง
มาตรฐานเทียบกับจํานวนผูร้ บั บริการทัง้ หมด
i หมายถึง ลําดับที่ของงานบริการ ; 1,2,…,i

เกณฑ์การให้คะแนน :
ช่วงเกณฑ์การให้คะแนน + / - 1 ต่อ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 ∑( Wi X Ci ) = 1
2 ∑( Wi X Ci ) = 2
3 ∑( Wi X Ci ) = 3
4 ∑( Wi X Ci ) = 4
5 ∑( Wi X Ci ) = 5

แหล่งข้อมูล : กลุม่ งานสถานพยาบาล


กอง การประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
แบบบันทึก/ทะเบียนผูร้ บั บริการ
แบบรายงาน ทุก 6 และ 12 ตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 10 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักในการรักษาเวลามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

88
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :

รอบระยะเวลาที่ ร้อยละของ ร้อยละของ ร้อยละของ ร้อยละของ


ดําเนิ นงานในปี รอบระยะเวลา รอบระยะเวลา รอบระยะเวลา รอบระยะเวลา
งานบริการ พ.ศ.2546 หรือ ที่ลดในปี ที่ลดในปี ที่ลดในปี ที่ลดในปี
ข้อมูลพื้นฐาน พ.ศ.2547 พ.ศ.2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2550
1. การชําระค่าธรรมเนียมประจําปี ของ
60 นาที - 50.0
สถานพยาบาลเอกชน
2. การต่ออายุใบอนุ ญาตดําเนินการสถานพยาบาล
60 นาที - 50.0
เอกชน
3. การต่ออายุใบอนุ ญาตให้ประกอบกิจการ
80 นาที - 62.5
สถานพยาบาลเอกชน
4. การแจ้งเลิกกิจการสถานพยาบาลเอกชนที่ไม่รบั
80 นาที - 50.0
ผูป้ ่ วยค้างคืน (คลินิก)
5. การการทําใบแทนใบอนุ ญาตผูป้ ระกอบโรค
16 วัน - - 50.0
ศิลปะ
6. การแก้ไขหรือเพิ่มเติมรายการในทะเบียนและ
8 วัน - 50.0
ใบอนุ ญาตผูป้ ระกอบโรคศิลปะ
7.การออกหนังสือรับรองการขึ้นทะเบียนผู ้
8 วัน - - 50.0
ประกอบโรคศิลปะ
8. การออกใบอนุ ญาตผูป้ ระกอบโรคศิลปะเป็ น
8 วัน - 50.0
ภาษาอังกฤษ

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 10 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักในการรักษาเวลามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

89
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

รอบระยะเวลาที่ ร้อยละของ ร้อยละของ ร้อยละของ ร้อยละของ


ดําเนิ นงานในปี รอบระยะเวลา รอบระยะเวลา รอบระยะเวลา รอบระยะเวลา
งานบริการ พ.ศ.2546 หรือ ที่ลดในปี ที่ลดในปี ที่ลดในปี ที่ลดในปี
ข้อมูลพื้นฐาน พ.ศ.2547 พ.ศ.2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2550
9. การขอโอนใบอนุ ญาตให้ประกอบกิจการ
สถานพยาบาล / การแก้ไขเปลีย่ นแปลงรายการใน
16 วัน - - - 51.30
ใบอนุ ญาต /การขอใบแทนใบอนุ ญาต
สถานพยาบาล
10. การขอเปลีย่ นผูด้ าํ เนินการสถานพยาบาล
16 วัน - 50.0
เอกชนที่รบั ผูป้ ่ วยค้างคืน (โรงพยาบาล)
11. การขอเปลีย่ นผูด้ าํ เนินการสถานพยาบาล
16 วัน - 50.0
เอกชนที่ไม่รบั ผูป้ ่ วยค้างคืน (คลินิก)
12.การแจ้งเลิกกิจการสถานพยาบาลเอกชนที่รบั
16 วัน - - 50.0
ผูป้ ่ วยค้างคืน (โรงพยาบาล)
13. การขออนุ ญาตประกอบกิจการและดําเนินการ 121 วัน 27.3 47.1
สถานพยาบาลเอกชนที่รบั ผูป้ ่ วยค้างคืน (รพ)
13.1 การอนุ มตั แิ ผนจัดตัง้ สถานพยาบาล 63 วัน 23.8 50.7
13.2 การอนุ ญาตประกอบกิจการและดําเนินการ 68 วัน 31.0 43.1
สถานพยาบาล

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 10 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักในการรักษาเวลามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

90
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

รอบระยะเวลาที่ ร้อยละของ ร้อยละของ ร้อยละของ ร้อยละของ


ดําเนิ นงานในปี รอบระยะเวลา รอบระยะเวลา รอบระยะเวลา รอบระยะเวลา
งานบริการ พ.ศ.2546 หรือ ที่ลดในปี ที่ลดในปี ที่ลดในปี ที่ลดในปี
ข้อมูลพื้นฐาน พ.ศ.2547 พ.ศ.2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2550
14. การขออนุ ญาตประกอบกิจการและดําเนินการ
สถานพยาบาลเอกชนที่ไม่รบั ผูป้ ่ วยค้างคืน 64 วัน 15.60 53.1
(คลินิก) ในเขตกรุงเทพมหานคร
15. การขอเปลีย่ นแปลงการประกอบกิจการ
สถานพยาบาลเอกชนที่ไม่รบั ผูป้ ่ วยค้างคืน 40 วัน - - 50.0
(คลินิก)
16.การขึ้นทะเบียนผูป้ ระกอบโรคศิลปะ สาขารังสี
เทคนิค สาขาจิตวิทยาคลินิก สาขากิจกรรมบําบัด
75 วัน - - 50.0
สาขาเทคโนโลยีหวั ใจและทรวงอก สาขาการแก้ไข
ความผิดปกติของการสื่อความหมาย
16.1 ขอสอบขึ้นทะเบียนและจัดสอบ
16.2 การออกใบอนุ ญาต
17. การขึ้นทะเบียนผูป้ ระกอบโรคศิลปะ สาขา 140 วัน
การแพทย์แผนไทยประยุกต์
- - 50.0
17.1 ขอสอบขึ้นทะเบียนและจัดสอบ 70 วัน
17.2 การออกใบอนุ ญาต 70 วัน

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 10 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักในการรักษาเวลามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

91
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

รอบระยะเวลาที่ ร้อยละของ ร้อยละของ ร้อยละของ ร้อยละของ


ดําเนิ นงานในปี รอบระยะเวลา รอบระยะเวลา รอบระยะเวลา รอบระยะเวลา
งานบริการ พ.ศ.2546 หรือ ที่ลดในปี ที่ลดในปี ที่ลดในปี ที่ลดในปี
ข้อมูลพื้นฐาน พ.ศ.2547 พ.ศ.2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2550
18. การขึ้นทะเบียนผูป้ ระกอบโรคศิลปะสาขา 328 วัน 24.7 63.1 - -
การแพทย์แผนไทย 231 วัน - 38.5 - -
18.1 ขอสอบขึ้นทะเบียนและจัดสอบ 97 วัน - 80.4 - -
18.2 การออกใบอนุ ญาต
19. การออกใบรับรองสถานประกอบการเพื่อ
130 วัน - 50.0 - -
สุขภาพทัง้ 3 ประเภท
20. การจัดสอบเพื่อรับรองผูด้ าํ เนินการในสถาน
142 วัน - - 50.0
ประกอบการเพื่อสุขภาพ
21. การจัดสอบเพื่อรับรองผูใ้ ห้บริการในสถาน
ประกอบการเพื่อสุขภาพทัง้ 3ประเภท ได้แก่
- - -
สปาเพื่อสุขภาพ นวดเพื่อสุขภาพ และนวดเพื่อ 70 วัน -
ไม่ได้จดั สอบ ไม่ได้จดั สอบ ไม่ได้จดั สอบ
เสริมสวย *

22. การให้คาํ ปรึกษาข้อความโฆษณา


76 วัน - - - 76.00
สถานพยาบาลเอกชน
23. การเบิกจ่ายเงินให้บคุ ลภายนอก ** ใช้ระบบ ใช้ระบบ ใช้ระบบ
GFMIS GFMIS GFMIS

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 10 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักในการรักษาเวลามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

92
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

รอบระยะเวลาที่ ร้อยละของ ร้อยละของ ร้อยละของ ร้อยละของ


ดําเนินงานในปี รอบระยะเวลา รอบระยะเวลา รอบระยะเวลา รอบระยะเวลา
งานบริการ พ.ศ.2546 หรือ ที่ลดในปี ที่ลดในปี ที่ลดในปี ที่ลดในปี
ข้อมูลพื้นฐาน พ.ศ.2547 พ.ศ.2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2550
24. งานตรวจรับรองแบบก่อสร้างอาคารสถาน
บริการสุขภาพภาคเอกชนที่มวี งเงินสู งกว่า 100 50 วัน - 50.0
ล ้านบาท
25. งานตรวจรับรองแบบก่อสร้างอาคารสถาน
บริการสุขภาพภาคเอกชนที่มวี งเงินไม่เกิน 100 35 วัน - 51.4
ล ้านบาท

หมายเหตุ * หมายถึง กิจกรรมที่ปจั จุบนั ไม่มีการดําเนิ นการแล้ว


** หมายถึง กิจกรรมที่ดําเนิ นการในระบบระบบ GFMIS

เงื่อนไข
1. ให้ส่วนราชการคัดเลือกกระบวนงานจํานวนไม่นอ้ ยกว่า 5 กระบวนงานจากกระบวนงานที่ส่วนราชการได้นาํ มา
ประเมินผลการปฏิบตั ิราชการ ในปี งบประมาณ พ.ศ.2547 – 2550 และลดระยะเวลาการให้บริการได้ตงั้ แต่
ร้อยละ 30 ขึ้นไปเรียนร้อยแล ้ว เพื่อนํามาประเมินผลในปี งบประมาณ พ.ศ.2551
2. กระบวนงานที่คดั เลือกมาประเมินผลในปี งบประมาณพ.ศ.2551 นี้ตอ้ งเป็ นกระบวนงานหลักที่สาํ คัญของ
หน่วยงาน และมีผูใ้ ช้บริการมาก หรือพิจารณาว่าส่งผลกระทบต่อประชาชนจํานวนมาก หรือมีผูร้ อ้ งเรียน
จํานวนมาก
3. ให้ส่วนราชการระบุนาํ้ หนักที่จดั สรรให้แต่ละกระบวนงานที่ส่วนราชการเสนอเพื่อนําไปประเมินผลใน
ปี งบประมาณพ.ศ.2551 โดยกําหนดให้มกี ารถ่วงนํา้ หนักตามลําดับความสําคัญของกระบวนงาน หากไม่
กําหนดนํ้ าหนัก ให้ถอื ว่าทุกกระบวนงานมีน้ํ าหนักเท่ากัน

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 10 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักในการรักษาเวลามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

93
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

4. สําหรับกระบวนงานของส่วนราชการที่มสี าขาเพื่อให้บริการหลายแห่ง ให้ส่วนราชการดําเนินการรักษามาตรฐาน


ระยะเวลาการให้บริการครบทุกสาขา โดยใช้รอบระยะเวลาเฉลีย่ ของการให้บริการทุกสาขา เป็ นข ้อมูลผลการ
ดําเนินงาน (ทัง้ นี้ ขอให้ส่วนราชการแสดงข ้อมูลผูใ้ ช้บริการและระยะเวลาให้บริการรายกระบวนงานของแต่ละ
สาขาตามแบบฟอร์ม 2 โดยแนบเป็ นเอกสารหลักฐานให้กบั ผูป้ ระเมินมาพร้อมกับรายงานการประเมินผล
ตนเองตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ (Self Assessment Report) รอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน
5. ให้ส่วนราชการเสนอเฉพาะกระบวนงานที่มกี ารปฏิบตั ิอยู่ในส่วนราชการที่ตงั้ อยู่ในส่วนกลาง รวมทัง้ ส่วน
ราชการที่เป็ นราชการส่วนกลางที่ปฏิบตั ิงานสอยู่ในส่วนภูมภิ าค และมีพ้นื ที่รบั ผิดชอบครอบคลุมหลายจังหวัด
ให้นบั เป็ นงานของส่วนกลาง เช่น สํานักประชาสัมพันธ์ เขต 2 ซึ่งมีพ้นื ที่รบั ผิดชอบ 9 จังหวัดเป็ นต้น
6. ให้ส่วนราชการประกาศขัน้ ตอนและระยะเวลาในการบริการในแต่ละกระบวนงานที่เป็ นรอบระยะเวลามาตรฐาน
ให้ประชาชนทราบอย่างชัดเจน

หมายเหตุ
1. ในปี งบประมาณ พ.ศ.2551 กําหนดให้ส่วนราชการจัดเก็บข ้อมูลผลการดําเนินงานจริง 9 เดือน คือตัง้ แต่เดือน
มกราคม 2551 ถึงเดือนกันยายน 2551 เพื่อใช้เป็ นข ้อมูลผลการปฏิบตั ิราชการตามคํารับรองการปฏิบตั ิ
ราชการ และให้ส่วนราชการแนบเอกสารหลักฐานข ้อมูลผูใ้ ช้บริการและระยะเวลาให้บริการรายกระบวนงาน
ตามแบบฟอร์มทัง้ 3 แบบฟอร์ม มาพร้อมกับรายงานการประเมินผลตนเองตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
(Self Assessment Report) รอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน
2. หากส่วนราชการไม่มกี ารประกาศขัน้ ตอนและระยะเวลาการให้บริการในแต่ละกระบวนงานที่เป็ นรอบระยะวลา
มาตรฐานให้ประชาชนทราบอย่างชัดเจน จะถูกปรับลดคะแนนลง 0.5 คะแนน จากคะแนนที่ได้รบั ของตัวชี้วดั
นี้

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายบัญชา ลีลานิภาวรรณ เบอร์ติดต่อ : 0 2951 0199


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางสายสุนีย ์ ชัยชนะ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1997 ต่อ 202, 0 2589 4025
2. นางนิภา ทิพย์พลิ า เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1997 ต่อ 202, 0 2589 4025
3. นายวัฒนา ธนู บรรพ์ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1856
4. นางนัยนา อภิวฒั นพร เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1997 ต่อ 203 - 5
มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ
KPI Template
ประเด็นการประเมินผล : การจัดทําต้นทุนต่อหน่วย
ตัวชี้วดั ที่ 11 ระดับความสําเร็จของการจัดทําต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

94
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

หน่ วยวัด : ระดับความสําเร็จ


นํ้ าหนัก : ร้อยละ 2
คําอธิบาย :
• ความสําเร็จของการจัดทําต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต หมายถึง การที่กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สามารถจัดทําบัญชีตน้ ทุนต่อหน่วยผลผลิตและกิจกรรม เพื่อนําไปสู่การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ

เกณฑ์การให้คะแนน :
กําหนดเป็ นระดับขัน้ ของความสําเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็ น 5 ระดับ พิจารณาจาก
ความก้าวหน้าของขัน้ ตอนการดําเนินงานตามเป้ าหมายแต่ละระดับ ดังนี้
ระดับขัน้ ของความสําเร็จ (Milestone)
ระดับคะแนน
ขัน้ ตอนที่ 1 ขัน้ ตอนที่ 2 ขัน้ ตอนที่ 3 ขัน้ ตอนที่ 4 ขัน้ ตอนที่ 5
1 
2  
3   
4    
5     

โดยที่ :
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 จัดทําบัญชีตน้ ทุนต่อหน่วยผลผลิตของปี งบประมาณ พ.ศ. 2550 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
กรมบัญชีกลางกําหนดได้แล ้วเสร็จ และรายงานผลการคํานวณต้นทุนตามรูปแบบที่
กรมบัญชีกลางกําหนด โดยเสนอให้สาํ นักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสํานักงาน ก.พ.ร.
ทราบ

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 11 ระดับความสําเร็จของการจัดทําต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

95
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
2 เปรียบเทียบผลการคํานวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่างปี งบประมาณ พ.ศ.
2549 และปี งบประมาณ พ.ศ. 2550 ว่ามีการเปลีย่ นแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างไร พร้อมทัง้
วิเคราะห์ถงึ สาเหตุของการเปลีย่ นแปลงดังกล่าว และจัดทํารายงานสรุปผลการวิเคราะห์ตน้ ทุน
ต่อหน่วยผลผลิตได้แล ้วเสร็จ
3 ทบทวนภารกิจ เพื่อจัดทําข ้อมูลผลผลิตย่อยกิจกรรมย่อย พร้อมปริมาณและหน่วยนับทัง้
องค์กร สําหรับปี งบประมาณ พ.ศ. 2551
4 จัดทําบัญชีตน้ ทุนต่อหน่วยผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อย โดยจัดให้มกี ารคํานวณต้นทุน อย่าง
น้อย ดังนี้
1. กิจกรรมของหน่วยงานสนับสนุ น 5 กิจกรรมย่อย
1.1 ด้านการเงินและบัญชี
1.2 ด้านการพัสดุ
1.3 ด้านบริหารบุคคล
1.4 ด้านพัฒนาทรัพยากรบุคคล
1.5 ด้านการตรวจสอบภายใน
2. กิจกรรมของหน่วยงานหลัก 1 กิจกรรมย่อย
3. ผลผลิตย่อย 2 ผลผลิต
และรายงานผลการคํานวณให้สาํ นักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสํานักงาน ก.พ.ร. ทราบ
5 นําผลการดําเนินงานที่ได้จากขัน้ ตอนที่ 2 และขัน้ ตอนที่ 4 ไปกําหนดแนวทางหรือแผนการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการดําเนินงานสําหรับปี งบประมาณ พ.ศ. 2552

แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
สํานักบริหาร โดยกลุม่ ติดตามและประเมินผล รวบรวม และจัดเก็บข ้อมูลผลผลิตรอบระยะเวลา 6
เดือน และ 12 เดือน เพื่อใช้ในการคํานวณต้นทุน ฝ่ ายคลัง จัดทําบัญชีเกณฑ์คงค้างและใช้ข ้อมูลจากระบบ GFMIS
เพื่อใช้คาํ นวณหาต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต

มิติท่ี 3 มิติดา้ นประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิราชการ


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 11 ระดับความสําเร็จของการจัดทําต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

96
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ผลการดําเนิ นงานในอดีต ปี งบประมาณ พ.ศ.
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วดั หน่ วยวัด
2548 2549 2550
ระดับความสําเร็จของการจัดทําต้นทุน ระดับ
ต่อหน่วยผลผลิต ระดับ 4 ระดับ 5 -
ความสําเร็จ

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายจํานงค์ อิ่มสมบูรณ์ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1654


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1.นางสาวอรุณา แสงรัตนโพธิ์สุข เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1682
2. นางสาวลัดดา สว่างวุฒไิ กร เบอร์ติดต่อ : 0 2565 9173
3. พ.จ.อ.หญิง ปราณี รัศมีประเสริฐสุข เบอร์ติดต่อ : 0 2565 9173
4. นางสาวอุษณี ย ์ แจ่มจันทร์ เบอร์ติดต่อ: 0 2590 1682

มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร


KPI Template
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์การ
ตัวชี้วดั ที่ 12 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

97
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

นํ้ าหนัก : ร้อยละ 22


คําอธิบาย :
• ผลจากการดําเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐที่ได้ดาํ เนินการตามตัวชี้วดั ประจําปี
งบประมาณ พ.ศ. 2550 สํานักงาน ก.พ.ร. ได้รบั ฟังความคิดเห็นจากส่วนราชการต่าง ๆ จึงได้นาํ มาปรับปรุงแนวทางการ
ดําเนินการในปี พ.ศ. 2551 โดยเน้นการบูรณาการตัวชี้วดั ที่เกี่ยวข ้องกับการพัฒนาองค์กรนํามาผนวกเข ้ากับตัวชี้วดั การ
พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
• ความแตกต่างของการดําเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐประจําปี งบประมาณ พ.ศ.
2551 ต่างจากปี งบประมาณ พ.ศ. 2550 ดังนี้
1) วิธีการจัดทํารายงานใช้วธิ ีประเมินองค์กรด้วยตนเองจากมาตรฐานที่กาํ หนดไว้ในแต่ละข ้อ
คําถามและส่วนราชการจะต้องให้คะแนนตามข ้อเท็จจริงที่ส่วนราชการได้ดาํ เนินการไปแล ้วตลอดระยะเวลาของ
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 (ซึ่งถือเป็ นการประเมินองค์กรด้วยตนเองขององค์กรไปพร้อมกับการปรับปรุงองค์กร) พร้อม
ทัง้ อ้างอิงหลักฐานในการดําเนินการ ในขณะที่แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเมือ่ ปี งบประมาณ
พ.ศ. 2550 เน้นการรายงานผลที่ผ่านมา (ปี งบประมาณ พ.ศ. 2549) เหตุผลที่ปรับเปลีย่ นเนื่องจากต้องการให้เกิดการ
พัฒนาองค์กรไปพร้อม ๆ กับการประเมินองค์กรด้วยตนเองเมือ่ สิ้นสุดปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 แม ้ว่าในหมวด 7 ผล
การดําเนินการจะยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ก็ตาม ดังนัน้ จึงได้กาํ หนดนํา้ หนักคะแนนในหมวด 7 เพียงร้อยละ 1 เท่านัน้
2) ลดภาระในการจัดทํารายงานผลการดําเนินงาน โดยใช้วธิ ีตรวจประเมินจากมาตรฐานที่กาํ หนด
(Check List) และ ต้องการให้ส่วนราชการได้ศึกษามาตรฐานของแนวทางการบริหารจัดการแบบ “ADLI” กล่าวคือ มี
การบริหารจัดการที่เป็ นระบบแบบแผน (Approach) นําไปใช้อย่างทัว่ ถึง ( Deployment) เกิดการเรียนรู ้ ( Learning)
และบูรณาการเชื่อมโยงสอดคล ้องกัน (Integration) ดังนัน้ จะเป็ นประโยชน์ต่อ ส่วนราชการอย่างยิ่ง หากส่วนราชการ
ดําเนินการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามแนวคิด ADLI ตามที่กาํ หนดในตัวชี้วดั ฯ ในช่วงต้นปี งบประมาณก่อน เพื่อ
หาจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุงและดําเนินการพัฒนาองค์กรตามแนวทางที่กาํ หนด แล ้วเมือ่ สิ้นปี งบประมาณ พ.ศ.
2551 จึงประเมินองค์กรด้วยตนเองอีกครัง้ หนึ่ง เพื่อนําไปสู่การพัฒนาองค์กรในปี ต่อไป
3) การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ได้แบ่งวิธีการดําเนินการออกเป็ น 2 แนวทางแยก
จากกันอย่างชัดเจน กล่าวคือ

มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร


KPI Template
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์การ
ตัวชี้วดั ที่ 12 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

98
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

แนวทางที่ 1 เป็ นการดําเนินการตามตัวชี้วดั ตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ ซึ่งถือว่าเป็ นภาคบังคับที่ทุกส่วน


ราชการจะต้องดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้ได้มาตรฐาน ซึ่งจะกําหนดวิธีการดําเนินการตาม
เอกสารคู่มอื คําอธิบายตัวชี้วดั การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 นอกจากนัน้ ส่วน
ราชการอาจสามารถดําเนินการตาม
แนวทางที2่ การสมัครขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งถือว่าเป็ นภาคสมัครใจ ทัง้ นี้ การ
ดําเนินการตามแนวทางที่ 2 นี้จะอยู่นอกเหนือจากคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ ซึ่งจะมีหลักเกณฑ์และกลไกที่แตกต่าง
จากแนวทางการดําเนินการตามตัวชี้วดั ทัง้ นี้ สํานักงาน ก.พ.ร. จะได้เผยแพร่แนวทางการบริหารรางวัลให้ส่วนราชการ
ต่าง ๆ ทราบต่อไป
• ระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมายถึง ความสําเร็จที่กรม
สนับสนุ นบริการสุขภาพ นําเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งเป็ นกรอบการประเมินระดับมาตรฐานสากลไปใช้
เป็ นกรอบแนวทางในการประเมินองค์กรด้วยตนเอง ( Self-Assessment) และเป็ นบรรทัดฐาน การติดตามและ
ประเมินผลการบริหารจัดการของส่วนราชการ เพื่อปรับปรุงองค์กรและยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการของส่วน
ราชการสู่ระดับมาตรฐานสากล ทัง้ นี้ ตัวชี้วดั นี้ได้ผนวกตัวชี้วดั ย่อยหลาย ๆ ตัว ได้แก่ การจัดการความรู ้ การจัดการ
เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารความเสี่ยง การถ่ายทอดตัวชี้วดั และเป้ าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล การ
พัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล ที่เคยดําเนินการไปแล ้วในช่วง 3 ปี ท่ผี ่านมาไว้ในตัวชี้วดั PMQA โดยในการ
ประเมินจะใช้วธิ ีการให้คะแนนตนเองตามเกณฑ์มาตรฐานที่ ก.พ.ร. กําหนดขึ้นในแต่ละข ้อคําถามในแต่ละหมวด
ดังนัน้ จะเห็นได้ว่าส่วนราชการจะยังคงดําเนินการพัฒนาตามตัวชี้วดั ดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง แต่ประเมินผลโดยตัวชี้วดั
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเท่านัน้
• การดําเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับกรม ให้ดาํ เนินการครอบคลุมทุก
หน่วยงานในราชการบริหารส่วนกลาง รวมถึงราชการบริหารส่วนกลางที่ไปตัง้ อยู ่ในภูมภิ าคด้วย

มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร


KPI Template
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์การ
ตัวชี้วดั ที่ 12 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

99
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพจะดําเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตามแนวทางที่ 1
ซึ่งเป็ นการดําเนินการตามตัวชี้วดั ตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ ซึ่งถือว่าเป็ นภาคบังคับที่ทุกส่วนราชการจะต้อง
ดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้ได้มาตรฐาน ด้วยวิธีการดําเนินการตามกําหนดในเอกสารคู่มอื
คําอธิบายตัวชี้วดั การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 การดําเนินการพัฒนาคุณภาพการ
บริหารจัดการภาครัฐของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ดําเนินการครอบคลุมทุกหน่วยงานในราชการบริหารส่วนกลาง
รวมถึงราชการบริหารส่วนกลางที่ไปตัง้ อยู ่ในภูมภิ าคด้วยกําหนดครอบคลุมทุกหน่วยงานในสังกัดกรมฯ คือ 2 สํานัก
5 กอง 1 สํานักงาน อันได้แก่
(1) สํานักบริหาร
(2) สํานักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
(3) กองสุขศึกษา
(4) กองวิศวกรรมการแพทย์ และศูนย์เขต 9 แห่ง
(5) กองการประกอบโรคศิลปะ
(6) กองแบบแผน
(7) กองสนับสนุ นสุขภาพภาคประชาชน และศูนย์ภาค 5 แห่ง
( 8) สํานักงานส่งเสริมธุ รกิจบริการสุขภาพ
• แนวทางการดําเนินการตามข ้อกําหนดตัวชี้วดั นี้ กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ ได้ปฏิบตั ิตามคู่มอื ของ
สํานักงาน กพร. ซึ่งมีรายละเอียดสําหรับส่วนราชการใช้ในการดําเนินการ แบ่งออกเป็ น 3 ตัวชี้วดั ย่อย ดังนี้

ตัวชี้วดั นํ้ าหนัก


ร้อยละ
12.1 ระยะเวลาการส่งรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเอง
1
ระดับความสําเร็จเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักของความครบถ้วนของการจัดทํา ร้อยละ
12.2
รายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเอง 6
ผลคะแนนจากรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ ร้อยละ
12.3
7 หมวด 15
มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร
KPI Template
ประเด็นการประเมินผล : การบริหารจัดการองค์การ
ตัวชี้วดั ที่ 12 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

100
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ตัวชี้วดั ที่ 12.1 ระยะเวลาการส่งรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเอง


นํ้ าหนัก : ร้อยละ 1
คําอธิบาย :
• พิจารณาจากการจัดทํารายงานผลการดําเนินงานของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามแบบฟอร์มที่
สํานักงาน ก.พ.ร. กําหนดได้อย่างครบถ้วนและส่งรายงานพร้อมแผ่น CD ให้ภารกิจการบริหารการเปลีย่ นแปลงและ
นวัตกรรม สํานักงาน ก.พ.ร. จํานวน 4 ชุด ภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2551 โดยพิจารณาความสําเร็จจากวันที่สาํ นักงาน
ก.พ.ร. ได้รบั รายงานประเมินองค์กรด้วยตนเอง โดยรายงานดังกล่าวต้องได้รบั ความเห็นชอบจาก อธิบดีกรมสนับสนุน
บริการสุขภาพ

เกณฑ์การให้คะแนน :
กําหนดเป็ นระยะเวลาที่สามารถจัดส่งรายงานประเมินองค์กรด้วยตนเอง โดยแบ่งออกเป็ น 5 ระดับ พิจารณา
จากความสําเร็จตามเป้ าหมายแต่ละระดับ ดังนี้
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 28 พ.ย. 2551
2 21 พ.ย. 2551
3 14 พ.ย. 2551
4 7 พ.ย. 2551
5 31 ต.ค. 2551

แนวทางการประเมินผล :
ประเด็นที่พจิ ารณา ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่าง ๆ
ระยะเวลาการส่งงาน เอกสารแสดงวันที่ท่สี าํ นักงาน ก.พ.ร. ได้รบั รายงานการประเมินองค์กรด้วย
ตนเอง ที่ผูบ้ งั คับบัญชาของส่วนราชการให้ความเห็นชอบ ทัง้ นี้ผูป้ ระเมินจะ
ประสานงานกับสํานักงาน กพร. เพื่อตรวจสอบความสอดคล ้องของวันที่ส่วน
ราชการจัดส่งรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองเพื่อพิจารณาให้ผลคะแนน

มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 12 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (ต่อ)
ตัวชี้วดั ที่ 12.2 ระดับความสําเร็จเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักของความครบถ้วนของการจัดทํารายงานการประเมินองค์กรด้วย

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

101
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ตนเอง
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 6
คําอธิบาย :
พิจารณาการจัดทํารายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองที่ครบถ้วนใน 6 ประเด็น ได้แก่ (1)
ลักษณะสําคัญขององค์กร (2) รายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 (3) การแสดงผลกราฟระดับคะแนน
การประเมินองค์กรด้วยตนเองตามรายหัวข ้อ (4) รายงานจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง (5) การจัดลําดับ
ความสําคัญของโอกาสในการปรับปรุงและการจัดทําแผนปรับปรุงองค์กร (6) รายงานการอบรมเกี่ยวกับ PMQA ให้กบั
ผูบ้ ริหารของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

เกณฑ์การให้คะแนน :
การพิจารณาระดับความสําเร็จเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักของความครบถ้วนของการจัดทํารายงานการประเมินองค์กร
ด้วยตนเอง แบ่งเป็ น

นํ้ า เกณฑ์การให้คะแนน
หนัก
การประเมินผล
(ร้อย 1 2 3 4 5
ละ)
1. ความครบถ ้วนของการจัดทํารายงานลักษณะสําคัญขององค์กร(15
1 3 6 9 12 15
คําถาม)
2. ความครบถ ้วนของการจัดทํารายงานประเมินองค์กรด้วยตนเอง
1 30 45 60 75 90
หมวด 1-7 (90 คําถาม) ตามแบบฟอร์มที่กาํ หนด
3. ความครบถ ้วนของการแสดงผลกราฟระดับคะแนนการประเมิน
องค์กรด้วยตนเองตาม 1 5 8 11 14 17
รายหัวข้อตามที่ปรากฏใน 7 หมวด (17 หัวข้อ)
4. ความครบถ ้วนของการจัดทํารายงานจุดแข็งและโอกาสในการ
1 3 4 5 6 7
ปรับปรุง ( 7 หมวด)

มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 12 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (ต่อ)
การประเมินผล นํ้ า เกณฑ์การให้คะแนน

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

102
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

หนัก
(ร้อย 1 2 3 4 5
ละ)
5. ความครบถ ้วนของการจัดทํารายงานการจัดลําดับความสําคัญของ
1 3 4 5 6 7
โอกาสในการปรับปรุงและแผนปรับปรุงองค์กร* ( 7 หมวด)
6. ความครบถ ้วนของการจัดทํารายงานผลการอบรมเกี่ยวกับPMQA
ให้กบั ผูบ้ ริหารของ 1 0 - 1 - 2
ส่วนราชการ (2 ครัง้ )
หมายเหตุ : กรมฯอาจนําโอกาสในการปรับปรุงของบางหมวด มารวมกันเพื่อนําไปจัดทําแผนปรับปรุงองค์กรก็ได้
ทัง้ นี้ ให้ระบุว่าแผนปรับปรุงองค์กรดังกล่าวมาจากโอกาสในการปรับปรุงหมวดใด และหากหมวดใดไม่มโี อกาสในการ
ปรับปรุงหรือแผนปรับปรุงองค์กรในหมวดใด ให้ระบุว่า “ไม่ม”ี
แนวทางการประเมินผล :
แนวทางการประเมินผล
ประเด็นที่พจิ ารณา ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ
ความครบถ้วนของการจัดทํา  พิจารณาจากความครบถ้วนของการจัดทํารายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองซึ่ง
รายงานการประเมินองค์กร หมายถึง ความครบถ้วนของรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองของส่วนราชการ
ด้วยตนเอง และเนื้อหาตามรายละเอียดที่กาํ หนดไว้ ได้แก่
(1) รายงานลักษณะสําคัญขององค์กร จํานวน 15 คําถาม
(2) รายงานประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 จํานวน 90 คําถาม ตาม
แบบฟอร์มที่กาํ หนด
(3) ผลกราฟระดับคะแนนการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามรายหัวข ้อตามที่ปรากฎ
ใน 7 หมวด (17 หัวข ้อ)
(4) รายงานจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง จํานวน 7 หมวด
(5) การจัดลําดับความสําคัญของโอกาสในการปรับปรุงและ แผนปรับปรุง
องค์กร จํานวน 7 หมวด และแผนปรับปรุงองค์กรอย่างน้อย 2 แผน
(6) รายงานผลการจัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับ PMQA ให้กบั ผูบ้ ริหารของส่วนราชการ

มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 12 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (ต่อ)
ตัวชี้วดั ที่ 12.3 ผลคะแนนจากรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ 7 หมวด
ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

103
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

นํ้ าหนัก : ร้อยละ 15


คําอธิบาย :
พิจารณาจากแนวทางการดําเนินการตามตัวชี้วดั นี้ แบ่งออกเป็ น 2 ตัวชี้วดั ย่อย
ตัวชี้วดั นํ้ าหนัก
12.3.1 ผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองเชิงคุณภาพ ร้อยละ 10
ความครบถ้วนของหลักฐานประกอบผลการประเมิน
12.3.2 ร้อยละ 5
องค์กรด้วยตนเอง
ตัวชี้วดั 12.3.1 ผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองเชิงคุณภาพ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 10
คําอธิบาย :
พิจารณาจากการตรวจประเมินผลการดําเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการทัง้
7 หมวด ที่ส่วนราชการได้มกี ารประเมินองค์กรด้วยตนเองและกรอกแบบฟอร์มตามที่ สํานักงาน กพร . กําหนด
การพิจารณาผลคะแนนจากรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ 7 หมวดแบ่งเป็ น
นํ้ าหนัก จํานวน ประเด็นที่ม่งุ เน้น
หมวด
(ร้อยละ) คําถาม ในการตรวจประเมิน
1. การนํ าองค์กร 3 12
2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 2 9 การบริหารความเสี่ยงและการถ่ายทอดตัวชี้วดั และ
เป้ าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
3.การให้ความสําคัญกับผูร้ บั บริการและ 2 11
ผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย
4. การวัด การวิเคราะห์ และจัดการ 3 10 การบริหารจัดการระบบฐานข ้อมูลสารสนเทศและ
ความรู ้ การจัดการความรู ้
5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 2 21 การพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล
6. การจัดการกระบวนการ 2 12
7. ผลลัพธ์การดําเนิ นการ 1 15
15 90
มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 12 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

104
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

หมายเหตุ : ค่านํา้ หนักคะแนนในแต่ละหมวดที่กาํ หนดขึ้นสําหรับตัวชี้วดั ปี 2551 นี้ ให้ความสําคัญตามผลการ


ดําเนินการที่ผ่านมาของส่วนราชการที่ตอ้ งการให้เกิดความต่อเนื่อง จึงให้นาํ้ หนักในหมวด 2 , 4 และ 5
มากกว่าหมวดอื่น ๆ เนื่องจากเป็ นตัวชี้วดั ฯ เดิม ซึ่งนํามาผนวกไว้ในตัวชี้วดั นี้
เกณฑ์การให้คะแนน :
ผลคะแนนการประเมินตนเองตามเกณฑ์ 7 หมวด 90 คําถาม เท่ากับ 100 คะแนน ทัง้ นี้ เมือ่ กรม
สนับสนุนบริการสุขภาพได้ประเมินตนเองแล ้ว จะนําผลที่ได้มาคํานวณคะแนน เพื่อนํามาจัดระดับคะแนนตามตัวชี้วดั
ดังตารางต่อไปนี้

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 ระดับเบื้องต้น 0-10 คะแนน
2 ระดับกําลังพัฒนา 11-20 คะแนน
3 ระดับดีปานกลาง 21-30 คะแนน
4 ระดับดีมาก 31-50 คะแนน
5 ระดับเป็ นเลิศ 51 คะแนนขึ้นไป

ทัง้ นี้ ในการประเมินตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ทัง้ 7 หมวด ดังกล่าว จะ


ปรากฏรายละเอียดอยู่ในคู่มอื คําอธิบายตัวชี้วดั การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปี งบประมาณ พ.ศ. 2551

มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 12 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (ต่อ)
แนวทางการประเมินผล :

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

105
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

แนวทางการประเมินผล
1. ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ
 เอกสาร หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าการดําเนินการของตัวชี้วดั ดังกล่าวได้บรรลุผลตามข ้อมูลที่แจ้งมาจริง เช่น
 คําสัง่ แต่งตัง้ คณะทํางาน
 แผนการดําเนินงานที่ได้รบั ความเห็นชอบจากผูม้ อี าํ นาจ
 รายงานการประชุม
 บันทึกผลการดําเนินงานที่เกี่ยวกับตัวชี้วดั
 ภาพถ่าย
 เอกสารอื่นๆ ที่แสดงถึงการดําเนินงานของตัวชี้วดั
2. ประเมินผลจากข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ
 ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั และคณะทํางานที่เกี่ยวข ้อง
 ผูจ้ ดั เก็บข ้อมูล
3. การสังเกตการณ์
 การจัดเก็บข ้อมูลผลการดําเนินงานตามตัวชี้วดั ดังนี้
 ความถูกต้อง เช่น แบบฟอร์มและเจ้าหน้าที่ท่รี บั ผิดชอบในการตรวจสอบข ้อมูลก่อน และหลังการจัดเก็บ
ทุกครัง้ รวมทัง้ แบบฟอร์ม และเจ้าหน้าที่ท่รี บั ผิดชอบในการสอบถามข ้อมูลต่างๆ จากเจ้าของข ้อมูล
 ความน่าเชื่อถือ เช่น ระบุแหล่งที่มาได้ชดั เจน สามารถสอบยันข ้อมูลกับหน่วยงานเจ้าของข ้อมูลได้มกี ารจัดเก็บเป็ น
ระบบและมีเจ้าหน้าที่รบั ผิดชอบในการจัดเก็บ
 ความทันสมัย เช่น ความถี่ในการปรับปรุงข ้อมูลให้เป็ นปัจจุบนั ทุกครัง้ ที่ข ้อมูลมีการเปลีย่ นแปลงลงในระบบฐานข ้อมู
 ความสามารถในการตรวจสอบได้ เช่น ส่วนราชการมีความพร้อมให้คณะกรรมการฯ ส่วนราชการ ภาคเอกชนและ
ประชาชนตรวจสอบข ้อมูลได้
 สภาพแวดล ้อมของสถานที่ท่ดี าํ เนินการตามกิจกรรม
 การเก็บรักษาและดูแลเอกสาร/ข ้อมูล
 การมีส่วนร่วมของผูบ้ ริหารระดับสูงของส่วนราชการ

มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 12 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

106
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

หมายเหตุ :
การจัดทํารายงานผลการปฏิบตั ิราชการตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ (Self Assessment Report) ขอให้
ส่วนราชการสรุปผลการดําเนินงาน พร้อมแนบตัวอย่างเอกสาร/หลักฐาน หรือสรุปเอกสาร/หลักฐานที่สาํ คัญของตัวชี้วดั มา
ด้วย ส่วนเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข ้องอื่นๆ ที่ไม่ได้จดั ส่งให้สาํ นักงาน ก.พ.ร. ขอให้จดั เตรียมไว้ท่ี
ส่วนราชการเพื่อพร้อมให้ผูป้ ระเมินตรวจสอบหรือขอข ้อมูลเพิ่มเติม

ตัวชี้วดั 12.3.2 ความครบถ้วนของหลักฐานประกอบผลการประเมินองค์กรด้วยตนเอง


นํ้ าหนัก : ร้อยละ 5
คําอธิบาย :
ความครบครบถ้วนของหลักฐานประกอบผลการประเมินองค์กรด้วยตนเอง หมายถึง จํานวนหลักฐาน 40
รายการ ซึ่งรายละเอียดในคู่มอื คําอธิบายตัวชี้วดั การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี งบประมาณ พ.ศ.2551
เกณฑ์การให้คะแนน :
พิจารณาผลคะแนนความครบถ้วนของหลักฐานประกอบผลการประเมินองค์กรด้วยตนเอง แบ่งเป็ น

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 จํานวนหลักฐาน 24 รายการ
2 จํานวนหลักฐาน 28 รายการ
3 จํานวนหลักฐาน 32 รายการ
4 จํานวนหลักฐาน 36 รายการ
5 จํานวนหลักฐาน 40 รายการ

ในการพิจารณารายละเอียดความครบถ้วนของหลักฐานประกอบผลการประเมินองค์กรด้วยตนเอง
ดังกล่าว จะปรากฏรายละเอียดอยู่ในคู่มอื คําอธิบายตัวชี้วดั การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปี งบประมาณ
พ.ศ. 2551

มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 12 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

107
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

เงื่อนไข
• ในการตรวจประเมินผลการดําเนินงานจากรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองของ
ส่วนราชการทัง้ 7 หมวด ที่ปรึกษาจะดําเนินการโดยใช้วธิ ีการตรวจโดยละเอียดทุกขัน้ ตอน หรือสุ่มตรวจประเมินตาม
ความเหมาะสม ทัง้ นี้ ประเด็นที่มงุ่ เน้น จะตรวจประเมินโดยละเอียดทุกขัน้ ตอน ได้แก่
หมวด 2 ในประเด็นเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงและการถ่ายทอดตัวชี้วดั และเป้ าหมาย ของระดับ
องค์กรสู่ระดับบุคคล
หมวด 4 ในประเด็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการระบบฐานข ้อมูลสารสนเทศและการจัดการความรู ้
หมวด 5 ในประเด็นเกี่ยวกับการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล
• ประเด็นข ้อสังเกตที่ไดจากการตรวจประเมินผลการดําเนินงานจากรายงานการประเมิน
องค์กรด้วยตนเองของส่วนราชการ ทัง้ 7 หมวด จะนํามาใช้ประกอบการพิจารณาปรับคะแนน
แนวทางการประเมินผล :
แนวทางการประเมินผล
1. ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ
 เอกสาร หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าการดําเนินการของตัวชี้วดั ดังกล่าวได้บรรลุผลตามข ้อมูลที่แจ้งมาจริง เช่น
 คําสัง่ แต่งตัง้ คณะทํางาน
 แผนการดําเนินงานที่ได้รบั ความเห็นชอบจากผูม้ อี าํ นาจ
 รายงานการประชุม
 บันทึกผลการดําเนินงานที่เกี่ยวกับตัวชี้วดั
 ภาพถ่าย
 เอกสารอื่นๆ ที่แสดงถึงการดําเนินงานของตัวชี้วดั
2. ประเมินผลจากข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องต่างๆ
 ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั และคณะทํางานที่เกี่ยวข ้อง
 ผูจ้ ดั เก็บข ้อมูล

มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 12 ระดับความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

108
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

3. การสังเกตการณ์
 การจัดเก็บข ้อมูลผลการดําเนินงานตามตัวชี้วดั ดังนี้
 ความถูกต้อง เช่น แบบฟอร์มและเจ้าหน้าที่ท่รี บั ผิดชอบในการตรวจสอบข ้อมูลก่อน และหลังการจัดเก็บ
ทุกครัง้ รวมทัง้ แบบฟอร์ม และเจ้าหน้าที่ท่รี บั ผิดชอบในการสอบถามข ้อมูลต่างๆ จากเจ้าของข ้อมูล
 ความน่าเชื่อถือ เช่น ระบุแหล่งที่มาได้ชดั เจน สามารถสอบยันข ้อมูลกับหน่วยงานเจ้าของข ้อมูลได้มกี ารจัดเก็บเป็ น
ระบบและมีเจ้าหน้าที่รบั ผิดชอบในการจัดเก็บ
 ความทันสมัย เช่น ความถี่ในการปรับปรุงข ้อมูลให้เป็ นปัจจุบนั ทุกครัง้ ที่ข ้อมูลมีการเปลีย่ นแปลงลงในระบบฐานข ้อมู
 ความสามารถในการตรวจสอบได้ เช่น ส่วนราชการมีความพร้อมให้คณะกรรมการฯ ส่วนราชการ ภาคเอกชนและ
ประชาชนตรวจสอบข ้อมูลได้
 สภาพแวดล ้อมของสถานที่ท่ดี าํ เนินการตามกิจกรรม
 การเก็บรักษาและดูแลเอกสาร/ข ้อมูล
 การมีส่วนร่วมของผูบ้ ริหารระดับสูงของส่วนราชการ
หมายเหตุ :
การจัดทํารายงานผลการปฏิบตั ิราชการตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ (Self Assessment Report) ขอให้
ส่วนราชการสรุปผลการดําเนินงาน พร้อมแนบตัวอย่างเอกสาร/หลักฐาน หรือสรุปเอกสาร/หลักฐานที่สาํ คัญของตัวชี้วดั มา
ด้วย ส่วนเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข ้องอื่นๆ ที่ไม่ได้จดั ส่งให้สาํ นักงาน ก.พ.ร. ขอให้จดั เตรียมไว้ท่ี
ส่วนราชการเพื่อพร้อมให้ผูป้ ระเมินตรวจสอบหรือขอข ้อมูลเพิ่มเติม

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายกิตติ พิทกั ษ์นิตินนั ท์ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1628


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางผลิดา ภูธรใจ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1741
2. นางปิ ยาภรณ์ นิกข์นิภา เบอร์ติดต่อ : 0 2590 1741
มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร
KPI Template
ประเด็นการประเมินผล : การพัฒนากฎหมาย
ตัวชี้วดั ที่ 13 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนพัฒนากฎหมายของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

109
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

นํ้ าหนัก : ร้อยละ 3


คําอธิบาย :
ความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนพัฒนากฎหมายของของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
โดยพิจารณาความครบถ้วนของการดําเนินการใน 2 ประเด็น ได้แก่
1. ระดับความสําเร็จของการจัดทําแผนพัฒนากฎหมายของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
2. ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักของการดําเนินงานตามแผนพัฒนากฎหมายกรม
สนับสนุนบริการสุขภาพ
ตัวชี้วดั ที่ 13.1 ระดับความสําเร็จของการจัดทําแผนพัฒนากฎหมายของกรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 1
คําอธิบาย :
• พิจารณาจากระดับความสําเร็จของการจัดทําแผนการพัฒนากฎหมายของ กรมสนับสนุน
บริการสุขภาพ กําหนดเป็ นระดับขัน้ ของความสําเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็ น 5 ระดับ
• ส่วนราชการดําเนินการจัดทําแผนพัฒนากฎหมายประจําปี พ.ศ.2551 โดยให้ระบุการดําเนินการ
พัฒนากฎหมายใด สาระสําคัญหรือประเด็นกฎหมายที่จะดําเนินการและเหตุผลในการดําเนินการในแต่ละประเด็นทาง
กฎหมายให้ขดั เจน มีการกําหนดผูร้ บั ผิดชอบและระยะเวลาแล ้วเสร็จ และให้ส่วนราชการดําเนินการให้แล ้วเสร็จภายใน
เดือนธันวาคม พ.ศ.2550
• ส่วนราชการใดที่ได้สาํ รวจ ตรวจสอบกฎหมายหลัก และอนุบญั ญัติท่อี ยู่ในความรับผิดชอบแล ้ว
ปรากฏว่าไม่มกี ฎหมายใดอยู ่ในกรอบนโยบายที่ตอ้ งดําเนินการปรับปรุงพัฒนากฎหมายตามกรอบการจัดทํากฎหมายที่
จะต้องดําเนินการตามรัฐธรรมนู ญ เช่น กฎหมายเพื่ออนุวตั ิการให้เป็ นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนู ญ พ.ศ. 2550
หรือเป็ นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนู ญ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ. 2546 นโยบายของรัฐบาลหรือตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) อาจ
เลือกดําเนินการ ดังนี้

มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 13.1 ระดับความสําเร็จของการจัดทําแผนพัฒนากฎหมายของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (ต่อ)
(1) พัฒนาหรือจัดระบบกฎหมายซึ่งรวมถึงกฎหมายลําดับรองในความรับผิดชอบให้เป็ น

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

110
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ฐานข ้อมูลทางกฎหมายอิเล็กทรอนิกส์และเผยแพร่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่ส่วนราชการและประชาชนทัว่ ไปสามารถ


เข ้าถึงข ้อมูลดังกล่าวได้
(2) ประมวลหรือชําระสะสางมติคณะรัฐมนตรีในความรับผิดชอบ เพื่อให้งา่ ยต่อการใช้หรือ
ปฏิบตั ิงานและสะดวกในการค้นหาของประชาชน
หากส่วนราชการใดไม่มกี ฎหมายที่จะต้องพัฒนา และไม่จาํ เป็ นต้องดําเนินการตามข ้อ (1)
และ (2) ให้ทาํ หนังสือยืนยันกับสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อยกเว้นคํารับรองการปฏิบตั ิราชการสําหรับประเด็น
การประเมินผล การพัฒนากฎหมายดังกล่าว

เกณฑ์การให้คะแนน :
กําหนดเป็ นระดับขัน้ ของความสําเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็ น 5 ระดับ พิจารณาจาก
ความก้าวหน้าของขัน้ ตอนการดําเนินงานตามเป้ าหมายแต่ละระดับ ดังนี้
ระดับขัน้ ของความสําเร็จ (Milestone)
ระดับคะแนน
ขัน้ ตอนที่ 1 ขัน้ ตอนที่ 2 ขัน้ ตอนที่ 3 ขัน้ ตอนที่ 4 ขัน้ ตอนที่ 5
1 
2  
3   
4    
5     

มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 13.1 ระดับความสําเร็จของการจัดทําแผนพัฒนากฎหมายของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (ต่อ)
โดยที่ :

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

111
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
รวบรวมกฎหมายหลักและอนุ บญั ญัติของกระทรวง กรม รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานรัฐทัง้ หมดที่
1 ส่วนราชการรับผิดชอบ โดยจําแนกหมวดหมูว่ ่ากฎหมายหลักฉบับใดมีอนุบญั ญัติใดที่ออกเป็ นไป
ตามกฎหมายหลักฉบับนัน้
สํารวจ ตรวจสอบกฎหมายหลัก และอนุ บญั ญัติท่จี ะต้องดําเนินการยกร่างขึ้นใหม่ แก้ไขเพิ่มเติม
หรือยกเลิกที่อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐทุกแห่ง
ให้สอดคล ้องตามกรอบการจัดทํากฎหมายที่จะต้องดําเนินการตามรัฐธรรมนู ญ พ.ศ. 2550 หรือ
2
ตามที่รฐั ธรรมนู ญกําหนด พระราชกฤษฎีกวา่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่
ดี พ.ศ. 2546 นโยบายของรัฐบาลหรือตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10
(พ.ศ. 2550-2554)
จัดทํารายงานวิเคราะห์กฎหมายและประเด็นทางกฎหมาย ตามกรอบนโยบายที่กาํ หนดไว้ โดยมี
การจัดทําการรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ยู่ใต้บงั คับของกฎหมาย หรือผูม้ สี ่วนได้เสียในกฎหมาย
(Focus group) หรือนําข ้อเสนอจากผลงานวิจยั มาดําเนินการ และนําความเห็นและข ้อเสนอแนะ
3 ของคณะกรรมการพัฒนากฎหมายหรือคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนากฎหมายของส่วนราชก
ไปดําเนินการพัฒนากฎหมายในส่วนที่รบั ผิดชอบไปดําเนินการ หากไม่สามารถดําเนินการได้ตอ้ ง
ชี้แจงเหตุผลประกอบ ซึ่งคณะกรรมการพัฒนากฎหมายหรือคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนา
กฎหมายของส่วนราชการจะเป็ นผูใ้ ห้ความเห็นชอบ
จัดทําแผนการพัฒนากฎหมายประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 โดยระบุกฎหมายที่จะดําเนินการ
พัฒนา สาระสําคัญ/ประเด็นทางกฎหมายที่จะดําเนินการและเหตุผลที่จะดําเนินการในแต่ละ
4
ประเด็นทางกฎหมายแล ้วเสร็จ จัดส่งให้สาํ นักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ภายในวันที่ 28 ธันวาคม
พ.ศ.2550
แผนพัฒนากฎหมายที่ส่วนราชการนําเสนอได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการพัฒนากฎหมาย
5
หรือคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนากฎหมายของส่วนราชการ
หมายเหตุ:
ในกรณี ท่สี ่วนราชการไม่มกี ฎหมายที่ตอ้ งพัฒนาตามหลักเกณฑ์การพัฒนากฎหมายให้แจ้งสํานัก
เลขาธิการคณะรัฐมนตรีทราบเพื่อดําเนินการต่อไป
มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 13.2 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักของการดําเนินงานตามแผนพัฒนากฎหมายของกรม
สนับสนุนบริการสุขภาพ
นํ้ าหนัก : ร้อยละ 2

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

112
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

คําอธิบาย :
• พิจารณาจากผลสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักของการดําเนินการตามขัน้ ตอน (Milestone) ตาม
แผนพัฒนากฎหมายประจําปี พ.ศ. 2551 (ประเมินผลงานถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2551)
ที่ส่วนราชการนําเสนอและคณะรัฐมนตรีได้พจิ ารณาให้ความเห็นชอบแล ้ว โดยแบ่งออกเป็ น 3 กรณี ดังนี้
กรณี ท่ี 1 การดําเนิ นงานตามแผนพัฒนากฎหมายของส่วนราชการปกติ
ตารางและสูตรการคํานวณ :
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของ
นํ้ าหนัก
ความสําเร็จหรือความคืบหน้าที่ปฏิบตั ไิ ด้ตาม คะแนนที่ได้
ลําดับที่ของ ของ
แผนพัฒนากฎหมายของ ของแต่ละ คะแนนเฉลี่ยถ่วงนํ้ าหนัก
ชื่อกฎหมาย แต่ละ
ปี งบประมาณทีท่ าํ การประเมินผล กฎหมาย (Li x Wi)
(i) กฎหมาย
1 2 3 4 5 (Li)
(Wi)
คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
ชื่อกฎหมาย ค่าคะแนนของ (ค่าคะแนนของกฎหมายที่ 1 x นํา้ หนักของ
0.xx 60 70 80 90 100
ที่ 1 กฎหมายที่ 1 กฎหมายที่ 1)
ชื่อกฎหมาย ค่าคะแนนของ (ค่าคะแนนของกฎหมายที่ 2 x นํา้ หนัก
0.xx 60 70 80 90 100
ที่ 2 กฎหมายที่ 2 ของกฎหมายที่ 2)
ชื่อกฎหมาย ค่าคะแนนของ (ค่าคะแนนของกฎหมายที่ i x นํา้ หนักของ
ที่ i 0.xx 60 70 80 90 100 กฎหมายที่ i กฎหมายที่ i)
รวม =1* ผลรวมของ (ค่าคะแนนของกฎหมายที่ 1 x
นํา้ หนักของกฎหมายที่ 1)+ (ค่าคะแนนของ
กฎหมายที่ 2 x นํา้ หนักของกฎหมายที่ 2 )+
(ค่าคะแนนของกฎหมายที่ i x นํา้ หนักของ
กฎหมายที่ i)

* ให้สว่ นราชการกําหนดนํ้ าหนักของแต่ละกฎหมาย โดยให้ผลรวมของนํ้ าหนักของทุกกฎหมายเท่ากับร้อยละ 1

มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 13.2 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักของการดําเนินงานตามแผนพัฒนา กฎหมายของกรม
สนับสนุนบริการสุขภาพ (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

113
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

สูตรการคํานวณ :
ผลรวมของค่าคะแนนเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักของแต่ละกฎหมาย

หรือ
(นํา้ หนักของกฎหมายที่x1คะแนนที่ได้ของกฎหมายที่ 1) + (นํา้ หนักของกฎหมายที
x คะแนนที
่ 2 ่ได้ของกฎหมายที่ 2)
(นํา้ หนักของกฎหมายที่x3คะแนนที่ได้ของกฎหมายที่+3)(นํา้ หนักของกฎหมาย
i x คะแนนที่ได้ของกฎหมายที
i) ่

โดยที่
นํา้ หนักของกฎหมาย หมายถึง นํา้ หนักความสําคัญที่ให้กบั กฎหมายแต่ละฉบับ โดยนํา้ หนักของทุกฉบับ
(Wi) รวมกัน = 1
คะแนนที่ได้ของกฎหมาย หมายถึง คะแนนที่ได้จากการเปรียบเทียบความคืบหน้าที่สามารถปฏิบตั ิได้กบั แผนพัฒนา
(Li) กฎหมายของส่วนราชการที่ได้กาํ หนดไว้ ตามรายละเอียดแผนงาน
i หมายถึง ลําดับที่ของกฎหมาย

เกณฑ์การให้คะแนน :
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 ผลรวมของ (ค่าคะแนนที่ได้ของกฎหมาย x นํา้ หนักของกฎหมาย)= 1
2 ผลรวมของ (ค่าคะแนนที่ได้ของกฎหมาย x นํา้ หนักของกฎหมาย)= 2
3 ผลรวมของ (ค่าคะแนนที่ได้ของกฎหมาย x นํา้ หนักของกฎหมาย)= 3
4 ผลรวมของ (ค่าคะแนนที่ได้ของกฎหมาย x นํา้ หนักของกฎหมาย)= 4
5 ผลรวมของ (ค่าคะแนนที่ได้ของกฎหมาย x นํา้ หนักของกฎหมาย)= 5

มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร


KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 13.2 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักของการดําเนินงานตามแผนพัฒนา กฎหมายของกรม
สนับสนุนบริการสุขภาพ (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

114
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

กรณี ท่ี 2 การพัฒนาหรือจัดระบบกฎหมายซึ่งรวมถึงกฎหมายลําดับรองในความรับผิดชอบให้เป็ นฐานข้อมูลทาง


กฎหมายอิเล็กทรอนิ กส์และเผยแพร่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ ตที่สว่ นราชการและประชาชนทัว่ ไปสามารถเข้าถึงข้อมูล
ดังกล่าวได้
เกณฑ์การให้คะแนน :
ระดับคะแนน ขัน้ ตอนการดําเนิ นงาน
1 ดําเนินการศึกษา ตรวจสอบ วิเคราะห์ในรายละเอียดเชิงโครงสร้างกฎหมาย และอนุ บญั ญัติใน
กฎหมายแม่บทฉบับเดียวแต่ละฉบับ เพื่อการจําแนกข ้อมูลและจัดกลุม่ ข ้อมูลออกเป็ นหมวดหมูต่ าม
ลักษณะของหลักเกณฑ์แต่ละเรื่องพร้อมการยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมซึ่งกันและกัน หรือข ้ามกฎหมาย
ข ้ามอนุบญั ญัติหรือคาบเกี่ยวกัน ในกลุม่ กฎหมายแม่บทรายฉบับที่สาํ คัญ และจัดทํารายละเอียด
โครงการ
2 แปลงข ้อมูลกฎหมาย และอนุบญั ญัติให้เป็ นข ้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบข ้อความ (Text File) ที่
สามารถสืบค้นลึกลงไปในเนื้อหาได้ เพื่อนํามาจัดทําเป็ นข ้อมูลกฎหมาย อนุบญั ญัติ หรือประมวล
กฎหมายฉบับรวมการแก้ไขเพิ่มเติมด้วยระบบงานสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์
3 นําข ้อมูลกฎหมาย และอนุ บญั ญัติท่แี ปลงเป็ นข ้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบข ้อความ (Text File)
แล ้ว เข ้าสู่ฐานข ้อมูลเพื่อนํามาใช้ในการจัดทําเป็ นข ้อมูลกฎหมาย อนุบญั ญัติ หรือประมวลกฎหมาย
ฉบับรวมการแก้ไขเพิ่มเติมด้วยระบบงานสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์
4 พัฒนาหรือจัดหาระบบหรือเครื่องมือสืบค้นข ้อมูลที่ทนั สมัยและเหมาะสมกับลักษณะโครงสร้างข ้อมูล
ในฐานข ้อมูลกฎหมายอิเล็กทรอนิกส์และสามารถสร้างฐานดัชนีข ้อมูลอัตโนมัติเพื่อช่วยเหลือการสืบค้น
เข ้าถึงข ้อมูลกฎหมายในทันทีท่มี กี ารประกาศใช้ยกเลิก หรือแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย และอนุ บญั ญัติมา
ช่วยเพิ่มขีดความสามารถ และประสิทธิภาพแก่การสืบค้น การแสดงผล การปฏิบตั ิงาน และเผยแพร่
การให้บริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแก่ส่วนราชการต่างๆ และประชาชนทัว่ ไปให้มคี วามสมบูรณ์
สะดวก และรวดเร็ว
5 ทดสอบ/นําข ้อมูลกฎหมายตามโครงการฯ ออกเผยแพร่ให้บริการแก่สาธารณะได้ภายในเนื้อหาที่
กําหนดไว้ในโครงการฯ ซึ่งสิ้นสุดภายใน 30 กันยายน 2551

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมินอ้างอิงถึงรายละเอียดที่ปรากฏอยู ่ในภาคผนวก ค ของคู่มอื โครงการสัมมนาทิศทางและ


แนวทางการพัฒนากฎหมายของส่วนราชการประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 จัดทําโดยสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 13.2 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักของการดําเนินงานตามแผนพัฒนา กฎหมายของกรม
สนับสนุนบริการสุขภาพ (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

115
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

กรณี ท่ี 3 การประมวลหรือชําระสะสางมติคณะรัฐมนตรีในความรับผิดชอบ เพื่อให้งา่ ยต่อการใช้หรือปฏิบตั ิงานและ


สะดวกในการค้นหาของประชาชน

เกณฑ์การให้คะแนน :
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 แต่งตัง้ คณะทํางานประมวลหรือชําระสะสางมติคณะรัฐมนตรี มีอาํ นาจหน้าที่ รวมรวม
ตรวจสอบ ศึกษา วิเคราะห์ และจัดหมวดหมูห่ รือจัดประเภทมติคณะรัฐมนตรีให้เป็ น
ระบบ แล ้วเผยแพร่ให้เจ้าหน้าที่ในสังกัดและประชาชนสามารถค้นหาได้โดยสะดวก
2 รวบรวมมติคณะรัฐมนตรีท่อี ยู่ในความรับผิดชอบทัง้ หมดของส่วนราชการ
3 จัดหมวดหมูห่ รือจัดประเภทของมติคณะรัฐมนตรีท่อี ยู่ในความรับผิดชอบของ ส่วน
ราชการ โดยดําเนินการ ดังนี้
3.1 คัดแยกมติคณะรัฐมนตรีท่สี ้นิ สภาพแล ้วออกจากมติคณะรัฐมนตรีท่ยี งั มีผลใช้อยู่
3.2 นํามติคณะรัฐมนตรีท่ยี งั มีผลใช้อยู่มาศึกษา วิเคราะห์ ว่ามติคณะรัฐมนตรีใดบ้างที่
เป็ นเรื่องเดียวกันหรือเกี่ยวข ้องกัน แล ้วนํามารวมกลุม่ ไว้ดว้ ยกัน
3.3 จัดหมวดหมูห่ รือประเภทของมติคณะรัฐมนตรี ตามความเหมาะสม เพื่อให้สะดวก
ต่อการนําไปใช้งาน โดยอาจจําแนกตามเนื้อหาสาระของมติคณะรัฐมนตรี, ภารกิจของ
หน่วยงาน นโยบายรัฐบาล ฯลฯ เป็ นต้น
4 เผยแพร่รายชื่อมติคณะรัฐมนตรีท่ไี ด้จดั หมวดหมูห่ รือประเภทแล ้ว ให้เจ้าหน้าที่ใน
สังกัดและประชาชนสามารถค้นหาได้โดยสะดวก โดยเผยแพร่ในเว็บไซต์ของ ส่วน
ราชการ
5 ส่งรายชื่อมติคณะรัฐมนตรีท่ไี ด้ประมวลหรือชําระสะสางแล ้ว พร้อมทัง้ มติ
คณะรัฐมนตรีท่สี มควรพัฒนาปรับปรุงหรือยกเลิก (ถ้ามี) ให้สาํ นักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรีภายในวันที่ 30 กันยายน 2551
หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมินอ้างอิงถึงรายละเอียดที่ปรากฏอยู ่ในภาคผนวก ง ของคู่มอื โครงการสัมมนาทิศทางและ
แนวทางการพัฒนากฎหมายของส่วนราชการประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 จัดทําโดยสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
มิติท่ี 4 มิติดา้ นการพัฒนาองค์กร
KPI Template
ตัวชี้วดั ที่ 13.2 ระดับความสําเร็จของร้อยละเฉลีย่ ถ่วงนํา้ หนักของการดําเนินงานตามแผนพัฒนา กฎหมายของกรม
สนับสนุนบริการสุขภาพ (ต่อ)

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

116
รายละเอียดตัวชี้ วัดคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ
ประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2551 กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ได้สาํ รวจตรวจสอบกฎหมายหลัก และอนุ บญั ญัติท่อี ยู ่ในความ


รับผิดชอบแล ้ว ปรากฏว่าไม่มกี ฎหมายใดอยู ่ในกรอบนโยบายที่ตอ้ งดําเนินการปรับปรุงพัฒนากฎหมายตามกรอบการ
จัดทํากฎหมายที่จะต้องดําเนินการตามรัฐธรรมนู ญ เช่น กฎหมายเพื่ออนุวตั ิการให้เป็ นไปตามบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนู ญ พ.ศ. 2550 หรือตามที่รฐั ธรรมนู ญกําหนด พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 นโยบายของรัฐบาลหรือตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ (พ.ศ. 10 2550-
2554) จึงเลือก กรณี ท่ี 2 ในการพัฒนาหรือจัดระบบกฎหมายซึ่งรวมถึงกฎหมายลําดับรองในความรับผิดชอบให้เป็ น
ฐานข ้อมูลทางกฎหมายอิเล็กทรอนิกส์และเผยแพร่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่ส่วนราชการและประชาชนทัว่ ไปสามารถ
เข ้าถึงข ้อมูลดังกล่าวได้

วิธีการจัดเก็บข้อมูล เก็บจากระบบรายงาน ระบบติดตาม การเผยแพร่การให้บริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ของ


กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ผูร้ บั ผิดชอบ กลุม่ นิติการ สํานักบริหาร กรมสนับสนุ นบริการสุขภาพ

ความถี่ในการจัดเก็บ ทุก 3 เดือน (รายไตรมาส)

ผูก้ าํ กับดูแลตัวชี้วดั : นายจํานงค์ อิ่มสมบูรณ์ เบอร์ติดต่อ : 02 965 9174


ผูจ้ ดั เก็บข้อมูล : 1. นางจันฑนา จินดาถาวรกิจ เบอร์ติดต่อ : 02 965 9174
2. นายสาโรจน์ ยอดประดิษฐ์ เบอร์ติดต่อ : 02 965 9174

ก.พ.ร.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

117

You might also like