1 บทเรียนสำเร็จรูป ชุดที่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 23

วิชา งานธุรกิจ (ง 43101) เรื่องงานบัญชีเบื้องต้น

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า

บทเรียนสาเร็จรูป ชุดที่ 1

เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี
โดย
นางสาวเสาวภา โสภณ
ครูชานาญการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า
2

คำนำ
ในการจัดทาบทเรียนสาเร็จรูป ประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การ
งานอาชีพและเทคโนโลยี วิชา งานธุรกิจ (ง 43101 ) เรื่ องงานบัญชีเบื้องต้น ฉบับนี้
ผู้จัดทามีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นสื่อ สาหรับการจัดการเรียนการสอน นักเรียน ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6

ซึ่งนักเรียนสามารถ ใช้เป็นสื่อการเรียน รู้ ที่สามารถศึกษา ได้ด้วยตนเอง ตาม


ความสามารถของแต่ละบุคคล ตามความสนใจ ทั้งในและนอกเว ลาเรียน และยัง
สามารถใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ซ่อมเสริมแก่นักเรียนในสามารถเรียนรู้เพิ่มเติมได้ดียิ่งขึ้น
และผู้เรียนสามารถทราบความก้าวหน้าในการเรียนของตนเองได้จากแบบทดสอบก่อน
เรียนและหลังเรียน

โดยบทเรียนสาเร็จรูปเล่มนี้จะแบ่งหน่วยการเรียนรู้ออกเป็น 9 ชุด เพื่อให้นักเรียน


ได้ศึกษาได้ด้วยตัวเองตามลาดับ
สาหรับบทเรียนสาเร็จรูปชุดนี้ คือ ชุดที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี

ผู้จัดทาหวังว่า บทเรียนสาเร็จรูปนี้ จะเป็น ประโยชน์ กับครูผู้สอนและนักเรียนใน


การจัดการเรียนรู้สาหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชี พและเทคโนโลยี วิชางานธุรกิจ
(ง 43101 ) เรื่อง งานบัญชีเบื้องต้น ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งตรงกับการปฏิรูป
การศึกษาของไทยที่มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสมบูรณ์ทั้งด้านสติปัญญา ความรู้ คุณธรรม
จริยธรรม

ผู้จัดทาขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ มีส่วนช่วยเหลือให้บทเรียน
สาเร็จรูปเล่มนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ไว้ ณ โอกาสนี้

นางสาวเสาวภา โสภณ
3

สารบัญ

หน้า
คานา ก
คาแนะนาในการใช้บทเรียนสาเร็จรูป ค
แบบทดสอบก่อนเรียนชุดที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี 1
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนชุดที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี 3
บทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี 4
กรอบเนื้อหาที่ 1 ความหมายของการบัญชี 5
กรอบฝึกหัดที่ 1 5
กรอบเฉลยที่ 1 6
กรอบเนื้อหาที่ 2 ผู้ใช้ข้อมูลทางการบัญชี 6
กรอบฝึกหัดที่ 2 7
กรอบเฉลยที่ 2 8
กรอบเนื้อหาที่ 3 ข้อแนะนาในการเรียนบัญชี 9
กรอบฝึกหัดที่ 3 11
กรอบเฉลยที่ 3 12
แบบฝึกหัดท้ายบท ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี 13
แบบทดสอบหลังเรียนชุดที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี 15
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนชุดที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี 17
บรรณานุกรม 18
4

คาแนะนาในการใช้บทเรียนสาเร็จรูป
1. ลักษณะทั่วไปของบทเรียนสาเร็จรูป
บทเรียนสาเร็จรูปนี้มุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองโดยไม่จากัดเวลา และทา
หน้าที่เหมือนเป็นครูผู้สอนประจาตัวผู้เรียน ผู้เรียนจึงควรปฏิบัติตามคาแนะนาในการเรียนอย่าง
เคร่งครัด
องค์ประกอบของบทเรียนสาเร็จรูป ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ กิจกรรมการ
เรียน และเนื้อหาบทเรียน ซึ่งได้แบ่งออกเป็นส่วน เรียกว่า กรอบ ในแต่ละกรอบประกอบด้วย
เนื้อหา ตัวอย่าง คาอธิบาย ใบงาน เฉลย และแบบทดสอยก่อนเรียนและหลังเรียน โดยให้ผู้เรียน
ศึกษาและทาความเข้าใจไปทีละกรอบตามลาดับ
ผู้เรียนจาเป็นต้องอ่านทุกกรอบของบทเรียน เพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาที่
เรียนได้อย่างต่อเนื่องตามลาดับ
2. เนื้อหาของบทเรียนสาเร็จรูปเพื่อประกอบสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
วิชางานธุรกิจ (ง 43101) เรื่องงานบัญชีเบื้องต้น ประกอบด้วยบทเรียน 9 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี
ชุดที่ 2 สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ (ทุน)
ชุดที่ 3 สมการบัญชีและงบดุล
ชุดที่ 4 รายการค้า
ชุดที่ 5 การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป
ชุดที่ 6 การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
ชุดที่ 7 งบทดลอง
ชุดที่ 8 กระดาษทาการและงบการเงิน
ชุดที่ 9 การปิดบัญชี
3. องค์ประกอบของบทเรียนสาเร็จรูปแต่ละชุดจะมีองค์ประกอบดังนี้
3.1 ทำแบบทดสอบก่อนกำรเรียน
3.2 ศึกษาบทเรียน
3.3 ทากรอบฝึกหัด พร้อมเฉลย
3.4 ทาแบบฝึกหัดท้ายบท พร้อมเฉลย
3.5 ทาแบบทดสอบหลังการเรียน
5

4. ในการเริ่มต้นศึกษาให้นักเรียนปฏิบัติดังนี้
4.1 อ่านคาแนะนาในการใช้บทเรียนให้เข้าใจถึงลักษณะทั่วไป
4.2 ศึกษาเนื้อหาไปตามกรอบที่จัดไว้ตามลาดับ และทากรอบฝึกหัดแล้วจึงตรวจ
คาตอบจากกรอบที่ระบุไว้
4.3 ทาแบบฝึกหัดท้ายบท และแบบทดสอบหลังการเรียน ที่ระบุไว้ในบทเรียน
สาเร็จรูป และตรวจสอบคาตอบ
4.4 ถ้าผู้เรียนมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้บทเรียนสาเร็จรูปสามารถปรึกษา
ผู้สอนได้
4.5 ผู้เรียนจะสามารถเข้าใจเนื้อหาได้ชัดเจนยิ่งขึ้น หากผู้เรียนปฏิบัติตามคาสั่ง
และข้อเสนอแนะที่ระบุไว้ในแต่ละกรอบ แล้วทาแบบฝึกหั ดด้วยตนเอง โดยไม่ดูคาเฉลยก่อนทา
แบบฝึกหัดเสร็จ เพราะการตอบผิดไม่ได้เป็นเรื่องเสียหายแต่จะช่วยปรับปรุงความเข้าใจของผู้เรียน
ให้ดีขึ้น บางครั้งนักเรียนอาจจะไม่เจตนาดูคาตอบ แต่เผอิญเหลือบไปเห็นเข้า จึงขอแนะนาว่าให้
ใช้ไม้บรรทัดวางบังคาตอบไว้ก่อนก็ได้
4.6 เมื่อผู้เรียนศึกษาบทเรียนสาเร็จรูปจบแต่ละชุด ให้นักเรียนทาแบบทดสอบท้าย
ชุดของแต่ละชุด
4.7 ก่อนศึกษาบทเรียนชุดต่อไป นักเรียนควรจะได้ทบทวนบทเรียนที่เรียนไป
แล้ว เพราะจะช่วยให้เข้าใจบทเรียนในชุดต่อไปที่เป็นเนื้อหาที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับบทเรียนเก่า
ได้ง่ายขึ้น
4.8 หากผู้เรียนต้องการฝึกหัดกิจกรรมต่าง ๆ ซ้า ในแต่ละหน่วยการเรียน ผู้เรียน
สามารถขอแบบฟอร์มการฝึกได้เพิ่มเติมที่ผู้สอน
6

แบบทดสอบก่อนเรียนชุดที่ 1 เรือ่ งความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี

คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว

1. การจดบันทึกรายการหรือเหตุการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับการเงินในรูปของเงินตรา จัดแยก


หมวดหมู่ของรายการที่บันทึก สรุปผลและวิเคราะห์ความหมายของรายการที่ได้จด
บันทึกไว้ โดยจัดทาในรูปของรายงานการเงิน เป็นความหมายของข้อใด
1. Accountant 2. Accounting
3. Bookkeeper 4. Bookkeeping
2. ข้อใดมีความหมายตรงกับคาว่า “การทาบัญชี”
1. Accountant 2. Accounting
3. Bookkeeper 4. Bookkeeping
3. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการบัญชี
1. แสดงผลการดาเนินงานในรอบระยะเวลาหนึ่ง
2. แสดงรายการของสินค้า ณ วันใดวันหนึ่ง
3. เพื่อจดบันทึกรายการค้าตามพระราชบัญญัติการบัญชี
4. เพื่อบันทึกหลักฐานทางการเงินของธุรกิจให้เป็นระเบียบและตรวจสอบได้ง่าย
4. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการบัญชี
1. ช่วยให้เขียนจานวนเงินรายรับได้ชัดเจน
2. เพื่อตัดสินใจในการลงทุน
3. เพื่อทราบฐานะทางการเงินของกิจการ
4. เพื่อประเมินผลการดาเนินงานของธุรกิจ
5. ข้อใดไม่ใช่ข้อแนะนาการเรียนบัญชี
1. ทาแบบฝึกหัดด้วยการดูจากเพื่อนๆ
2. ศึกษาเนื้อหาที่เรียนด้วยความรู้ความเข้าใจ
3. เขียนตัวหนังสือให้อ่านง่าย สะอาด เรียบร้อย
4. มีความละเอียดรอบคอบในเรื่องของตัวเลข
7

6. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะการเขียนตัวเลขทางบัญชี
1. 10,500.00 บาท 2. 1,500.50 บาท
3. 10500.— บาท 4. 500.00 บาท
7. วิธีการเขียนวัน เดือน ปี ในรูปของบัญชีที่นิยมตรงกับข้อใด
1. ปี พ.ศ. , เดือน , วันที่ 2. ปี พ.ศ. , วันที่ , เดือน
3. เดือน , วันที่ , ปี พ.ศ. 4. วันที่ , เดือน , ปี พ.ศ.
8. ข้อใดเป็นผู้ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อประเมินผลการดาเนินงานของธุรกิจ
1. เจ้าหนี้ 2. เจ้าของ
3. ผู้ให้กู้ 4. รัฐบาล
9. แม่บทการบัญชีกาหนดขึ้นเพื่อเป็นพื้นฐานของข้อใด
1. การจัดทางบการเงิน 2. การนาเสนองบการเงิน
3. การแปลข้อมูลการเงิน 4. ถูกต้องทั้งข้อ 1 และข้อ 2
10. ข้อใดกล่าวผิด
1. งบการเงิน คือ งบกาไรขาดทุนและงบดุล
2. งบการเงินเป็นการรายงานผลของฐานะทางการเงิน
3. รายงานทางการเงินเป็นขั้นตอนแรกของวิธีการบัญชี
4. Bookkeeping เป็นส่วนหนึ่งของ Accounting

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คะแนนที่ได้ คะแนน
8

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี
ข้อ คำตอบ ข้อ คำตอบ
1 2 6 3
2 4 7 1
3 2 8 2
4 1 9 4
5 1 10 3
9

วิชา งานธุรกิจ ช่วงชั้นที่ 4


รหัสวิชา ง 43101
บทเรียนสาเร็จรูป ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี

หลังจากศึกษาบทเรียนนี้แล้ว นักเรียนสามารถ
1. อธิบายความหมายของการบัญชีได้
2. บอกวัตถุประสงค์และประโยชน์ของการบัญชีได้
3. ปฏิบัติตามข้อแนะนาเกี่ยวกับการเรียนวิชาบัญชีได้

1. ทำแบบทดสอบก่อนกำรเรียน
2. ศึกษาบทเรียน/ทากรอบฝึกหัด
3. ทาแบบฝึกหัดท้ายบท
4. ทาแบบทดสอบหลังการเรียน
5. ถ้าผู้เรียนพบปัญหาหรือมีข้อสงสัย สามารถขอคาแนะนาหรือปรึกษาผู้สอนได้
10

กรอบเนื้อหำที่ 1

สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศ
ไทย ได้ให้ความหมายของการบัญชีไว้ดังนี้
การบัญชี (Accounting) หมายถึง ศิลปะของการเก็บ
รวบรวม บันทึก จาแนก และสรุปข้อมูลอันเกี่ยวกับเหตุการณ์ทาง
เศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงานขั้นสุดท้ายของการบัญชีก็คือการให้
ข้อมูลทางการเงิน ซึ่งเป็นประโยชน์แก่บุคคลหลายฝ่าย และผู้ที่
สนใจในกิจกรรมของกิจการ

กรอบฝึกหัดที่ 1 ทดสอบความสามารถของตนเองโดยการตอบคาถามต่อไปนี้

ให้นักเรียนอธิบายความหมายของคาว่า “การบัญชี” หมายถึงอะไร

ทาได้ใช่ไหมครับ ถูกต้องแน่เลย
ดูกรอบฉลยหน้าถัดไป
11

กรอบเฉลยที่ 1

ให้นักเรียนอธิบายความหมายของคาว่า “การบัญชี” หมายถึงอะไร


ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จาแนก และสรุปข้อมูลอันเกี่ยวกับเหตุการณ์ทาง
เศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงานขั้นสุดท้ายของการบัญชีก็คือการให้ข้อมูลทางการเงิน
ซึ่งเป็นประโยชน์แก่บุคคลหลายฝ่าย และผู้ที่สนใจในกิจกรรมของกิจการ

มาศึกษาเนื้อหากันต่อนะครับ
กรอบเนื้อหำที่ 2
จากความหมายของการบัญชีสรุปได้ว่า การบัญชีมีความหมายที่สาคัญ 2 ประการคือ
1. การทาบัญชี (Bookkeeping) เป็นหน้าที่ผู้ทาบัญชี (Bookkeeper) ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้
1.1 การรวบรวมข้อมูลหรือรายการค้าที่เกิดขึ้นประจาวัน และหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับ
การดาเนินธุรกิจ เช่น หลักฐานการรับเงินและจ่ายเงิน
1.2 การบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งให้ถูกต้องตามหลักการบัญชีพร้อมกัน
บันทึกให้อยู่ในรูปของหน่วยเงินตรา
1.3 การจาแนกให้เป็นหมวดหมู่ของบัญชีประเภทต่าง ๆ เช่น หมวดสินทรัพย์ หนี้สิน
ส่วนของเจ้าของ รายได้และค่าใช้จ่าย
1.4 การสรุปข้อมูลเป็นรายงานทางการเงินซึ่งแสดงถึงผลการดาเนินงานและฐานะ
ทางการเงินของธุรกิจ ตลอดจนการได้มาและใช้ไปเงินสดในรอบระยะเวลาหนึ่ง
2. การให้ข้อมูลทางการเงิน เพื่อประโยชน์แก่บุคคลที่เกี่ยวข้องหลาย ๆ ฝ่าย
ผู้ใช้ข้อมูลทางการบัญชี
ผู้ใช้ ประโยชน์
เจ้าของ, ผู้ถือหุ้น  ประเมินผลการดาเนินงานของธุรกิจ
ผู้ลงทุน  ตัดสินใจเพื่อการลงทุน
การวางแผนและควบคุมให้องค์กรธุรกิจดาเนินธุรกิจไป
ผู้บริหาร 
ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
ลูกจ้าง, สหภาพแรงงาน  ใช้ในการเจรจาต่อรองสัญญาต่าง ๆ
ผู้ให้กู้  ประเมินการให้สินเชื่อ
ส่วนราชการ  ประเมินภาษีที่ต้องจ่าย
12

วัตถุประสงค์ของการบัญชี
1. เพื่อบันทึกหลักฐานต่าง ๆ ของธุรกิจนั้น ๆ ให้เป็น
ระเบียบเพื่อจะได้ดูหรือตรวจสอบได้ง่ายขึ้น
2. เพื่อจะได้ทราบผลกระทบของการดาเนินงานว่ามี
กาไรหรือขาดทุนจากการดาเนินงาน
3. เพื่อทราบฐานะทางการเงินของธุรกิจว่ามีสินทรัพย์
หนี้สิน และส่วนของเจ้าของทุนเป็นจานวนเท่าใด
4. เพื่อให้ถูกต้องตามพระราชบัญญัติการบัญชี

เข้าใจแล้วใช่ไหมครับ
ทาแบบฝึกหัดกันดีกว่า

กรอบฝึกหัดที่ 2 ทดสอบความสามารถของตนเองโดยการตอบคาถามต่อไปนี้

ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ : ผู้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลทางการบัญชีแต่ละกลุ่มใช้ประโยชน์
อย่างไรจากข้อมูลทางการบัญชี

ผู้ใช้ ประโยชน์ที่ได้รับ
เจ้าของ, ผู้ถือหุ้น 
ผู้ลงทุน 
ผู้บริหาร

ลูกจ้าง, สหภาพ

แรงงาน
ผู้ให้กู้ 
ส่วนราชการ 
13

กรอบเฉลยที่ 2

ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ : ผู้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลทางการบัญชีแต่ละกลุ่มใช้ประโยชน์
อย่างไรจากข้อมูลทางการบัญชี

ผู้ใช้ข้อมูลทางการบัญชี
ผู้ใช้ ประโยชน์ที่ได้รับ
เจ้าของ, ผู้ถือหุ้น  ประเมินผลการดาเนินงานของธุรกิจ
ผู้ลงทุน  ตัดสินใจเพื่อการลงทุน
การวางแผนและควบคุมให้องค์กรธุรกิจดาเนินธุรกิจไปตาม
ผู้บริหาร  เป้าหมายที่ตั้งไว้
ลูกจ้าง,
 ใช้ในการเจรจาต่อรองสัญญาต่าง ๆ
สหภาพแรงงาน
ผู้ให้กู้  ประเมินการให้สินเชื่อ
ส่วนราชการ  ประเมินภาษีที่ต้องจ่าย

เพื่อน ๆ ตอบได้ถูกต้องใช่ไหมครับ
ถ้ายังไม่ถูกต้อง ควรกลับไปศึกษา
กรอบความรู้และตอบใหม่อีกครั้งครับ
14

กรอบเนื้อหำที่ 3
ข้อแนะนาในการเรียนบัญชี
1. ศึกษาเนื้อหาที่ต้องเรียนให้เกิดความรู้ความเข้าใจ
2. ทาแบบฝึกหัดด้วยตัวเอง
3. เขียนตัวหนังสือให้อ่านง่าย ชัดเจน และเรียบร้อย
4. มีความละเอียดรอบคอบและมีความถูกต้องในการเขียนตัวเลข ซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นในการ
ทาบัญชี
วิธีการเขียนตัวเลขทางการบัญชี
1. ตัวเลข นิยมเขียนด้วยเลขอารบิค 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
2. ตัวเลขทุกจานวนตั้งแต่ 3 หลักขึ้นไป ให้ใส่เครื่องหมายจุลภาคคั่น ( , ) โดยนับจากจุด
ทศนิยมไปทางซ้ายมือทุก 3 ตัว เช่น
4,321.00
12,345.50
9,876,543.21
3. การเขียนตัวเลขในช่องจานวนเงิน ให้เขียนหลักหน่วยของจานวนบาทชิดเส้นขอบ
ทางด้านขวามือของช่องจานวนเงินบาท เช่น

จานวนเงิน
บาท ส.ต

105 25
254,123 50
1,078,620 .--

4. จานวนสตางค์ให้เขียนลงในช่องสตางค์ ถ้าไม่มีเศษสตางค์ให้ใช้เครื่องหมาย “ .- ” หรือ


เขียนตัวเลข “.00” ก็ได้
5. เขียนตัวเลขหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หรือหลักอื่น ๆ ต้องเขียนให้หลักแต่ละหน่วย
ตรงกันเสมอ
15

6. ถ้าเขียนตัวเลขผิดให้ใช้ปากกาขีดฆ่า โดยใช้ไม้บรรทัดวางแล้วขีดเส้นทับจานวนตัว
เลขที่เขียนผิดแล้วเขียนตัวเลขที่ถูกต้องไว้เหนือจานวนตัวเลขที่เขียนผิด และต้องเซ็นชื่อผู้แก้ไข
กากับทุกครั้ง

12,.300.--
12,500.-- め

7. การเขียน วัน เดือน ปี ตามวิธีการทางบัญชี


7.1 ถ้าอยู่ในหน้าเดียวกันเขียนปี พ.ศ. เพียงครั้งเดียว ในช่อง พ.ศ. ของทุกหน้า
7.2 เดือน นิยมเขียนอักษรย่อของแต่ละเดือน ถ้าอยู่ในหน้าเดียวกันแต่คนละวันที่ให้
เขียนเดือนเพียงครั้งเดียวในแต่ละหน้าบัญชี
7.3 วันที่ ให้เขียนวันที่เรียงตามลาดับเหตุการณ์ ซึ่งเกิดขึ้ นก่อนหลัง

2549
เดือน วันที่
ก.พ. 1
4
7
16

ได้เวลาฝึกสมอง..ประลองปัญญากันแล้ว

กรอบฝึกหัดที่ 3 ทดสอบความสามารถของตนเองโดยการตอบคาถามต่อไปนี้

คาชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. จากข้อมูลต่อไปนี้ ในช่องจานวนเงิน
จานวนเงิน
บาท สต.
21,212 50
517 10
11,751 25
32,123 44
9,600 25
342 .00
425 75
965,005 .--
6,715 37
3 75

ให้ทา 1. แก้ไขจานวนเงินให้ถูกต้องตามหลักการบัญชี
จานวนเงิน 342 บาท แก้ไขเป็น 324 บาท
2. รวมจานวนเงินหลังจากที่ได้แก้ไขตัวเลขแล้ว
2. จากข้อมูลต่อไปนี้ นาไปใส่ไว้ในช่องจานวนเงิน ให้ถูกต้องตามหลักการจัดทาบัญชี
และรวมจานวนเงินให้ถูกต้อง พร้อมขีดเส้นรวมจานวนเงิน
52,750.50 บาท 74.00 บาท 350,420.25 บาท
จานวนเงิน
บาท สต.
17

กรอบเฉลยที่ 3
คาชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคาถมต่อไปนี้
1. จากข้อมูลต่อไปนี้ ในช่องจานวนเงิน
จานวนเงิน
บาท สต.
21,212 50
517 10
11,751 25
32,123 44
9,600 25
324 เสาว
342 .00
425 75
965,005 .--
6,715 37
3 75
1,047,696 .20
ให้ทา 1. แก้ไขจานวนเงินให้ถูกต้องตามหลักการบัญชี จานวนเงิน 342 บาท แก้ไขเป็น 324 บาท
2. รวมจานวนเงินหลังจากที่ได้แก้ไขตัวเลขแล้ว

2. จากข้อมูลต่อไปนี้ นาไปใส่ไว้ในช่องจานวนเงิน ให้ถูกต้องตามหลักการจัดทาบัญชี และรวม


จานวนเงินให้ถูกต้อง พร้อมขีดเส้นรวมจานวนเงิน
52,750.50 บาท 74.00 บาท 350,420.25 บาท
จานวนเงิน
บาท สต.
52,750 .50
74 .00
350,420 .25
403,244 .75

ใครตอบถูก...
ยกมือขึ้นครับ
ขอปรบมือให้....
เก่งจังเลยนะ
ตัวเอง
18

แบบฝึกหัดท้ายบท

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดมีความหมายตรงกับคาว่า “การทาบัญชี”
1. Accountant 2. Accounting
3. Bookkeeper 4. Bookkeeping
2. ข้อใดไม่ใช่เป็นประโยชน์ของการบัญชี
1. ให้เขียนรายการเฉพาะใช้เงินได้ชัดเจน
2. เพื่อตัดสินใจในการลงทุน
3. เพื่อทราบฐานะทางการเงินของกิจการ
4. เพื่อประเมินผลการดาเนินงานของธุรกิจ
3. ข้อใดเป็นผู้ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อพิจารณาการจัดเก็บภาษีของธุรกิจ
1. เจ้าหนี้ 2. เจ้าของ
3. ผู้ให้กู้ 4. หน่วยงานรัฐบาล
4. วิธีการเขียนวัน เดือน ปี ในรูปของบัญชีที่นิยมตรงกับข้อใด
1. ปี พ.ศ. , เดือน , วันที่ 2. ปี พ.ศ. , วันที่ , เดือน
3. เดือน , วันที่ , ปี พ.ศ. 4. วันที่ , เดือน , ปี พ.ศ.
5. ข้อใดไม่ใช่คาแนะนาการเรียนบัญชี
1. ศึกษาเนื้อหาที่เรียนด้วยความรู้ความเข้าใจ
2. ทาแบบฝึกหัดด้วยการดูจากเพื่อนๆ
3. เขียนตัวหนังสือให้อ่านง่าย สะอาด เรียบร้อย
4. มีความละเอียดรอบคอบในเรื่องของตัวเลข
6. ใครใช้ข้อมูลในการเจรจาต่อรองสัญญาต่าง ๆ เพื่อสวัสดิการพนักงาน
1. สหภาพแรงงาน 2. เจ้าของ
3. ผู้ให้กู้ 4. หน่วยงานรัฐบาล
19

7. ข้อใดที่ไม่ควรปฏิบัติในการเขียนตัวเลขในงานบัญชี
1. 555.- 2. 25.75
3. 2,300.- 4. 500000
8. กิจการมีเงินสด 6,000 บาท แล้วจ่ายค่าไฟฟ้า 500 บาท กิจการคงเหลือเงินเท่าไร
1. 6,500 บาท 2. 6,000 บาท
3. 5,500 บาท 4. 500 บาท
9. ข้อใดคือการบัญชี
1. Account 2. Accounting
3 Accounta 4. Accounter
10. ข้อใดเป็นการเขียนลักษณะของเศษสตางค์ถูกต้อง
1. 5000 2. 50.3-
3. 50.- 4. ถูกทุกข้อ

เฉลย : ข้อ 1) ตอบ 4 ข้อ 2) ตอบ 1 ข้อ 3) ตอบ 4 ข้อ 4) ตอบ 1 ข้อ 5) ตอบ 2

เฉลย : ข้อ 6) ตอบ 1 ข้อ 7) ตอบ 4 ข้อ 8) ตอบ 3 ข้อ 9) ตอบ 2 ข้อ 10) ตอบ 3
20

แบบทดสอบหลังเรียนชุดที่ 1 เรือ่ ง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี

คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว

1. การจดบันทึกรายการหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเงินในรูปของเงินตรา จัดแยก
หมวดหมู่ของรายการที่บันทึก สรุปผลและวิเคราะห์ความหมายของรายการที่ได้จด
บันทึกไว้ โดยจัดทาในรูปของรายงานการเงิน เป็นความหมายของข้ อใด
1. Accountant 2. Accounting
3. Bookkeeper 4. Bookkeeping
2. ข้อใดมีความหมายตรงกับคาว่า “การทาบัญชี”
1. Accountant 2. Accounting
3. Bookkeeper 4. Bookkeeping
3. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการบัญชี
1. แสดงผลการดาเนินงานในรอบระยะเวลาหนึ่ง
2. แสดงรายการของสินค้า ณ วันใดวันหนึ่ง
3. เพื่อจดบันทึกรายการค้าตามพระราชบัญญัติการบัญชี
4. เพื่อบันทึกหลักฐานทางการเงินของธุรกิจให้เป็นระเบียบและตรวจสอบได้ง่าย
4. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการบัญชี
1. ช่วยให้เขียนจานวนเงินรายรับได้ชัดเจน
2. เพื่อตัดสินใจในการลงทุน
3. เพื่อทราบฐานะทางการเงินของกิจการ
4. เพื่อประเมินผลการดาเนินงานของธุรกิจ
5. ข้อใดไม่ใช่ข้อแนะนาการเรียนบัญชี
1. ทาแบบฝึกหัดด้วยการดูจากเพื่อนๆ
2. ศึกษาเนื้อหาที่เรียนด้วยความรู้ความเข้าใจ
3. เขียนตัวหนังสือให้อ่านง่าย สะอาด เรียบร้อย
4. มีความละเอียดรอบคอบในเรื่องของตัวเลข
21

6. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะการเขียนตัวเลขทางบัญชี
1. 10,500.00 บาท 2. 1,500.50 บาท
3. 10500.— บาท 4. 500.00 บาท
7. วิธีการเขียนวัน เดือน ปี ในรูปของบัญชีที่นิยมตรงกับข้อ ใด
1. ปี พ.ศ. , เดือน , วันที่ 2. ปี พ.ศ. , วันที่ , เดือน
3. เดือน , วันที่ , ปี พ.ศ. 4. วันที่ , เดือน , ปี พ.ศ.
8. ข้อใดเป็นผู้ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อประเมินผลการดาเนินงานของธุรกิจ
1. เจ้าหนี้ 2. เจ้าของ
3. ผู้ให้กู้ 4. รัฐบาล
9. แม่บทการบัญชีกาหนดขึ้นเพื่อเป็นพื้นฐานของข้อใด
1. การจัดทางบการเงิน 2. การนาเสนงบการเงิน
3. การแปลข้อมูลการเงิน 4. ถูกต้องทั้งข้อ 1 และข้อ 2
10. ข้อใดกล่าวผิด
1. งบการเงิน คือ งบกาไรขาดทุนและงบดุล
2. งบการเงินเป็นการรายงานผลของฐานะทางการเงิน
3. รายงานทางการเงินเป็นขั้นตอนแรกของวิธีการบัญชี
4. Bookkeeping เป็นส่วนหนึ่งของ Accounting

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คะแนนที่ได้ คะแนน
22

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี
ข้อ คำตอบ ข้อ คำตอบ
1 2 6 3
2 4 7 1
3 2 8 2
4 1 9 4
5 1 10 3
23

บรรณานุกรม

เจิมสิริ ศิริวงศ์พากร. 2546. บัญชีเบื้องต้น 1. กรุงเทพฯ : บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด.


นันท์ ศรีสุวรรณ. 2546. บัญชีเบื้องต้น 1. วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี. กรุงเทพฯ : วังอักษร.
บุญสืบ มี้เจริญ และคณะ. 2524. หลักการบัญชี 1. กรุงเทพฯ : บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด.
ปิยลักษณ์ พงศ์ติวัฒนากุล. 2541. การบัญชี 1. วิทยาลัยพณิชยการบางนา. กรุงเทพฯ: ศูนย์รวม
หนังสือกรุงเทพ.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. ธุรกิจทั่วไป. กรุงเทพฯ : บริษัท ธีระฟิล์ม และไซเท็กซ์ จากัด, 2541.
อาชีวศึกษา, กรม. กระทรวงศึกษาธิการ. 2524. การบัญชี 1. กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์คุรุสภา
ลาดพร้าว.
สุพาดา สิริกุตตา. 2531. การบัญชีเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท..

You might also like