Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 30

วิชา งานธุรกิจ (ง 43101) เรื่องงานบัญชีเบื้องต้น

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า

บทเรียนสาเร็จรูป ชุดที่ 5

เรื่อง การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป
โดย
นางสาวเสาวภา โสภณ
ครูชานาญการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า
คำนำ
ในการจัดทาบทเรียนสาเร็จรูป ประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การ
งานอาชีพและเทคโนโลยี วิชา งานธุรกิจ (ง 43101 ) เรื่องงานบัญชีเบื้องต้น ฉบับนี้
ผู้จัดทามีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นสื่อ สาหรับการจัดการเรียนการสอน นักเรียน ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6

ซึ่งนักเรียนสามารถ ใช้เป็นสื่อการเรียน รู้ ที่สามารถศึกษา ได้ด้วยตนเอง ตาม


ความสามารถของแต่ละบุคคล ตามความสนใจ ทั้ง ในและนอกเวลาเรียน และยัง
สามารถใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ซ่อมเสริมแก่นักเรียนในสามารถเรียนรู้เพิ่มเติมได้ดียิ่งขึ้น
และผู้เรียนสามารถทราบความก้าวหน้าในการเรียนของตนเองได้จากแบบทดสอบก่อน
เรียนและหลังเรียน

โดยบทเรียนสาเร็จรูปเล่มนี้จะแบ่งหน่วยการเรียนรู้ออกเป็น 9 ชุด เพื่อให้นักเรียน


ได้ศึกษาได้ด้วยตัวเองตามลาดับ
สาหรับบทเรียนสาเร็จรูปชุดนี้คือ ชุดที่ 5 เรื่อง การบันทึกรายการในสมุดรายวัน
ทั่วไป

ผู้จัดทาหวังว่า บทเรียนสาเร็จรูปนี้ จะเป็น ประโยชน์ กับครูผู้สอนและนักเรียนใน


การจัดการเรียนรู้สาหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชางานธุรกิจ
(ง 43101 ) เรื่อง งานบัญชีเบื้องต้น ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งตรงกับการปฏิรูป
การศึกษาของไทยที่มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสมบูรณ์ทั้งด้านสติปัญญา ความรู้ คุณธรรม
จริยธรรม
ผู้จัดทาขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ทุกท่านที่มีส่วนช่วยเหลือให้บทเรียน
สาเร็จรูปเล่มนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ไว้ ณ โอกาสนี้
นางสาวเสาวภา โสภณ
สารบัญ

หน้า
คานา ก
คาแนะนาในการใช้บทเรียนสาเร็จรูป ค
แบบทดสอบก่อนเรียนชุดที่ 5 เรื่อง การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป 1
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนชุดที่ 5 เรื่อง การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป 3
บทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป 4
กรอบเนื้อหาที่ 1 หลักการบันทึกบัญชี 5
กรอบฝึกหัดที่ 1 8
กรอบเฉลยที่ 1 9
กรอบเนื้อหาที่ 2 สมุดรายวันขั้นต้น 10
กรอบฝึกหัดที่ 2 12
กรอบเฉลยที่ 2 13
กรอบเนื้อหาที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป 14
กรอบฝึกหัดที่ 3 18
กรอบเฉลยที่ 3 19
แบบฝึกหัดท้ายบท เรื่อง การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป 20
แบบทดสอบหลังเรียนชุดที่ 5 เรื่อง การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป 22
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนชุดที่ 5 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป 24
บรรณานุกรม 25
คาแนะนาในการใช้บทเรียนสาเร็จรูป
1. ลักษณะทั่วไปของบทเรียนสาเร็จรูป
บทเรียนสาเร็จรูปนี้มุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองโดยไม่จากัดเวลา และทา
หน้าที่เหมือนเป็นครูผู้สอนประจาตัวผู้เรียน ผู้เรียนจึงควรปฏิบัติตามคาแนะนาในการเรียนอย่าง
เคร่งครัด
องค์ประกอบของบทเรียนสาเร็จรูป ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ กิจกรรมการ
เรียน และเนื้อหาบทเรียน ซึ่งได้แบ่งออกเป็นส่วน เรียกว่า กรอบ ในแต่ละกรอบประกอบด้วย
เนื้อหา ตัวอย่าง คาอธิบาย ใบงาน เฉลย และแบบทดสอยก่อนเรียนและหลังเรียน โดยให้ผู้เรียน
ศึกษาและทาความเข้าใจไปทีละกรอบตามลาดับ
ผู้เรียนจาเป็นต้องอ่านทุกกรอบของบทเรียน เพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาที่
เรียนได้อย่างต่อเนื่องตามลาดับ
2. เนื้อหาของบทเรียนสาเร็จรูปเพื่อประกอบสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
วิชางานธุรกิจ (ง 43101) เรื่องงานบัญชีเบื้องต้น ประกอบด้วยบทเรียน 9 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี
ชุดที่ 2 สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ (ทุน)
ชุดที่ 3 สมการบัญชีและงบดุล
ชุดที่ 4 รายการค้า
ชุดที่ 5 การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป
ชุดที่ 6 การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
ชุดที่ 7 งบทดลอง
ชุดที่ 8 กระดาษทาการและงบการเงิน
ชุดที่ 9 การปิดบัญชี
3. องค์ประกอบของบทเรียนสาเร็จรูปแต่ละชุดจะมีองค์ประกอบดังนี้
3.1 ทาแบบทดสอบก่อนการเรียน
3.2 ศึกษาบทเรียน
3.3 ทากรอบฝึกหัด พร้อมเฉลย
3.4 ทาแบบฝึกหัดท้ายบท พร้อมเฉลย
3.5 ทาแบบทดสอบหลังการเรียน
4. ในการเริ่มต้นศึกษาให้นักเรียนปฏิบัติดังนี้
4.1 อ่านคาแนะนาในการใช้บทเรียนให้เข้าใจถึงลักษณะทั่วไป
4.2 ศึกษาเนื้อหาไปตามกรอบที่จัดไว้ตามลาดับ และทากรอบฝึกหัดแล้วจึงตรวจ
คาตอบจากกรอบที่ระบุไว้
4.3 ทาแบบฝึกหัดท้ายบท และแบบทดสอบหลังการเรียน ที่ระบุไว้ในบทเรียน
สาเร็จรูป และตรวจสอบคาตอบ
4.4 ถ้าผู้เรียนมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้บทเรียนสาเร็จรูปสามารถปรึกษา
ผู้สอนได้
4.5 ผู้เรียนจะสามารถเข้าใจเนื้อหาได้ชัดเจนยิ่งขึ้น หากผู้เรียนปฏิบัติตามคาสั่ง
และข้อเสนอแนะที่ระบุไว้ในแต่ละกรอบ แล้วทาแบบฝึกหัดด้วยตนเอง โดยไม่ดูคาเฉลยก่อนทา
แบบฝึกหัดเสร็จ เพราะการตอบผิดไม่ได้เป็นเรื่องเสียหายแต่จะช่วยปรับปรุงความเข้าใจของผู้เรียน
ให้ดีขึ้น บางครั้งนักเรียนอาจจะไม่เจตนาดูคาตอบ แต่เผอิญเหลือบไปเห็นเข้า จึงขอแนะนาว่าให้
ใช้ไม้บรรทัดวางบังคาตอบไว้ก่อนก็ได้
4.6 เมื่อผู้เรียนศึกษาบทเรียนสาเร็จรูปจบแต่ละชุด ให้นักเรียนทาแบบทดสอบท้าย
ชุดของแต่ละชุด
4.7 ก่อนศึกษาบทเรียนชุดต่อไป นักเรียนควรจะได้ทบทวนบทเรียนที่เรียนไป
แล้ว เพราะจะช่วยให้เข้าใจบทเรียนในชุดต่อไปที่เป็นเนื้อหาที่ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับบทเรียนเก่า
ได้ง่ายขึ้น
4.8 หากผู้เรียนต้องการฝึกหัดกิจกรรมต่าง ๆ ซ้า ในแต่ละหน่วยการเรียน ผู้เรียน
สามารถขอแบบฟอร์มการฝึกได้เพิ่มเติมที่ผู้สอน
แบบทดสอบก่อนเรียนชุดที่ 5 เรือ่ ง การบันทึกรายการสมุดรายวันทั่วไป
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดไม่ใช่สมุดรายวันขั้นต้น
1. สมุดรายวันทั่วไป 2. สมุดรายวันขาย
3. สมุดรายวันซื้อ 4. สมุดบัญชีแยกประเภท
2. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของสมุดรายวันทั่วไป
1. ช่วยในการวิเคราะห์รายการค้า
2. บอกฐานะทางการเงินของกิจการ
3. ช่วยในการผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท
4. ช่วยตรวจสอบความครบถ้วนของรายการได้

จากข้อมูลต่อไปนี้ใช้สาหรับตอบคาถามข้อ 3 ถึงข้อ 7
(1) (7)

(2) (3) (4) (5) (6)

ตัวเลือกต่อไปนี้ใช้สำหรับตอบข้อ 3 ถึงข้อ 7
1. วัน/เดือน/ปี
2. สมุดรายวันทั่วไป
3. เขียนเลขที่บัญชี
4. เขียนชื่อบัญชีที่เดบิต, เครดิต
3. หมายเลข 2 ใช้สาหรับเขียนรายการใด
4. หมายเลข 1 ใช้สาหรับเขียนรายการใด
5. การเขียนคาอธิบายรายการจะเขียนส่วนใด
1. ช่องเลขที่ 2. ช่องอ้างอิง
3. ช่องรายการบรรทัดที่ 3 4. ส่วนบนของสมุด
6. Opening Entry หมายถึงข้อใด
1. การบันทึกขั้นต้น 2. การเปิดบัญชี
3. การวิเคราะห์รายการ 4. หลักการบัญชีคู่
7. การแบ่งประเภทของบัญชีแบ่งได้กี่หมวด
1. 3 หมวด 2. 4 หมวด
3. 5 หมวด 4. 6 หมวด
8. ข้อใดเป็นหลักการวิเคราะห์รายการค้า
1. สินทรัพย์เพิ่ม ส่วนของเจ้าของเพิ่ม
2. สินทรัพย์ลด ส่วนของเจ้าของลด
3. สินทรัพย์อย่างหนึ่งเพิ่ม สินทรัพย์อย่างหนึ่งลด
4. ถูกทุกข้อ
9. ข้อใดถูกทุกข้อ
1. เดบิต เครดิต 2. เดบิต เครดิต
สินทรัพย์ + - ทุน + -
หนี้สิน - + รายได้ + -
ทุน - + ค่าใช้จ่าย - +

3. เดบิต เครดิต 4. เดบิต เครดิต


รายได้ + - ทุน - +
ค่าใช้จ่าย - + รายได้ + -
สินทรัพย์ + - ค่าใช้จ่าย - +

10. กิจการซื้ออุปกรณ์การซ่อมเป็นเงินเชื่อจะกาหนดชื่อบัญชีที่เกี่ยวข้องได้แก่บัญชี
อะไรบ้าง
1. บัญชีอุปกรณ์ซ่อม, บัญชีซื้อ 2. บัญชีสินทรัพย์, บัญชีเงินเชื่อ
3. บัญชีอุปกรณ์ซ่อม, บัญชีเจ้าหนี้ 4. บัญชีซื้อ, บัญชีเจ้าหนี้

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คะแนนที่ได้ คะแนน
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป
ข้อ คำตอบ ข้อ คำตอบ
1 4 6 2
2 2 7 3
3 1 8 4
4 2 9 1
5 3 10 3
วิชา งานธุรกิจ ช่วงชั้นที่ 4
รหัสวิชา ง 43101
บทเรียนสาเร็จรูป ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป

หลังจากศึกษาบทเรียนนี้แล้ว นักเรียนสามารถ
1. บอกหลักการในการบันทึกบัญชี
2. บอกความหมายของคาว่าเดบิต และเครดิต ได้
3. บอกหลักการบันทึกบัญชีตามหลักบัญชีคู่ได้
4. บอกความหมายและประโยชน์ของสมุดรายวันทั่วไป
5. บันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปได้

1. ทาแบบทดสอบก่อนการเรียน
2. ศึกษาบทเรียน/ทากรอบฝึกหัด
3. ทาแบบฝึกหัดท้ายบท
4. ทาแบบทดสอบหลังการเรียน
5. ถ้าผู้เรียนพบปัญหาหรือมีข้อสงสัย สามารถขอคาแนะนาหรือปรึกษาผู้สอนได้
กรอบเนื้อหำที่ 1

เมื่อมีรายการค้าเกิดขึ้นจะต้องทาการวิ เคราะห์รายการค้าว่ามีผลระทบต่อสินทรัพย์ หนี้สิน


ส่วนของเจ้าของ(ทุน) รายได้ และค่าใช้จ่าย พร้อมกับจดบันทึกรายค้าที่วิเคราะห์ ตามหลักการของ
การบันทึกบัญชี
1. ระบบบัญชีเดี่ยว เป็นวิธีการบันทึกบัญชีเพียงด้านเดียว คือ ด้านเดบิตหรือด้านเครดิต
จะบันทึกเฉพาะรายการในบัญชีเงินสด และนิยมใช้ในกิจการขนาดเล็กที่เจ้าของเป็นผู้บันทึกเอง
2. ระบบบัญชีคู่ การบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่แต่ละรายการจะเกี่ยวข้องกับบัญชีสอง
ด้าน คือ บันทึกด้านเดบิตบัญชีหนึ่งและบันทึกด้านเครดิต ด้วยจานวนเงินที่เท่ากันอันจะมีผลทาให้
เกิดดุลในตัวเอง นอกจากนั่นเมื่อบันทึกรายการค้าเรียบร้อยแล้วยอดคงเหลือของแต่ละบัญชีที่มียอด
ดุลเดบิต เมื่อนามารวมกันจะเท่ากับยอดคงเหลือของแต่ละบัญชีที่มียอดดุลเครดิต ซึ่งเป็นไปตาม
หลักสมการบัญชีที่ว่า สินทรัพย์ = หนี้สินและทุน

การวิเคราะห์รายการค้า
ความหมายของคาว่า เดบิตและเครดิต
สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีอนุญาตแห่งประเทศไทย ได้ให้ความหมายของคาว่าเดบิต
และเครดิต ดังนี้
เดบิต (Debit) หรือสามารถใช้ตัวย่อว่า Dr. หมายถึง
1. จานวนเงินที่แสดงทางด้านซ้ายของบัญชี
2. การลงรายการทางด้านซ้ายของบัญชี หรือการผ่านบัญชีอันกระทาให้สิ นทรัพย์หรือ
ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
3. การลงรายการทางด้านซ้ายของบัญชีหรือการผ่านบัญชีอันกระทาให้หนี้สินรายการ
เงินทุน หรือรายได้ลดลง
ด้านเครดิต (Credit) หรือสามารถใช้ตัวย่อว่า Cr. หมายถึง
1. จานวนเงินที่แสดงทางด้านขวาของบัญชี
2. การลงรายการทางด้านขวาของบัญชี หรือการผ่านบัญชีอันกระทาให้สินทรัพย์หรือ
ค่าใช้จ่ายลดลง
3. การลงรายการทางด้านขวาของบัญชี หรือการผ่านบัญชีอันกระทาให้หนี้สิน รายการ
เงินทุน หรือรายได้เพิ่มขึ้น
ผลต่างระหว่างจานวนรวมด้านเดบิต และจานวนเงินทางด้านเครดิตของแต่ละบัญชี เรียก
กว่า ยอดคงเหลือในบัญชีหรือยอดดุลบัญชี (Account balance) แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
1. ยอดดุลเดบิต (Debit balance) หมายถึง ผลต่างระหว่างจานวนเงินรวมด้านเดบิตที่
มากกว่าจานวนเงินรวมด้านเครดิต
2. ยอดดุลเครดิต (Credit balance) หมายถึง ผลต่างระหว่างจานวนเงินรวมด้านเครดิตที่
มากกว่าจานวนเงินรวมด้านเดบิต
หลักการบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่ การบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่ มีหลักดังนี้

1. หมวดสินทรัพย์ แทนหมวดบัญชีด้วยเลข 1
สินทรัพย์
เดบิต เครดิต
การบันทึกรายค้าทางด้านนี้ แสดงการเพิ่มของสินทรัพย์ บันทึกรายการลดลงของสินทรัพย์

2. หมวดบัญชีหนี้สิน แทนหมวดบัญชีด้วยเลข 2
หนี้สิน
เดบิต เครดิต
บันทึกการลดลงของหนี้สิน การบันทึกรายค้าทางด้านนี้ แสดงการเพิ่มของหนี้สิน

3. หมวดบัญชีส่วนของเจ้าของ (ทุน) แทนหมวดบัญชีด้วยเลข 3


ส่วนของเจ้าของ (ทุน)
เดบิต เครดิต
การบันทึกรายค้าทางด้านนี้ แสดงการลดลงของส่วนของ การบันทึกรายค้าทางด้านนี้ แสดงการเพิ่มของส่วนของเจ้าของ
เจ้าของ เช่น การถอนเงินใช้ส่วนตัว เช่น การลงทุนเพิ่ม

4. หมวดรายได้ แทนหมวดบัญชีด้วยเลข 4
รายได้
เดบิต เครดิต
รายการที่ทาให้ส่วนของเจ้าของลดลง โดยการหักรายได้ให้ รายการที่ทาให้ส่วนของเจ้าของกิจการเพิ่ม แต่เป็นรายได้
บันทึกทางด้านนี้ ให้บันทึกทางด้านนี้

5. หมวดค่าใช้จ่าย แทนหมวดบัญชีด้วยเลข 5
ค่าใช้จ่าย
เดบิต เครดิต
รายการที่ทาให้ส่วนของเจ้าของลดลง แต่เป็นรายจ่ายให้บันทึก รายการที่ทาให้ส่วนของเจ้าของกิจการเพิ่ม แต่เป็นการหัก
ทางด้านนี้ รายจ่ายให้บันทึกทางด้านนี้
ทดสอบความสามารถของตนเองโดยการตอบคาถามต่อไปนี้
กรอบฝึกหัดที่ 1
ให้นักเรียนสรุปหลักการบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่ลงในตารางที่กาหนดไว้

หมวดบัญชี ผลการวิเคราะห์รายการค้า มีรูปแบบการบันทึกบัญชีด้านใด


ตามหลักการบันทึกบัญชี
สินทรัพย์เพิ่ม
1. สินทรัพย์
สินทรัพย์ลด
หนี้สินเพิ่ม
2. หนี้สิน
หนี้สินลด
ส่วนของเจ้าของ (ทุน) เพิ่ม
3. ส่วนของเจ้าของ (ทุน)
ส่วนของเจ้าของ (ทุน) ลด
รายได้ เพิ่ม
4. รายได้
รายได้ ลด
ค่าใช้จ่าย เพิ่ม
5. ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่าย ลด

ทาได้ใช่ไหมครับ พยายามหน่อยนะครับ
ถ้าทาเสร็จแล้ว
ก็ไปดูกรอบเฉลยหน้าถัดไป
กรอบเฉลยที่ 1 ทดสอบความสามารถของตนเองโดยการตอบคาถามต่อไปนี้

ให้นักเรียนสรุปหลักการบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่ลงในตารางที่กาหนดไว้
หมวดบัญชี ผลการวิเคราะห์รายการค้า มีรูปแบบการบันทึกบัญชีด้านใด
ตามหลักการบันทึกบัญชี
สินทรัพย์เพิ่ม เดบิต
1. สินทรัพย์
สินทรัพย์ลด เครดิต
หนี้สินเพิ่ม เดบิต
2. หนี้สิน
หนี้สนิ ลด เครดิต
ส่วนของเจ้าของ (ทุน) เพิ่ม เครดิต
3. ส่วนของเจ้าของ (ทุน)
ส่วนของเจ้าของ (ทุน) ลด เดบิต
รายได้ เพิ่ม เครดิต
4. รายได้
รายได้ ลด เดบิต
ค่าใช้จ่าย เพิ่ม เดบิต
5. ค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่าย ลด เครดิต

เก่งมากครับ แต่ถ้ายังจาไม่ได้ต้องกลับไปดู
หลักการบันทึกบัญชีใหม่นะครับ แล้วค่อย
ศึกษากรอบเนื้อหาต่อไป

และผมยังมีสรุปรูปแบบการบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่ของแต่ละบัญชีแยกประเภท ตามรูปแบบรายการเพิ่มขึ้น ลดลง


ของรายการเดบิต เครดิต และยอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภทมาให้ดูเพิ่มเติมด้วยนะครับ
สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้ ค่าใช้จ่าย
เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต
รายการเพิ่ม + + + + +
รายการลด - - - - -
ยอดคงเหลือ * * * * *
กรอบเนื้อหำที่ 2
ต่อไปนี้เรามาศึกษาเรื่องการ
บันทึกรายการค้า
ในสมุดรายวันทั่วไปนะครับ

สมุดรายการขั้นต้น
สมุดรายการขั้นต้น เป็นสมุดที่ใช้บันทึกรายการค้าตามลาดับวันที่ที่เกิดขึ้นของทุก
รายการของกิจการและเป็นสื่อระหว่างรายการค้ากับบัญชีแยกประเภท การบันทึกรายการใน
สมุดรายวันจะนารายการค้าที่เกิดขึ้นมาวิเคราะห์และบันทึกรายการค้าทั้งหมดไว้ในที่เดียวกัน
โดยแสดงให้เห็นบัญชีที่เกี่ยวข้องและจานวนเงินทั้งด้านเดบิตและด้านเครดิต โดยอาศัยหลักการ
ระบบบัญชีคู่พร้อมทั้งอธิบายสาเหตุที่เกิดรายการนั้นด้วย

สมุดรายวันทั่วไป (General journal)


สมุดรายวันทั่วไป เป็นสมุดรายการขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นทันที โดย
บันทึกเรียงลาดับวันที่ที่เกิดรายการค้าขึ้น การบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นโดยเดบิตบัญชีหนึ่ง
และเครดิตอีกบัญชีหนึ่งไว้ด้วยกัน ซึ่งต้องบันทึกตามหลักการบัญชีคู่ พร้อมทั้งอธิบายลักษณะ
ของรายการค้าที่เกิดขึ้นโดยย่อ

ประโยชน์การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
1. ทาให้ทราบความเคลื่อนไหวของรายการค้าที่เกิดขึ้นเรียงตามลาดับก่อนหลัง
2. ทาให้ทราบผลการวิเคราะห์รายการค้า และช่วยลดข้อผิดพลาดในการบันทึกบัญชี
3. ช่วยในการประหยัดเวลาในการผ่านรายการไปยังสมุดบัญชีขั้นต่อไปซึ่งได้แก่สมุด
บัญชีแยกประเภท
4. ช่วยในการค้นหาข้อมูลได้สะดวก ทาให้มีข้อมูลยืนยันและอ้างอิงการวิเคราะห์
รายการค้าที่เกิดขึ้น
แบบฟอร์มของสมุดรายวันทั่วไป
(1) สมุดรายวันทั่วไป (2) หน้า ....
วัน เดือน ปี หน้า เดบิต เครดิต
รายการ
25... วันที่ บัญชี บาท ส.ต. ส.ต.

(3) (4) (5) (6) (7)

จากแบบฟอร์มของสมุดรายวันทั่วไปอธิบายได้ดังนี้
(1) เขียนคาว่า สมุดรายวันทั่วไป
(2) หน้าของสมุดรายวันทั่วไป ใช้เขียนเลขหน้าของสมุดรายวันทั่วไปว่าเป็นหน้าที่เท่าไร
(3) ช่อง วัน เดือน ปี ใช้สาหรับเขียนวัน เดือน ปี ของรายการที่เกิ ดขึ้น
(4) ช่องรายการ สาหรับบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นว่าจะเดบิตและเครดิตบัญชีอะไร โดยจะเขียน
รายการที่เดบิตชิดเส้นวันที่ และรายการที่เครดิตเขียนย่อหน้าเข้าไปพอสวยงาม และในบรรทัดถัดไปจะ
เขียนคาอธิบายรายการค้าที่เกิดขึ้นย่อ ๆ พอเข้าใจ
(5) ช่องเลขที่บัญชี ใช้สาหรับลงเลขที่ของบัญชีแยกประเภท ที่เรานารายการจากสมุดรายวัน
ทั่วไป ผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวข้อง
(6) ช่องจานวนเงินเดบิต ใช้สาหรับลงจานวนเงินเดบิต
(7) ช่องจานวนเงินเครดิต ใช้สาหรับลงจานวนเงินเครดิต

การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
หลังจากวิเคราะห์รายการค้าที่เกิดขึ้นทราบผลว่าจะเดบิตและเครดิตบัญชีใดแล้ว จะนาผลการ
วิเคราะห์ไปบันทึกในสมุดรายวันทั่วไป เรียงตามลาดับ ดังนี้
1. เขียนคาว่า "สมุดรายวันทั่วไป" และเขียนหน้าของสมุดรายวันทั่วไปเรียงตามลาดับ
2. เขียน พ.ศ…..เดือน….วันที่…….ตามลาดับรายการค้าที่เกิดขึ้น
3. ในช่องรายการ เขียนชื่อบัญชีที่เดบิตชิดเส้นทางซ้ายพร้อมทั้งบันทึกจานวนเงินในช่องเดบิต
และเขียนชื่อบัญชีที่เครดิตเยื้องไปทางขวาเล็กน้อย พร้อมทั้งบันทึกจานวนเงินในช่องเครดิต
5. เขียนคาอธิบายรายการไว้ในบรรทัดถัดมา (ต่อจากบรรทัดรายการที่เครดิต ) ให้ชัดเจนรัดกุมได้
ความหมายที่ถูกต้อง เมื่อเขียนคาอธิบายรายการจบให้ขีดเส้นคั่นรายการ
6. เขียนเลขที่บัญชีแยกประเภท เมื่อผ่านรายการจากสมุดรายวันทั่วไป ไปยังบัญชีแยกประเภท
ได้เวลาทาแบบฝึกอีกแล้วนะครับ

กรอบฝึกหัดที่ 2 ทดสอบความสามารถของตนเองโดยการตอบคาถามต่อไปนี้

ข้อ 1) สมุดรายวันทั่วไป คืออะไร

ข้อ 2) จากแบบฟอร์มของสมุดรายวันทั่วไป ให้บอกส่วนประกอบของสมุดรายวันทั่วไป


(1) สมุดรายวันทั่วไป (2) หน้า ....
วัน เดือน ปี หน้า เดบิต เครดิต
รายการ
25... วันที่ บัญชี บาท ส.ต. ส.ต.

(3) (4) (5) (6) (7)

หมายเลข 1 ได้แก่ หมายเลข 5 ได้แก่


หมายเลข 2 ได้แก่ หมายเลข 6 ได้แก่
หมายเลข 3 ได้แก่ หมายเลข 7 ได้แก่
หมายเลข 4 ได้แก่
เป็นอย่างไรบ้างครับ…
ไม่ยากเลยใช่ไหม
ขอปรบมือให้.เก่งจังเลยนะ
ไปดูเฉลยกันได้เลย

ทดสอบความสามารถของตนเองโดยการตอบคาถามต่อไปนี้
กรอบเฉลยที่ 2

ข้อ 1) สมุดรายวันทั่วไป คืออะไร

สมุดบัญชีขั้นต้น ที่ใช้บันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นทันทีโดยบันทึกเรียงตามลาดับวันที่ที่เกิด
รายการค้าขึ้นการบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นจะบันทึกโดยเดบิตบัญชีหนึ่งและเครดิตอีก
บัญชีหนึ่งไว้ด้วยกัน ซึ่งเป็นไปตามหลักการบัญชีคู่ พร้อมทั่งอธิบายลักษณะรายการค้าที่
เกิดขึ้นให้ทราบ

ข้อ 2) จากแบบฟอร์มของสมุดรายวันทั่วไป ให้บอกส่วนประกอบของสมุดรายวันทั่วไป


(1) สมุดรายวันทั่วไป (2) หน้า ....
วัน เดือน ปี หน้า เดบิต เครดิต
รายการ
25... วันที่ บัญชี บาท ส.ต. ส.ต.

(3) (4) (5) (6) (7)

หมายเลข 1 ได้แก่ คาว่าสมุดรายวันทั่วไป หมายเลข 5 ได้แก่ ใส่เลขที่บัญชี


หมายเลข 2 ได้แก่ ใส่เลขหน้า หมายเลข 6 ได้แก่ ใส่จานวนเงินเดบิต
หมายเลข 3 ได้แก่ ใส่ วัน,เดือน,ปี หมายเลข 7 ได้แก่ ใส่จานวนเงินเครดิต
หมายเลข 4 ได้แก่ ชื่อบัญชีที่เดบิตและเครดิต
กรอบเนื้อหำที่ 3

การบันทึกรายการค้าต่าง ๆ ในสมุดรายวันทั่วไปสามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ


1. รายการเปิดบัญชี เป็นรายการแรกในสมุดรายวันทั่วไปซึ่งอาจจะเกิดขึ้นเมื่อมีการลงทุนครั้ง
แรก หรือเมื่อเริ่มรอบระยะเวลาบัญชีใหม่
2. รายการปกติอื่น ๆ เป็นการบันทึกรายการค้าต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นหลังจากมีการลงทุนหรือเริ่มงวด
บัญชีใหม่แล้วในแต่ละวัน โดยเรียงตามลาดับก่อนหลังของการเกิดรายการค้า

เราจะมาดูตัวอย่าง
การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวัน
กันนะครับ

ตัวอย่างที่ 1 นายวิวัฒน์ ลงทุนตั้งกิจการเพื่อรับฝากรถยนต์ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2545


โดยนาเอาสินทรัพย์ หนี้สิน มาลงทุน ดังนี้ เงินสด 50,000 บาท อุปกรณ์สานักงาน 5,000 บาท
อาคาร 100,000 บาท ที่ดิน 20,000 บาท เจ้าหนี้ 10,000 บาท
สามารถวิเคราะห์รายการค้าและบันทึกบัญชี ได้ดังนี้
ผลการวิเคราะห์รายการค้า
รายการค้า การบันทึกบัญชี
สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ(ทุน)
นายวิวัฒน์ ลงทุนตั้งกิจการเพื่อรับฝาก + เงินสด + เจ้าหนี้ + ทุนนายวิวัฒน์ ลงบัญชีดังนี้
รถยนต์ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2545 โดย + อุปกรณ์ เดบิต บัญชีเงินสด
นาเอาสินทรัพย์ หนี้สิน มาลงทุน ดังนี้ + อาคาร เดบิต บัญชีอุปกรณ์
เงินสด 50,000 บาท อุปกรณ์สานักงาน + ที่ดิน เดบิต บัญชีอาคาร
5,000 บาท อาคาร 100,000 บาท ที่ดิน เดบิต บัญชีที่ดิน
20,000 บาท เจ้าหนี้ 10,000 เครดิต บัญชีเจ้าหนี้
เครดิต บัญชีทุน
เมื่อวิเคราะห์รายการค้าได้แล้ว ก็จะนามาบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป ดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป หน้า 1
วัน/เดือน/ปี รายการ หน้า เดบิต เครดิต
2545 บัญชี บาท ส.ต. บาท ส.ต.

ม.ค. 1 เงินสด 50,000 .--


อุปกรณ์สานักงาน 5,000 .--
อาคาร 100,000 .--
ที่ดิน 200,000 .--
เจ้าหนี้ 10,000 .--
ทุน-นายวิวัฒน์ 345,000 .--
นายวิวัฒน์นาสินทรัพย์ หนี้สิน มาลงทุน

ลองดูอีกหนึ่งตัวอย่างนะครับ

ตัวอย่างที่ 2 นายวิวัฒน์ลงทุนตั้งกิจการรับฝากรถยนต์โดยนาสินทรัพย์ หนี้สินมาลงทุนดังนี้


2545
ม.ค. 1 นายวิวัฒน์นาเงินสด เงินสด 50,000 บาท อุปกรณ์สานักงาน 5,000 บาท อาคาร
100,000 บาท ที่ดิน 20,000 บาท เจ้าหนี้ 10,000 บาท มาลงทุน
2 จ่ายเงินสดเป็นค่าตกแต่งสถานที่ 1,000 บาท
3 ซื้ออุปกรณ์สานักงานเพิ่มเป็นเงินเชื่อ 2,000 บาท
5 จ่ายค่าแรงงาน 500 บาท
7 รับเงินสดเป็นค่ารับฝากรถประจาสัปดาห์ จานวน 5,000 บาท
8 จ่ายเงินสดชาระหนี้ค่าอุปกรณ์ทั้งหมด
10 จ่ายค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 600 บาท
12 จ่ายค่าแรงงาน 500 บาท
13 นายวิวัฒน์เบิกเงินสดไปใช้ส่วนตัว 10,000 บาท
14 รับเงินสดเป็นค่ารับฝากรถประจาสัปดาห์ จานวน 5,000 บาท
15 จ่ายค่าแรงงาน 500 บาท
สมุดรายวันทั่วไป หน้า 1
วัน/เดือน/ปี รายการ หน้า เดบิต เครดิต
2545 บัญชี บาท ส.ต. บาท ส.ต.

ม.ค. 1 เงินสด 50,000 .--


อุปกรณ์สานักงาน 5,000 .--
อาคาร 100,000 .--
ที่ดิน 200,000 .--
เจ้าหนี้ 10,000 .--
ทุน-นายวิวัฒน์ 345,000 .--
นายวิวัฒน์นาสินทรัพย์ หนี้สิน มาลงทุน
2 ค่าตกแต่งสานักงาน 1,000 .--
เงินสด 1,000 .--
จ่ายเงินสดเป็นค่าตกแต่งสานักงาน
3 อุปกรณ์สานักงาน 2,000 .--
เจ้าหนี้ 2,000 .--
ซื้อเครื่องตกแต่งสานักงานเป็นเงินเชื่อ
5 ค่าแรงงาน 500 .--
เงินสด 500 .--
จ่ายเงินสดเป็นค่าแรงงาน
7 เงินสด 5,000 .--
รายได้ค่ารับฝากรถ 5,000 .--
รับรายได้ค่ารับฝากรถเป็นเงินสด
8 เจ้าหนี้ 2,000 .--
เงินสด 2,000 .--
จ่ายเงินสดชาระหนี้ค่าอุปกรณ์
10 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 600 .--
เงินสด 600 .--
จ่ายเงินสดเป็นค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด
12 ค่าแรงงาน 500 .--
เงินสด 500 .--
จ่ายเงินสดเป็นค่าแรงงาน
13 ถอนใช้ส่วนตัว 1,000 .--
เงินสด 1,000 .--
นายวิวัฒน์ถอนเงินสดไปใช้ส่วนตัว
สมุดรายวันทั่วไป หน้า 2
วัน/เดือน/ปี รายการ หน้า เดบิต เครดิต
2545 บัญชี บาท ส.ต. บาท ส.ต.

ม.ค. 14 เงินสด 5,000 .--


รายได้ค่ารับฝากรถ 5,000 .--
รับรายได้ค่ารับฝากรถเป็นเงินสด
15 ค่าแรงงาน 500 .--
เงินสด 500 .--
จ่ายเงินสดเป็นค่าแรงงาน

ตามตัวอย่างข้างต้นนี้ เป็นการบันทึกรายการ
ค้าในสมุดรายวัน เพื่อจะได้ทราบรายการค้าที่
เกิดขึ้นก่อนหลัง ก่อนที่จะนาไปลงรายการใน
สมุดบัญชีแยกประเภท

เราไปทาแบบฝึกหัดกันเถอะ
ทดสอบความสามารถของตนเองโดยการตอบคาถามต่อไปนี้
กรอบฝึกหัดที่ 3
ข้อ 5) จากสมุดรายวันทั่วไปต่อไปนี้ ให้นักเรียนเติมรายการสมุดรายวันให้สมบรูณ์
สมุดรายวันทั่วไป หน้า 1
วัน/ เดือน/ ปี รายการ เลขที่ จานวนเงินเดบิต จานวนเงินเครดิต

บัญชี บาท สต. บาท สต.


2550
ธ.ค. 1 เงินสด 60,000 .-
เงินฝากธนาคาร 50,000 .-
วัสดุในการซ่อม 30,000 .-
ทุน-นายมานิตย์
นายมานิตย์นาสินทรัพย์มาลงทุน
4
รายได้ค่าซ่อม 2,000 .-
รับเงินค่าบริการซ่อมโทรทัศน์
8 ลูกหนี้-นายสงวน 5,000 .-

ซ่อมโทรทัศน์ให้ลูกค้ายังไม่ได้เงิน
12
เจ้าหนี้-ร้านประดิษฐ์ 6,000 .-
ซื้อวัสดุในการซ่อมเป็นเงินเชื่อ
15 ค่าแรงงาน 2,000 .-
เงินสด

18
เงินสด
จ่ายค่าโฆษณาเป็นเงินสด 600 บาท
25

รับชาระหนี้จากนายสงวน 2,500 บาท


28 ถอนใช้ส่วนตัว
เงินสด
นายมานิตย์ถอนเงินสดไปใช้ส่วนตัว
5,000 บาท
กรอบเฉลยที่ 3
ข้อ 5) จากสมุดรายวันทั่วไปต่อไปนี้ ให้นักเรียนเติมรายการสมุดรายวันให้สมบรูณ์
สมุดรายวันทั่วไป หน้า 1
วัน/ เดือน/ ปี รายการ เลขที่ จานวนเงินเดบิต จานวนเงินเครดิต

บัญชี บาท สต. บาท สต.


2550
ธ.ค. 1 เงินสด 60,000 .-
เงินฝากธนาคาร 50,000 .-
วัสดุในการซ่อม 30,000 .-
ทุน-นายมานิตย์ 140,000 .-
นายมานิตย์นาสินทรัพย์มาลงทุน
4 เงินสด 2,000 .-
รายได้ค่าซ่อม 2,000 .-
รับเงินค่าบริการซ่อมโทรทัศน์
8 ลูกหนี้-นายสงวน 5,000 .-
รำยได้ค่ำซ่อม 5,000 .-
ซ่อมโทรทัศน์ให้ลูกค้ายังไม่ได้เงิน
12 วัสดุในกำรซ่อม 6,000 .-
เจ้าหนี้-ร้านประดิษฐ์ 6,000 .-
ซื้อวัสดุในการซ่อมเป็นเงินเชื่อ
15 ค่าแรงงาน 2,000 .-
เงินสด 2,000 .-
จ่ำยค่ำแรงงำน
18 ค่ำโฆษณำ 600 .-
เงินสด 600 .-
จ่ายค่าโฆษณาเป็นเงินสด 600 บาท
25 เงินสด 2,500 .-
ลูกหนี้ 2,500 .-
รับชาระหนี้จากนายสงวน 2,500 บาท
28 ถอนใช้ส่วนตัว 5,000 .-
เงินสด 5,000 .-
นายมานิตย์ถอนเงินสดไปใช้ส่วนตัว
5,000 บาท
แบบฝึกหัดท้ายบท
การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป

คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดไม่ใช่หมวดของบัญชี
1. เงินฝาก 2. หนี้สิน
3. รายได้ 4. ทุน
2. ข้อใดคือหมวดบัญชีที่แสดงการเพิ่มของหนี้สิน
1. จ่ายค่าโทรศัพท์ 2. รับเงินจากลูกหนี้
3. กู้เงินสด 4. รับรายได้
3. ข้อใดไม่ใช่หลักการวิเคราะห์รายการค้า
1. สินทรัพย์เพิ่ม หนี้สินเพิ่ม 2. สินทรัพย์ลด หนี้สินลด
3. หนี้สินเพิ่ม หนี้สินลด 4. สินทรัพย์เพิ่ม หนี้สินเพิ่ม
4. Double-Entry System คืออะไร
1. ระบบบัญชีรายวัน 2. ระบบบัญชีคู่
3. ระบบบัญชีเดี่ยว 4. ระบบการปิดบัญชี
5. ข้อใดคือหมวดบัญชีที่แสดงการเพิ่มของส่วนเจ้าของกิจการ
1. จ่ายค่าน้าค่าไฟ 2. รับเงินจากลูกหนี้
3. กู้เงินสด 4. ลงทุนเป็นเงินสด
6. ข้อใดกล่าวถึงคาว่าเดบิตได้ถูกต้อง
1. จานวนเงินที่แสดงไว้ทางซ้ายบัญชี 2. จานวนเงินที่แสดงไว้ทางขวาบัญชี
3. การบันทึกที่ผลทาให้หนี้สินเพิ่มขึ้น 4. การบันทึกที่ทาให้สินทรัพย์ลดลง
7. Opening Entry หมายถึงข้อใด
1. การบันทึกขั้นต้น 2. การเปิดบัญชี
3. การวิเคราะห์รายการ 4. หลักการบัญชีคู่
8. กิจการซื้อเครื่องตกแต่งเป็นเงินสด 8,000 บาท ควรบันทึกรายการอย่างไร
1. เดบิตเครื่องตกแต่ง 8,000 เครดิตทุน 8,000
2. เดบิตเงินสด 8,000 เครดิตเครื่องตกแต่ง 8,000
3. เดบิตเครื่องตกแต่ง 8,000 เครดิตค่าใช้จ่าย 8,000
4. เดบิตเครื่องตกแต่ง 8,000 เครดิตเงินสด 8,000
จากข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคาถามข้อ 9 ถึงข้อ 10

เดบิต เครดิต

1. + -

2. - +

3. + +

4. - -

9. กิจการได้รับรายได้ค่าบริการเป็นเงินสด เป็นไปตามหลักการบันทึกบัญชีคู่ตามข้อใด
10. ซื้อเครื่องใช้สานักงานเป็นเงินสดเป็นไปตามหลักการบันทึกบัญชีคู่ตามข้อใด

เฉลย : ข้อ 1) ตอบ 1 ข้อ 2) ตอบ 3 ข้อ 3) ตอบ 3 ข้อ 4) ตอบ 2 ข้อ 5) ตอบ 4

เฉลย : ข้อ 6) ตอบ 1 ข้อ 7) ตอบ 2 ข้อ 8) ตอบ 4 ข้อ 9) ตอบ 3 ข้อ 9) ตอบ 1
แบบทดสอบหลังเรียนชุดที่ 5 เรือ่ ง การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดไม่ใช่สมุดรายวันขั้นต้น
1. สมุดรายวันทั่วไป 2. สมุดรายวันขาย
3. สมุดรายวันซื้อ 4. สมุดบัญชีแยกประเภท
2. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของสมุดรายวันทั่วไป
1. ช่วยในการวิเคราะห์รายการค้า
2. บอกฐานะทางการเงินของกิจการ
3. ช่วยในการผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท
4. ช่วยตรวจสอบความครบถ้วนของรายการได้

จากข้อมูลต่อไปนี้ใช้สาหรับตอบคาถามข้อ 3 ถึงข้อ 7
(1) (7)

(2) (3) (4) (5) (6)

ตัวเลือกต่อไปนี้ใช้สำหรับตอบข้อ 3 ถึงข้อ 7
1. วัน/เดือน/ปี
2. สมุดรายวันทั่วไป
3. เขียนเลขที่บัญชี
4. เขียนชื่อบัญชีที่เดบิต, เครดิต
3. หมายเลข 2 ใช้สาหรับเขียนรายการใด
4. หมายเลข 1 ใช้สาหรับเขียนรายการใด
5. การเขียนคาอธิบายรายการจะเขียนส่วนใด
1. ช่องเลขที่ 2. ช่องอ้างอิง
3. ช่องรายการบรรทัดที่ 3 4. ส่วนบนของสมุด
6. Opening Entry หมายถึงข้อใด
1. การบันทึกขั้นต้น 2. การเปิดบัญชี
3. การวิเคราะห์รายการ 4. หลักการบัญชีคู่
7. การแบ่งประเภทของบัญชีแบ่งได้กี่หมวด
1. 3 หมวด 2. 4 หมวด
3. 5 หมวด 4. 6 หมวด
8. ข้อใดเป็นหลักการวิเคราะห์รายการค้า
1. สินทรัพย์เพิ่ม ส่วนของเจ้าของเพิ่ม
2. สินทรัพย์ลด ส่วนของเจ้าของลด
3. สินทรัพย์อย่างหนึ่งเพิ่ม สินทรัพย์อย่างหนึ่งลด
4. ถูกทุกข้อ
9. ข้อใดถูกทุกข้อ
1. เดบิต เครดิต 2. เดบิต เครดิต
สินทรัพย์ + - ทุน + -
หนี้สิน - + รายได้ + -
ทุน - + ค่าใช้จ่าย - +

3. เดบิต เครดิต 4. เดบิต เครดิต


รายได้ + - ทุน - +
ค่าใช้จ่าย - + รายได้ + -
สินทรัพย์ + - ค่าใช้จ่าย - +

10. กิจการซื้ออุปกรณ์การซ่อมเป็นเงินเชื่อจะกาหนดชื่อบัญชีที่เกี่ยวข้องได้แก่บัญชี
อะไรบ้าง
1. บัญชีอุปกรณ์ซ่อม, บัญชีซื้อ 2. บัญชีสินทรัพย์, บัญชีเงินเชื่อ
3. บัญชีอุปกรณ์ซ่อม, บัญชีเจ้าหนี้ 4. บัญชีซื้อ, บัญชีเจ้าหนี้

คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คะแนนที่ได้ คะแนน
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป
ข้อ คำตอบ ข้อ คำตอบ
1 4 6 2
2 2 7 3
3 1 8 4
4 2 9 1
5 3 10 3
บรรณานุกรม

เจิมสิริ ศิริวงศ์พากร. 2546. บัญชีเบื้องต้น 1. กรุงเทพฯ : บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด.


นันท์ ศรีสุวรรณ. 2546. บัญชีเบื้องต้น 1. วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี. กรุงเทพฯ : วังอักษร.
บุญสืบ มี้เจริญ และคณะ. 2524. หลักการบัญชี 1. กรุงเทพฯ : บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด.
ปิยลักษณ์ พงศ์ติวัฒนากุล. 2541. การบัญชี 1. วิทยาลัยพณิชยการบางนา. กรุงเทพฯ: ศูนย์รวม
หนังสือกรุงเทพ.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. ธุรกิจทั่วไป. กรุงเทพฯ : บริษัท ธีระฟิล์ม และไซเท็กซ์ จากัด, 2541.
อาชีวศึกษา, กรม. กระทรวงศึกษาธิการ. 2524. การบัญชี 1. กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์คุรุสภา
ลาดพร้าว.
สุพาดา สิริกุตตา. 2531. การบัญชีเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท..

You might also like