Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

March 18, 2010

18 มีนาคม 2553

Thailand's succession
As father fades, his children fight
การสืบราชสมบัติของประเทศไทย
เมื่อพอจางลง, ลูกของพระองคตอสูกัน
From The Economist print edition
จากบรรณาธิการ ดิ อีโคโนมิสต

Behind the present unrest in Thailand lie far deeper fears about the royal succession. And those may not
be spoken publicly
เบื้องหลังความวุนวายในปจจุบันในประเทศไทยคือ ความกลัวอยางมากเกี่ยวกับการสืบราชสมบัติ และสิ่ง
เหลานี้อาจจะไมถูกพูดตอสาธารณะ

IN TRUCKS, boats and buses, protesters streamed into Bangkok for a non-stop rally that was billed as a
“people’s war against the elite”. By March 14th the crowd, all wearing bright red and brimming with
elation, had passed 100,000. On the stage, speakers railed against the government and its royal and

   

   
March 18, 2010
18 มีนาคม 2553

military enablers. Banners read “No Justice, No Peace”. Another bruising round in Thailand’s protracted
power-struggle was under way, with no clear end in sight.
รถบรรทุก, เรือ และรถโดยสารประจําทาง, ผูประทวงหลั่งไหลเขาสูกรุงเทพดั่งขบวนที่ไมมีหยุดเพื่อชุมนุม
โดยเรียกเปน “สงครามประชาชนตอตานศักดินา” เมื่อวันที่ 14 มีนาคมฝูงชน, ทั้งหมดสวมชุดสีแดงสดและ
ยิ้มอยางปติ, ผานหลัก 100,000 บนเวที, เหลานักพูดกลาวโจมตีรัฐบาล และราชวงศ และผูมีอํานาจทาง
การทหาร ปายตางๆอานวา “ไมมีความยุติธรรม ความสงบไมเกิด” อีกรอยช้ําในความยืดเยื้อแหงการดิ้นรน
ทางอํานาจของประเทศไทยที่ดําเนินอยู, โดยไมมีจุดจบชัดเจนที่มองเห็น
By mid-week the red shirts seemed no closer to their goal of forcing out the prime minister, Abhisit
Vejjajiva, and forcing new elections. The army stands squarely behind Mr Abhisit, who took power 15
months ago by a parliamentary fix and remains the hero of Bangkok’s myopic monied classes, as well as
the yellow-shirted protesters who support the status quo. But in a one-man, one-vote democracy, the have-
nots hold the key to success.
เมื่อกลางสัปดาหเสื้อแดงดูเหมือนไมเขาใกลเปาหมายของพวกเขาที่บังคับใหนายกรัฐมนตรีลาออก, อภิสิทธิ์
เวชชาชีวะ, และบังคับใหเลือกตั้งใหม กองทัพยืนอยางเขมแข็งอยูเบื้องหลังอภิสิทธิ์, ผูซึ่งมีอํานาจเมื่อ 15
เดือนกอนโดยวิธีควบคุมรัฐสภา และอยูเปนวีรบุรุษของระดับคนมีเงินสายตาสั้นของกรุงเทพ, เชนเดียวกับผู
ประทวงเสื้อเหลืองผูสนับสนุนสถานะ แตหนึ่งคน, หนึ่งเสียงประชาธิปไตย, ฝายที่ไมมีกลับเปนผูถือกุญแจ
แหงความสําเร็จ
Thailand’s twice-elected and now fugitive former prime minister, Thaksin Shinawatra, understood this
well. He has refused to keep quiet since the army ousted him in 2006. A court ruling on February 26th to
seize $1.4 billion of his fortune has only made him angrier. Many red shirts consider Mr Thaksin to be the
country’s true leader and, despite his enormous wealth and privileged life, make common cause with him.
อดีตนายกรัฐมนตรี 2 สมัยจากการเลือกตั้ง และตอนนี้หลบหนี, ทักษิณ ชินวัตร, เขาใจเรื่องนี้อยางดี เขา
ปฏิเสธที่จะอยูอยางเงียบเชียบนับตั้งแตกองทัพขับไลเขาในป 2549 ศาลพิพากษาเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธยึด
ทรัพย 1,400 ลานเหรียญจากโชคลาภของเขาทําใหเขาโกรธมากขึ้น เสื้อแดงหลายคนคิดวา ทักษิณเปนผูนํา
ของประเทศที่แทจริง และ, แมความมั่งคั่งมหาศาล และชีวิตอยางอภิสิทธิ์ชนของเขา, ทําใหเปนเรื่องธรรมดา
สําหรับเขา
Ruling-party politicians complain that the lowly red shirts are paid proxies and do not represent
mainstream opinion. They bat away the idea that an election may be the only way to prove their point,
arguing that an orderly vote is impossible amid the tumult. Most of all, they blame Mr Thaksin for the
uproar.

   

   
March 18, 2010
18 มีนาคม 2553

นักการเมืองพรรคที่กําลังครองอํานาจเหน็บแนมเสื้อแดงที่ต่ําตอยวาเปนตัวแทนที่ถูกจาง และไมไดเปน
ตัวแทนความเห็นของคนสวนใหญ พวกเขาหลีกเลี่ยงตอความคิดที่วา การเลือกตั้งอาจจะเปนหนทางเดียวที่
จะพิสูจนประเด็นของพวกเขา, และโตแยงวา การออกเสียงที่ถูกสั่งเปนสิ่งที่เปนไปไมไดทามกลางความ
วุนวาย สวนใหญของทั้งหมด, พวกเขาตําหนิทักษิณสําหรับความวุนวาย
But there is another figure in the political landscape to consider : King Bhumibol Adulyadej, at 82 the
world’s longest-reigning monarch. At the rally site, a giant spotlit portrait of him gazed down impassively
on the red-shirted crowds. To Thailand’s royalist movement the monarch is the nation’s father, and the
“fighting children” on the streets are a source of distress to him. Some fear that Thailand’s troubles may
be thwarting King Bhumibol’s full recovery from the respiratory illness that has kept him in hospital since
September.
แตมีภาพอื่นในแวดวงการเมืองที่ตองพิจารณา : กษัตริยภูมิพลอดุลยเดช, พระชนมายุ 82 พรรษาซึ่งทรงเปน
กษัตริยที่ทรงครองราชยนานที่สุดในโลก ในพื้นที่ชุมนุม, พระบรมสาทิสลักษณของพระองคขนาดยักษซึ่ง
สวางจากโคมไฟเพงมองลงมาอยางไมยินดียินรายตอฝูงชนเสื้อแดง สําหรับการเคลื่อนไหวของพวกคลั่ง
เจาของประเทศไทย กษัตริยทรงเปนพระบิดาของชาติ, และ “การตอสูของลูก” บนถนนเปนตนตอแหงความ
โทมนัสตอพระองค หลายคนเกรงวา ปญหาของประเทศไทยอาจกําลังขัดขวางการฟนอยางเต็มที่จากพระ
อาการประชวรของกษัตริยภูมิพลจากพระโรคทางเดินหายใจซึ่งทําใหตองประทับพระองคในโรงพยาบาล
ตั้งแตเดือนกันยายน
But it is precisely because “father” is on his way out that his “children” are fighting. The death of a
monarch is always a moment of national drama and self-reflection. Thais feel a dread of it. Few have
known any king other than Bhumibol, who ascended in 1946 to an institution that had slipped into
irrelevance. As military rule gave way to a semi-functional democracy, the palace served as a respected
power-broker. But its legitimacy depended on the charisma of King Bhumibol and the stealth of his
courtiers.
แตมันเปนความเที่ยงแท เพราะ “พอ” ทรงอยูบนเสนทางแหงการจากไปของพระองค และ “ลูก” กําลังตอสู
กัน การสวรรคตของกษัตริยเปนเวลาแหงเรื่องยิ่งใหญของชาติ และการสะทอนตัวเอง ชาวไทยรูสึกถึงความ
นาหวาดกลัวของมัน บางคนรูจักเพียงกษัตริยแทนที่จะเปนภูมิพล, ผูทรงครองราชยในป 2489 จากสถาบันที่
ไหลเขาสูความเสื่อม เมื่อกองทัพครองอํานาจไดยื่นประชาธิปไตยครึ่งใบ, พระราชวังตอนรับดั่งตัวแทนแหง
อํานาจที่นาเคารพ แตความชอบธรรมขี้นอยูกับพระอัจฉริยภาพของกษัตริยภูมิพล และการแยงชิงของขาราช
บริพารของพระองค
The palace insists that the king is alert and active. But Thais already fear a destabilising royal succession.
Investors are especially worried, and the more so because lèse-majesté laws discourage frank talk about it.

   

   
March 18, 2010
18 มีนาคม 2553

When a large Thai brokerage polled fund managers about political risk factors in 2010, 42% of
respondents chose what the brokerage describes as “a change that cannot be mentioned”. Rumours of
King Bhumibol’s death last October sparked a two-day equities sell-off and a furious government witch-
hunt for rumour-spreaders. The real thing is likely to outdo that rout.
พระราชวังยืนยันวา กษัตริยทรงสดชื่นและทรงแข็งแรง แตชาวไทยเกรงเรื่องความไมแนนอนแหงการ
สืบราชสมบัติอยูแลว นักลงทุนกังวลเปนพิเศษ, และมากกวานั้นเพราะกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพกีด
กันการพูดอยางตรงไปตรงมาเกี่ยวกับมัน เมื่อบริษัทนายหนาไทยขนาดใหญสํารวจผูจัดการกองทุนเกี่ยวกับ
ปจจัยเสี่ยงทางการเมืองของป 2553, รอยละ 42 ของการตอบเลือกสิ่งที่นายหนาอธิบายวา “การเปลี่ยนแปลง
ซึ่งไมสามารถพูดได” ขาวลือเรื่องการสวรรคตของกษัตริยภูมิพลเมื่อเดือนตุลาคมที่ผานมาจุดประกายการเท
ขายหลักทรัพยเปนเวลา 2 วัน และความเกรี้ยวกราดของรัฐบาลเพื่อไลบี้สําหรับผูปลอยขาวลือ สิ่งที่เปนจริง
คือดูเหมือนจะชนะเรื่องอื่น
Thailand has already endured four years of turmoil. The death toll has been low so far, but the rage
unleashed last April, when red shirts fought the army in Bangkok, was a glimpse of how deep passions
run. Splits within the army itself are starting to appear. Even if fears of all-out civil war seem overblown,
it is reasonable to expect more years of political confrontation and paralysis.
ประเทศไทยอดทนตอ 4 ปแหงความวุนวายอยูแลว ผูเสียชีวิตสะสมต่ํามาก, แตความโกรธแคนปลดปลอย
ออกมาเมื่อเดือนเมษายนที่ผานมา, เมื่อเสื้อแดงตอสูกับกองทัพในกรุงเทพ, เปนเวลาแวบเดียวแหงอารมณ
สวนลึกที่แสดงออก ความแตกแยกแหงกองทัพเริ่มปรากฎ แมวาเรื่องนากลัวเหนือกวาทั้งหมด สงครามกลาง
เมืองดูเหมือนหางเกินไป, มันสมเหตุสมผลที่จะคาดวา อีกหลายปแหงการเผชิญหนาทางการเมือง และการ
เปนอัมพาต
The crown itself should pass smoothly. The designated male heir is Crown Prince Maha Vajiralongkorn,
aged 57, and there is not much scope for doubt about his claim. A long mourning period, perhaps six
months or more, will allow a pause in the political dogfight. Some protagonists may come to their senses
and seek a compromise. The death of King Bhumibol would also signal a generational shift in Thailand :
younger voices could start to be heard.
พระราชพิธีบรมราชาภิเษกควรผานไปอยางราบรื่น รัชทายาทชายที่ไดรับการรับรองคือ สมเด็จพระบรม
โอรสาธิราชมหาวชิราลงกรณ, พระชนมายุ 57 พรรษา, และไมมีขอสงสัยใดเกี่ยวกับการอางสิทธิของ
พระองค ชวงไวทุกขที่ยาวนาน, บางที 6 เดือนหรือมากกวา, จะมีผลระงับการตอสูทางการเมืองชั่วคราว
บุคคลสําคัญหลายคนอาจเขาถึงดวยสัมผัสของพวกเขา และหาทางประนีประนอม การสวรรคตของกษัตริย
ภูมิพลจะเปนสัญญาณการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัยในประเทศไทย : เสียงของคนหนุมสาวจะเริ่มถูกไดยิน

   

   
March 18, 2010
18 มีนาคม 2553

But this king will be a most difficult act to follow, and Prince Vajiralongkorn is already widely loathed
and feared. Most Thais try not even to think about his accession. “This reign ends. And then, nothing,”
says an academic. The next ruler must fill the shoes of a beatified icon whose achievements have been
swathed in a personality cult. The role of a crown prince in an era of great longevity and public scrutiny is
tough anywhere. In Thailand it verges on the impossible. “How do you follow someone who walks on
water ?” asks a senior Western diplomat.
แตกษัตริยพระองคนี้จะทรงตองเผชิญกับปญหาที่ยากที่สุดที่จะตามมา, และเจาฟาวชิราลงกรณทรงถูก
รังเกียจ และทรงถู กเกรงกลัวอยางกวางขวางอยูแ ลว ชาวไทยส วนใหญพยายามที่จะไมคิด ถึง เรื่องการ
สืบราชสมบัติของพระองค “เมื่อรัชกาลนี้สิ้นสุด และเมื่อนั้น, ไมมีใครอีก” นักวิชาการคนหนึ่งกลาว
ผูปกครองคนตอมาจะตามรอยพระบาทแหงภาพของพระผูเปนเจาที่งดงามผูทรงประสบความสําเร็จเสมือน
แนวทางของบุคคลทางศาสนา ภารกิจของรัชทายาทในรัชสมัยที่ยาวนานอยางยิ่ง และการตรวจสอบทาง
สาธารณะอยางเขมแข็งทั่วไป ในประเทศไทยมันเกือบจะเปนไปไมได “คุณจะตามบุคคลผูที่เดินบนน้ําได
อยางไร ?” นักการทูตตะวันตกอาวุโสคนหนึ่งถาม

Doubts about the prince


ขอสงสัยเกี่ยวกับเจาฟา

This conundrum is a familiar one. King Vajiravudh, Rama VI, who assumed the throne in 1910, had a
rough ride in the shadow of his father, King Chulalongkorn, a vigorous moderniser. Even before he
ascended to the throne he was tainted by palace gossip of alleged bad behaviour, according to Thongchai
Winichakul, a Thai historian at the University of Wisconsin. Vajiravudh was a “fantastic poet and
playwright” but an also-ran monarch who was eclipsed by his exalted predecessor. “The royals shot
themselves in the foot,” Mr Thongchai told a recent public seminar.
ปริศนาที่ซับซอนนี้เหมือนบุคคลในราชวงศพระองคหนึ่ง กษัตริยวชิราวุธ, รัชกาลที่ 6, ผูทรงครองราชยในป
2453, ทรงเผชิญความยากลําบากในการเจริญรอยตามเงาของพระราชชนกของพระองค, กษัตริยจุฬาลงกรณ,
ผูทรงคลองแคลวทันสมัย แมกอนที่พระองคจะทรงขึ้นครองราชย พระองคจะทรงมัวหมองจากการซุบซิบ
ของพระราชวังซึ่งกลาวหาถึงพฤติกรรมที่ไมดี, จากการเปดเผยของ ธงชัย วินิจกุล, นักประวัติศาสตรไทยที่
มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน วชิราวุธทรงเปน “กวีและนักเขียนบทละครที่ล้ําเลิศ” แตทรงหางไกลจากการเปน
กษัตริยซึ่งทรงถูกบดบังโดยกษัตริยที่ไดทรงรับการเทิดพระเกียรติพระองคกอนของพระองค “ราชวงศยิงเทา
ของพวกเขาเอง” ธงชัย กลาวตอการสัมมนาสาธารณะเมื่อไมนานมานี้

   

   
March 18, 2010
18 มีนาคม 2553

His successor, Prajadhipok, Rama VII, fared worse. A bloodless 1932 coup ended absolute rule and
nudged the Thai monarchy towards the margins. Prajadhipok fled to exile in London and abdicated in
1935, deepening the drift. He handed over to Rama VIII, King Bhumibol’s elder brother, who died in
1946 after a mysterious shot to the head. Bhumibol was proclaimed king the same day, and promptly
returned to Switzerland to complete his studies.
กษัตริยถัดมาของพระองค, ประชาธิปก, รัชกาลที่ 7, ทรงเสด็จตามอยางเลวราย การปฏิวัติแบบไมเสียเลือด
ในป 2475 ยุติการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย และทําใหราชวงศไทยกาวไปสูจุดตกต่ํา ประชาธิปก
ทรงลี้ภัยในลอนดอน และทรงสละราชสมบัติในป 2478, สรางความเควงควางอยางหนัก พระองคทรงสงตอ
ใหกับรัชกาลที่ 8, พระเชษฐาของกษัตริยภูมิพล, ผูทรงสวรรคตในป 2489 หลังจากทรงถูกยิงที่พระเศียร
อยางปริศนา ภูมิพลทรงไดรับการประกาศใหเปนกษัตริยในวันเดียวกัน, และทรงเสด็จพระราชดําเนินกลับ
สวิสเซอรแลนดเพื่อทรงสําเร็จการศึกษาของพระองคทันที
In 1926 Prajadhipok had written frankly about the shortcomings of dynastic rule. In a letter, he wrestled
with the clash between a society in flux and the law of hereditary kingship, a clash that seems to hang over
Thailand today. The king’s rule was one “of great difficulty” as public opinion had turned against absolute
rule. He fretted over who might be coming next. “Some sort of guarantee must be found against an unwise
king,” he wrote.
ในป 2469 ประชาธิปกทรงมีลายพระหัตถเลขาอยางตรงไปตรงมาเกี่ยวกับขอบกพรองของการปกครองแบบ
กษัตริย ในพระราชหัตถเลขา, พระองคทรงตอสูกับการปะทะกันระหวางสังคมที่เดินหนา และกฎแหงการ
สืบทอดราชาธิปไตย, การปะทะกันดูเหมือนกับความขัดแยงในประเทศไทยวันนี้ การปกครองของกษัตริย
เปนหนึ่ง “ในความยุงยากที่ยิ่งใหญ” ดั่งความเห็นของสาธารณะที่ตอตานการปกครองแบบเผด็จการ
พระองคทรงไมสบายพระทัยตอผูที่กําลังจะมาเปนคนตอไป “หลักประกันบางอยางจะตองถูกพบเพื่อคาน
กับกษัตริยที่ดอยปญญา” พระองคทรงมีลายพระหัตถเลขา
Nearly a century on, no such guarantee exists. Instead, Thais are faced with the prospect of Prince
Vajiralongkorn, a career army officer and fighter pilot, who has already assumed many ceremonial duties
from his father. Largely absent in recent years on jaunts around Europe, he is now back in Thailand and in
the public eye. The signals are loud and clear. Two weeks after King Bhumibol’s birthday speech, the
Bangkok Post ran a stiff, respectful profile of him under the headline : “King in Waiting”.
เกือบศตวรรษผานไป, ไมมีหลักประกันเกิดขึ้น ในทางกลับกัน, ชาวไทยตองเผชิญกับโอกาสของเจาฟาวชิรา
ลงกรณ, เจาหนาที่ทหารอาชีพ และนักบินเครื่องบินตอสู, ผูทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจหลายอยางแทนพระ
ราชชนกอยูแลว ทรงวางเวนพักใหญในชวงไมกี่ปที่ผานมาจากการเสด็จทั่วยุโรป, พระองคทรงเสด็จกลับ
ประเทศไทย และทรงอยูในสายตาของสาธารณะ สัญญาณกึกกองและชัดเจน 2 อาทิตยหลังจากพระบรม

   

   
March 18, 2010
18 มีนาคม 2553

ราโชวาทในวันคลายวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ของกษัตริยภูมิพล, บางกอกโพสตลงพระราช
ประวัติอยางเปนพิธีการ, เทิดทูนของพระองค
ภายใตหัวขอ : “กษัตริยที่ทรงรอคอย”
For Thais used to King Bhumibol’s virtues,
which include monogamy, Buddhist piety and
old-fashioned thrift, the crown prince is a poor
substitute. Salacious stories of his private life
are daily gossip. A video circulated widely in
2007 showed his third wife, known as the
“royal consort”, at a formal dinner with the
prince in a titillating state of undress.
Diplomats say Prince Vajiralongkorn is
unpredictable to the point of eccentricity :
lavishing attention on his pet poodle Fu Fu,
Vajiralongkorn, meddling already for example, who has military rank and, on
วชิราลงกรณ, ทรงพรอมแทรกแซง
occasion, sits among guests at gala dinners. In
the 1980s his rumoured ties to the criminal underworld, which he denied in a newspaper interview,
inspired the gangster nickname of “Sia O”.
สําหรับชาวไทยซึ่งคุนเคยกับคุณธรรมของกษัตริยภูมิพล, ซึ่งรวมถึงการทรงมีพระมเหสีพระองคเดียว, การ
ทรงเปนชาวพุทธที่เครงครัด และการทรงสมถะในรูปแบบโบราณ, สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชทรงเปนตัว
แทนที่แย เรื่องลามกของชีวิตสวนพระองคเปนเรื่องซุบซิบรายวัน วิดีโอที่เผยแพรอยางกวางขวางในป 2550
แสดงใหเห็นถึงพระชายาองคที่ 3, ซึ่งรูจักกันดีวา “อัครชายา”, ที่งานเลี้ยงพระกระยาหารค่ําอยางเปนทางการ
กับเจาฟาแบบเปลือยกายที่สะทานประเทศ นักการทูตกลาววา เจาฟาวชิราลงกรณทรงไมอาจคาดการณถึงจุด
แหงความวิตถาร : การดูแลอยางฟุมเฟอยใหกับพุดเดิ้ลสัตวเลี้ยงสวนพระองค “ฟูฟู”, ตัวอยางเชน การมียศ
ทางทหาร และ, ในหลายโอกาส, นั่งทามกลางแขกรับเชิญที่งานเลี้ยงรื่นเริงพระกระยาหารค่ํา ในชวงป 2523
ขาวลือของพระองคทรงเกี่ยวของกับอาชญากรรมใตดิน, ซึ่งพระองคทรงปฏิเสธในการประทานสัมภาษณ
หนังสือพิมพ, สรางแรงบันดาลใจใหเกิดพระนามเลนอยางอันธพาลวา “เสี่ยโอ”
In contrast, Princess Sirindhorn, his sister, enjoys a saintly image as a patron of charity. Many Thais are
praying for an eleventh-hour change that installs her on the throne. Some army and palace factions are
said to favour the princess as the next ruler. Other possibilities aired in recent years are a jump to Prince

   

   
March 18, 2010
18 มีนาคม 2553

Vajiralongkorn’s children, such as his youngest, Prince Tipangkara, with a regent, perhaps Princess
Sirindhorn. The leaked video was presumably a bid to discredit the prince and push other options. So far,
however, King Bhumibol seems to have made up his mind that Prince Vajiralongkorn will succeed him.
ในทางตรงขาม, เจาฟาหญิงสิรินธร, พระขนิษฐาของพระองค, ทรงมีความสุขกับภาพลักษณแบบนักบุญดั่ง
ผูใหการสนับสนุนดานการกุศล ชาวไทยจํานวนมากสวดออนวอนสําหรับการเปลี่ยนแปลงในชั่วโมงที่ 11
เพื่อสถาปนาพระองคใหทรงครองราชย พวกกองทัพและพระราชวังหลายคนอยากใหเจาฟาหญิงทรงเปน
ผูปกครองคนตอไป ความเปนไปไดถัดมาลองลอยมาในชวงไมกี่ปนี้คือ การขามสูพระราชทายาทของเจา
ฟาวชิราลงกรณ, เชนพระโอรสพระองคสุดทายของพระองค, พระองคเจาทีปงกร,โดยผูสําเร็จราชการแทน
พระองค, บางทีเปนเจาฟาหญิงสิรินธร, วิดีโอที่รั่วไหลสันนิษฐานไดวาเพื่อลดความนาเชื่อถือของเจาฟาชาย
และผลักดันทางเลือกอื่น จนถึงขณะนี้, อยางไรก็ตาม, กษัตริยภูมิพลดูเหมือนทรงตัดสินพระทัยของพระองค
วา เจาฟาวชิราลงกรณจะครองราชยตอจากพระองค
Paul Handley, the king’s unofficial biographer, whose book is banned in Thailand, thinks there is a tiny
possibility that King Bhumibol could decide on his deathbed to disinherit Prince Vajiralongkorn. That
would require a written command. Life in exile in Europe might suit the prince, who would not want for
money or diversions. Inevitably there are other, bloodier, predictions of how he might be removed from
the succession. This might explain why soldiers in his personal guard are not allowed to wear guns in his
presence.
พอล แฮนดเลย, ผูเขียนพระราชประวัติของกษัตริยอยางไมเปนทางการ, ซึ่งหนังสือถูกหามในประเทศไทย,
คิดวามันเปนไปไดนอยมากที่กษัตริยภูมิพลจะทรงสามารถตัดสินพระทัยบนเตียงมรณะของพระองคเพื่อตัด
สิทธิ์เจาฟาวชิราลงกรณ นั่นจะตองออกมาเปนคําสั่งแบบเปนลายลักษณอักษร ชีวิตที่ถูกเนรเทศในยุโรป
อาจจะเหมาะสําหรับเจาฟาชาย, ผูไมประสงคในราชทรัพย หรือนันทนาการ สิ่งที่หลีกเลี่ยงไมไดนั่นคืออยาง
อื่น, การนองเลือด, พยากรณหากพระองคทรงถูกกําจัดออกจากการครองราชย นี่อธิบายวา ทําไมทหารรักษา
พระองคจึงไมไดรับอนุญาตใหพกปนตอหนาพระองค
One reason why Prince Vajiralongkorn is distrusted in military circles is his past association with Mr
Thaksin, who was ousted by a military coup in 2006. Mr Thaksin, a telecoms billionaire turned populist
politician, was said to have lavished money on the prince. That may have been the real reason for the
coup, which appeared to have the blessing of Prem Tinsulanonda, the chairman of the Privy Council and
thus the king’s chief adviser. The fact that Mr Thaksin, who is living in exile in Dubai, is still in contact
with the prince is deeply troubling for those same royalists. In a recent interview with a British newspaper,
the former prime minister lavishly praised the heir to the throne.

   

   
March 18, 2010
18 มีนาคม 2553

หนึ่งเหตุผลที่ทําไมเจาฟาวชิราลงกรณไมไดรับความไววางใจจากคนวงในทหารคือ ความเกี่ยวของในอดีต
ของพระองค กั บ ทั ก ษิ ณ , ผู ถู ก ขั บ ไล จ ากรั ฐ ประหารของทหารในป 2549 ทั ก ษิ ณ อั ค รมหาเศรษฐี ด า น
โทรคมนาคมซึ่งหันมาเปนนักการเมืองที่ไดรับความนิยม, กลาวเรื่องการทุมเทเงินใหกับเจาฟาชาย นี่อาจจะ
เปนเหตุผลที่แทจริงสําหรับการรัฐประหาร, ซึ่งปรากฏใหเห็นโดยการสรรเสริญจาก เปรม ติณสูลานนท,
ประธานองคมนตรี และเปนที่ปรึกษาของกษัตริย ความจริงที่วาทักษิณ, ผูกําลังอาศัยหลังจากการเนรเทศใน
ดูไบ, ยังคงติดตอกับเจาฟาชายคือปญหาอยางหนักสําหรับพวกคลั่งเจากลุมเดิม ในการใหสัมภาษณเมื่อไม
นานมานี้กับหนังสือพิมพของอังกฤษ, อดีตนายกรัฐมนตรีสรรเสริญอยางเต็มที่ตอเจาฟาชายเกี่ยวกับการ
ครองราชย
Nobody knows what kind of ruler Prince Vajiralongkorn would be. Sulak Sivaraksa, a veteran royal
observer and social activist, says that the prince has matured during his third marriage and is more
respectful of others than in the past. Others say that he is still easily bored by royal duties, unlike Princess
Sirindhorn, who lives for them. Above all, say royal watchers, he needs able courtiers to steer him through
the political pitfalls ahead. Many believe that Prince Vajiralongkorn will replace the Privy Council with
his own men. For senior courtiers who have served the king and look askance at his successor, an exit will
be welcome. But the new men “will definitely not have the calibre” of the current crop, says a foreign
scholar.
ไมมีใครทราบวา เจาฟาวชิราลงกรณจะทรงเปนนักปกครองแบบใด สุลักษณ ศิวรักษ, นักสังเกตการณ
เกี่ยวกับราชวงศที่มีประสบการณ และนักเคลื่อนไหวทางสังคม, กลาววา เจาฟาชายทรงมีวุฒิภาวะเต็มที่ใน
ระหวางการอภิเษกสมรสครั้งที่ 3 และทรงไดรับการเคารพจากผูอื่นมากขี้นกวาในอดีต คนอื่นกลาววา
พระองคยังทรงเบื่อหนายอยางงายดายตองานพระราชพิธี, ไมเหมือนเจาฟาหญิงสิรินธร, ผูทรงพระเกษม
สําราญกับพวกมัน เหนือกวาทั้งหมด, ผูสังเกตการณราชวงศกลาววา, พระองคทรงตองการขาราชบริพารที่มี
ความสามารถที่จะนําทางพระองคผานหลุมพรางทางการเมืองที่อยูขางหนา หลายคนเชื่อวา เจาฟาวชิราลง
กรณจะทรงแทนที่องคมนตรีดวยคนของพระองค สําหรับขาราชบริพารอาวุโสผูรับใชกษัตริย และดูเหมือน
ไมนาไววางใจตอการสืบบัลลังกของพระองค, การถูกใหออกจะเขามา แตคนใหม “เปนที่แนนอนวาจะไมมี
ความสามารถ” เหมือนชุดปจจุบัน, นักวิชาการตางประเทศคนหนึ่งกลาว

Mighty but clumsy


มีอํานาจ แตงุมงาม

A taste of this came last year when Mr Abhisit, the prime minister, tried to reshuffle the police force. His
choice for police chief was blocked by members of his own team, including Nipon Prompan, an aide to

   

   
March 18, 2010
18 มีนาคม 2553

Prince Vajiralongkorn, who lobbied for another


candidate. A “powerful and mighty” backer was
reported to be pushing the second man, a former
head of national intelligence under Mr Thaksin.
Mr Nipon later resigned from the cabinet. Mr
Abhisit was unable to confirm his man, who is
currently acting chief. The row exposed Prince
Gagged and flagging
Vajiralongkorn’s clumsy meddling. It also ปดปากและโบกธง
provoked apoplexy among King Bhumibol’s
courtiers, says a palace source. Prince Vajiralongkorn was told that “we don’t do things like this,” the
source says.
การชิมลางในเรื่องนี้เกิดขึ้นเมื่อปที่ผานมาเมื่ออภิสิทธิ์, นายกรัฐมนตรี, พยายามสับเปลี่ยนอํานาจตํารวจ
ตัวเลือกของเขาสําหรับผูบัญชาการตํารวจถูกขัดขวางจากสมาชิกในกลุมของเขา, รวมถึง นิพนธ พรอมพันธุ,
เสนาธิการซึ่งรับใชเจาฟาวชิราลงกรณ, ผูวิ่งเตนสําหรับผูทาชิงคนอื่น ผูหนุนหลัง “ที่มีอํานาจ และทรงพลัง”
ถูกรายงานวาผลักดันบุคคลอันดับที่ 2, อดีต ผอ.สํานักขาวกรองแหงชาติสมัยทักษิณ นิพนธลาออกจากคณะ
รัฐบาลในเวลาตอมา อภิสิทธิ์ไมสามารถยืนยันคนของเขา, ผูที่ปจจุบันเปนรักษาการณ การโยกยายเผยการ
แทรกแซงที่งุมงามของเจาฟาวชิราลงกรณ มันจุดประกายความหัวฟดหัวเหวี่ยงทามกลางขาราชบริพารของ
กษัตริยภูมิพล, แหลงขาวจากพระราชวังกลาว เจาฟาวชิราลงกรณทรงไดรับการแจงวา “เราไมทําเรื่องแบบ
นี้” แหลงขาวกลาว
In fact, the palace has long patronised loyalists in the army and bureaucracy. This is how power operates
in Thailand. What made Mr Thaksin such a threat to the palace was his determination to exert similar
control. In turn, Prince Vajiralongkorn is itching to meddle in the annual autumnal shuffle of senior jobs
in the armed forces and extend his support base, says a senior Asian diplomat. How far he succeeds may
determine how long he lasts. Another possibility is a royal pardon for Mr Thaksin so that he can return to
manage state affairs for the new king. This would delight the red shirts. But it would appal Bangkok’s
elite and split the army. As for courting public support, this seems far-fetched. The prince knows he is
unpopular, says a political acquaintance, but “he doesn’t care.”
ในความเปนจริง, พระราชวังถูกอุปถัมภอยางยาวนานจากผูภักดีในกองทัพและขาราชการ นี่คือปฏิบัติการณ
กุมอํานาจในประเทศไทย สิ่งที่ทําใหทักษิณเปนตัวคุกคามของพระราชวังคือ การตัดสินใจของเขาที่จะเขา
ควบคุมเหมือนกัน ขณะที่, เจาฟาวชิราลงกรณกําลังพยายามเขาแทรกแซงการสับเปลี่ยนประจําปชวงฤดู
ใบไมผลิของตําแหนงอาวุโสในกองทัพ และขยายฐานสนับสนุนของพระองค, นักการทูตเอเชียอาวุโสกลาว

   
10 
   
March 18, 2010
18 มีนาคม 2553

ความสําเร็จของพระองค มากเทาใดจะตัด สินการครองอํานาจของพระองค ความเป นไปไดอื่นคือ การ


พระราชทานอภัยโทษสําหรับทักษิณเพื่อที่เขาสามารถกลับมาบริหารภารกิจของประเทศสําหรับกษัตริย
พระองคใหม นี่สรางความเบิกบานใหกับเสื้อแดง แตมันสรางความขุนลุกใหกับศักดินากรุงเทพ และความ
แตกแยกของกองทัพ สําหรับฐานสนับสนุนสาธารณะ, มันดูเหมือนหางไกล เจาฟาชายทรงทราบวา พระองค
ทรงไมไดรับความนิยม, ผูคลุกคลีทางการเมืองคนหนึ่งกลาว, แต “พระองคทรงไมสนพระทัย”
One way out of this predicament would be to shrink the Thai monarchy back to its previous size. Top-
down reform of the institution is more palatable than a push from below with republican overtones. Under
King Bhumibol its stock has fallen already from its zenith in May 1992, when he could order a military
dictator to cease and desist. Recent years have exposed the limits of his powers. In 2008 the king was
unable to stop the People’s Alliance for Democracy from sowing chaos in his name. “We expect too much
of him,” sighs a senior courtier.
ทางออกหนึ่งสําหรับสถานการณนี้คือ การลดขนาดของกษัตริยไทยใหกลับสูขนาดกอนหนานี้ การปฏิรูป
จากบนลงลางของสถาบันเปนเรื่องนาพอใจกวาการถูกผลักดันจากระดับลางดวยเสียงเรียกรองการเปน
สาธารณรัฐ ในรัชสมัยกษัตริยภูมิพลตลาดหุนตกลงจากจุดสูงสุดของมันในเดือนพฤษภาคม 2535 อยูแลว,
เมื่อพระองคทรงสามารถออกคําสั่งตอเผด็จการทหารใหยุติและยับยั้ง ชวงไมกี่ปที่ผานมาเปดเผยถึงพระราช
อํานาจที่จํากัดของพระองค ในป 2551 กษัตริยทรงไมสามารถยุติพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยจาก
การสรางความวุนวายในนามของพระองค “เราคาดหวังมากเกินไปจากพระองค” ขาราชบริพารอาวุโสคน
หนึ่งถอนหายใจ
Clearly Thailand needs a new equilibrium. Some fear that the power vacuum left by an enfeebled
monarchy will be filled by the army, which is already the steel behind the palace’s gilded façade. But the
generals who seized power in a coup in 2006 did a dismal job of running the country, and had to return
power to the voters 15 months later. Business families do not want a repeat performance, and would prefer
to have politicians and professionals in charge. Several banned MPs, some hoping to lead parties, will re-
enter the field in 2012. But the rules of the game will need to be reset.
เปนที่แนชัดประเทศไทยตองการความสมดุลใหม หลายคนเกรงวา สุญญากาศแหงอํานาจที่เกิดจากการหมด
กําลังของกษัตริยจะถูกแทนที่โดยกองทัพ, ซึ่งเปนเหล็กกลาดานหลังของอาคารที่ฉาบทองของพระราชวังอยู
แลว แตเหลานายพลผูยึดอํานาจจากการรัฐประหารในป 2549 สรางความมืดมัวในการบริหารประเทศ, และ
ตองคืนอํานาจใหกับผูลงคะแนนเสียง 15 เดือนตอมา ตระกูลนักธุรกิจไมตองการใหเหตุการณเกิดซ้ํา, และ
ตองการใหนักการเมือง และมืออาชีพทําหนาที่ หลายคนถูกหามเปน ส.ส., หลายคนหวังนําพาพรรค, จะกลับ
เขาสูสนามในป 2555 แตกติกาของการเลนจะตองเปลี่ยนใหม

   
11 
   
March 18, 2010
18 มีนาคม 2553

Some might argue that King Bhumibol shares the blame for the failure of democratic institutions to take
root in Thailand. Relying on “a few good men” and the army to steer the country has left it in the lurch,
says Mr Handley.
หลายคนอาจจะแยงวา กษัตริยภูมิพลทรงมีสวนที่ตองถูกตําหนิสําหรับความลมเหลวของสถาบันประชาธิป
ไตยที่หยั่งรากในประเทศไทย ขี้นอยูกับ “คนเกงไมกี่คน” และกองทัพที่นําพาประเทศเขาสูการซวนเซ,
แฮนดเลย กลาว
It is a sad twilight for the monarch. Thailand was once an outpost of freedom in a fairly repressive region.
Scrappy politics did not choke rapid economic growth, as the bureaucrats kept a steady hand on day-to-
day management. In the 1990s Western rights activists hoped that the dynamism of Thai civil society
might spread to neighbouring countries. Instead, some now see Thailand as a cautionary tale of a botched
democracy.
มันเปนเรื่องคอนขางเศราสําหรับกษัตริย ประเทศไทยเปนหนึ่งในดานหนาแหงเสรีภาพในภูมิภาคที่คอนขาง
ถูกควบคุม การเมืองที่กระทอนกระแทนไมไดขวางการเติบโตทางเศรษฐกิจที่รวดเร็ว, ดั่งขาราชการที่รักษา
อยางเหนียวแนนกับการบริหารงานแบบวันตอวัน ในยุคป 2533 เหลานักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิชาวตะวันตก
หวังวา พลวัตแหงประชาสังคมไทยอาจจะขยายไปสูประเทศเพื่อนบาน ในทางกลับกัน, หลายประเทศมอง
ประเทศไทยดั่งอุทาหรณแหงประชาธิปไตยแบบสุกเอาเผากิน
That may be too harsh. Thailand’s rival red and yellow mobs disagree about democracy, but both want a
fair political system. To measure tolerance, the California-based Asia Foundation last year surveyed Thais
about their views. It found that 79% of respondents would allow unpopular political parties to meet in
their area. Only 6% said that they would stop seeing a friend who had joined a rival party. These are
healthier figures than in other Asian democracies. Almost everyone agreed that democracy was the best
form of government, though 30% would accept authoritarian rule in certain circumstances.
นี่อาจจะโหดรายเกินไป กลุมคูอริแดงและเหลืองของประเทศไทยบาดหมางเกี่ยวกับประชาธิปไตย, แตทั้ง
สองตองการระบบการเมืองที่มีความยุติธรรม การวัดความอดทน, มูลนิธิเอเชียซึ่งมีสํานักงานในแคลิฟอร
เนียเมื่อปที่ผานมาสํารวจชาวไทยเกี่ยวกับมุมมองของพวกเขา มันพบวารอยละ 79 ของผูตอบยอมใหพรรค
การเมืองซึ่งไมไดรับความนิยมเขาเยี่ยมในพื้นที่ของพวกเขา เพียงรอยละ 6 กลาววา พวกเขาจะยุติการพบปะ
เพื่อนผูเขารวมกับพรรคคูอริ มันเปนภาพที่ดีกวาในหลายประเทศประชาธิปไตยเอเชีย เกือบทุกคนเห็นดวย
วา ประชาธิปไตยเปนรูปแบบของรัฐบาลที่ดีที่สุด, แมรอยละ 30 จะยอมรับการปกครองแบบเผด็จการในบาง
กรณี
Thailand has not yet given up on democracy. But taking stock of its troubled politics should include
talking about the crown. Of course, it is distasteful - and inauspicious, Thais believe - to speak of King

   
12 
   
March 18, 2010
18 มีนาคม 2553

Bhumibol’s death. But it is unavoidable. The stakes are too high. Respect and fear have kept a lid on the
debate. Anyone who speaks out of turn in Thailand risks arrest under the lèse-majesté laws or a new,
equally nasty computer-crimes law. Several people have been prosecuted for defaming the king and his
family, including an Australian jailed (until freed by a royal pardon) for writing a novel that contained an
unflattering depiction of the crown prince.
ประเทศไทยไมยอมแพในประชาธิปไตย แตการสะสางการสะสมของปญหาทางการเมืองควรจะรวมการ
กลาวถึงเกี่ยวกับการครองราชย แนนอน, มันไมใชสิ่งที่นาพิสมัย - และไมเปนมงคล, ความเชื่อของชาวไทย -
การพูดเรื่องการสวรรคตของกษัตริยภูมิพล แตมันเปนสิ่งที่เลี่ยงไมได เดิมพันสูงเกินไป ความเคารพและ
ความกลั ว เป นฝาที่ครอบการโต แ ย ง ผู ใ ดก็ ต ามพูด ออกมาในประเทศไทยเสี่ ย งตอ การถูก จั บกุ ม ภายใต
กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ หรือกฎหมายใหม, ที่สกปรกพอกันคือ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร
ประชาชนหลายคนถูกดําเนินคดีสําหรับขอหาหมิ่นประมาทกษัตริย และพระบรมวงศานุวงศของพระองค,
รวมทั้งชาวออสเตรเลียซึ่ งถู กจํ าคุ ก (จนกระทั่งไดรับอิสรภาพจากการพระราชทานอภัย โทษ) จากการ
เขียนนวนิยายซึ่งมีเนื้อหาพรรณนาแบบไมประจบสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช
Behind closed doors, a spirited debate goes on over the fate of the monarchy when the king dies. An old
prophecy holds that the Chakri dynasty will last only nine generations. King Bhumibol is Rama IX.
Republican voices are rising to the surface - unreported in Thailand’s pliant media. The Bangkok Post
struck a typical tone of pride and menace in its birthday eulogy for the king in December : “The Thai
people’s love for his majesty is so ingrained in the national psyche that to declare otherwise is
unthinkable.”
หลังประตูที่ถูกปด, วิญญาณแหงการโตแยงตรวจสอบถึงโชคชะตาของราชวงศเมื่อกษัตริยสวรรคต คํา
พยากรณ เกากลาววา ราชวงศจักรีจะสิ้น สุดเพียง 9 รัชกาล กษัตริยภูมิพลทรงเปนรัชกาลที่ 9 เสียงแหง
สาธารณรัฐกําลังขึ้นมาจากพื้นดิน - ไมมีรายงานในสื่อที่โอนออนของประเทศไทย บางกอกโพสตโจมตี
อยางภาคภูมิใจ และขมขูตามรูปแบบเดิม ในคําสดุดีเฉลิมพระเกียรติในวันคลายวันประสูติของกษัตริยใน
เดือนธันวาคม : “ความรักของชาวไทยตอพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฝงแนนในจิตวิญญาณของชาติซึ่ง
กลาวไดวาเรื่องอื่นไมมีทางคิดได”
Within palace circles, however, there is a dawning realisation that change is coming. Senior royalists
know that King Bhumibol’s charisma and influence will not easily transfer to his successor. This is the
crux of Thailand’s royal impasse. And King Bhumibol knows it, says Mr Sulak. As he puts it, the king
“would like to see that the next reign will not be bloody.”
ภายในวงในของพระราชวัง, อยางไรก็ตาม, เริ่มตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงที่กําลังมา พวกคลั่งเจาอาวุโส
ทราบดีวา พระบุคลิกภาพ และพระบารมีของกษัตริยภูมิพลไมสามารถถายทอดสูรัชทายาทโดยงาย นี่คือ

   
13 
   
March 18, 2010
18 มีนาคม 2553

ประเด็นสําคัญแหงทางตันของราชวงศของประเทศไทย และกษัตริยภูมิพลทรงทราบมัน, สุลักษณกลาว และ


เขาเพิ่มเติมมัน, กษัตริย “ทรงปรารถนาที่จะเห็นรัชสมัยหนาจะไมมีการนองเลือด”
To this end, King Bhumibol recently asked three trusted emissaries to present ideas for reforming the
institution, according to Mr Sulak. One emissary asked for Mr Sulak’s advice, explaining that the findings
would be for the king’s eyes only. Mr Sulak replied that the palace must be transparent about its finances,
including some $35 billion in assets managed by the Crown Property Bureau, decouple itself from the
army and open up to public criticism. Only by becoming a European-style figurehead can a future
monarch survive, he argues.
จุดสิ้นสุดนี้, กษัตริยภูมิพลทรงถามนักการทูตที่ทรงไววางพระทัย 3 คนเมื่อไมนานมานี้เพื่อเสนอความคิด
เกี่ยวกับการปรับปรุงสถาบัน, จากการเปดเผยของสุลักษณ นักการทูตคนหนึ่งขอความเห็นจากสุลักษณ,
อธิบายวา การวินิจฉัยจะทูลตอพระเนตรของกษัตริยเทานั้น สุลักษณตอบวา พระราชวังจะตองโปรงใส
เกี่ ย วกั บ การเงิ น , รวมถึ ง พระราชทรั พ ย 35,000 ล า นเหรี ย ญซึ่ ง จั ด การโดยสํ า นั ก งานทรั พ ย สิ น ส ว น
พระมหากษัตริย, แยกออกจากกองทัพ และเปดสูการวิจารณของสาธารณะ การกลายเปนเพียงประมุขในนาม
แบบยุโรปสามารถทําใหอนาคตของกษัตริยดํารงอยู, สุลักษณโตแยง

Preserving the tree


การรักษาตนไม

Mr Sulak has often been accused of lèse-majesté. He insists that he is a monarchist at heart. “To pull down
the tree is easy. But I think it’s better to preserve it,” he says. Such steps just might rescue the Chakri
dynasty. But a radical rethink seems unlikely. Allowing opponents to attack an insecure ruler could
quickly escalate. Under King Bhumibol the silencing of opponents has been controversial, but many
tolerate it out of respect. Prince Vajiralongkorn can expect no such leeway.
สุลักษณบอยครั้งถูกกลาวหาวาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ เขายืนยันวาเขาเปนผูนิยมระบอบราชาธิปไตยอยูใน
หัวใจ “การโคนตนไมเปนเรื่องงาย แตผมคิดวา มันเปนการดีกวาที่จะเก็บรักษามัน” เขากลาว การเลือกกาว
เดินอาจจะชวยราชวงศจักรี แตการทบทวนแบบสุดโตงดูเหมือนไมนาจะเกิดขึ้น การยอมใหฝายตรงขาม
โจมตีผูปกครองที่ขาดความมั่นคงสามารถเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ภายใตรัชสมัยกษัตริยภูมิพลการปดปากฝาย
ตรงขามทําใหเกิดการโตแยง, แตหลายคนอดทนตอมันอยางขาดความเคารพ เจาฟาวชิราลงกรณทรงไม
สามารถคาดหวังกับการเบี่ยงเบนนี้
What might a diminished monarchy look like ? Thailand may not be ready for such a thing. In Spain, the
palace’s annual household budget of €9m ($12m) is audited by the government. Norway puts its royal

   
14 
   
March 18, 2010
18 มีนาคม 2553

accounts on a website. It is impossible to find out how much Thailand’s jet-setting royals spend. Japan
may be a better model, as a respectful national press keeps its distance.
เมื่อกษัตริยลดขนาดลงจะมีสภาพอยางไร ? ประเทศไทยอาจจะไมพรอมสําหรับสิ่งนี้ ในสเปน, งบประมาณ
สําหรับพระราชวังประจําปจํานวน 9 ลานยูโร (12 ลานเหรียญ) ถูกตรวจสอบบัญชีโดยรัฐบาล นอรเวยใส
บัญชีราชวงศทางเว็บไซต มันเปนไปไมไดที่จะคนหารายจายราชวงศที่เริดหรูของประเทศไทยเปนจํานวน
เทาไร ญี่ปุนอาจจะเปนรูปแบบที่เหมาะสมกวา, เมื่อสื่อแหงชาติที่ใหความเคารพเก็บมันอยางหางไกล
It took defeat in the second world war and an American occupation to curtail the powers of Japan’s
emperor. Other royal houses were whittled down to size by assertive parliaments. This happened in
Thailand in 1932, but was later reversed under King Bhumibol. Clearly, some constitutional fixes would
be needed to shrink the sovereign’s role. But power in Thailand flows along patronage networks that start
with the king. That is why elected ministers who care about their careers are continually looking over their
shoulders for signals from the palace. Mr Abhisit attends so many royal ribbon-cuttings that it is hard to
imagine how he finds time to govern, says a senior Western diplomat.
ผลจากความปราชัยในสงครามโลกครั้งที่ 2 และการยึดครองของอเมริกาตัดทอนพระราชอํานาจของ
จักรพรรดิแหงญี่ปุน พระราชวังของราชวงศอื่นถูกเฉือนขนาดลงโดยสภาอยางมุงมั่น มันเกิดขึ้นในประเทศ
ไทยในป 2475, แตตอมาถอยกลับไปแบบเกาโดยกษัตริยภูมิพล เปนที่แนชัด, ดวยขอจํากัดของรัฐธรรมนูญ
บางขอจําเปนตองลดพระราชอํานาจทางการปกครอง แตอํานาจในประเทศไทยเปนแผนผังเครือขายแบบ
อุปถัมภซึ่งเริ่มตนที่กษัตริย นี่คือวาทําไมรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งผูสนใจแตตําแหนงของพวกเขากําลัง
มองขามไหลของพวกเขาเพื่อดูสัญญาณจากพระราชวัง อภิสิทธิ์เขารวมงานตัดริบบิ้นของราชวงศจํานวน
มากซึ่งมันเปนการยากที่จะจินตนาการวา เขาหาเวลาอะไรมาบริหารประเทศ, นักการทูตตะวันตกอาวุโสคน
หนึ่งกลาว
Royal censorship has kept much of this debate under wraps. That is a pity. King Bhumibol famously said
in 2005 that he was not above criticism. But not many are ready to test that. Though the internet is
humming with opinions, the taboo still stands. And because the country has never had a chance to talk
openly, people cannot prepare themselves for what may be a rough road ahead.
การเซ็นเซอรเกี่ยวกับราชวงศทําใหเกิดการโตแยงภายใตการปดบังจํานวนมาก นี่เปนความนาเวทนา พระ
ราชดํารัสที่มีชื่อเสียงของกษัตริยภูมิพลในป 2548 กลาววา พระองคทรงไมไดอยูเหนือการวิจารณ แตไมมี
ใครพรอมที่จะทดสอบมัน แมอินเตอรเน็ตเต็มไปดวยความคิดเห็น, ขอหามยังคงยืนยัน และเพราะประเทศ
ไมเคยเปดโอกาสใหมีการพูดอยางเปดเผย, ประชาชนไมสามารถเตรียมตัวของพวกเขาสําหรับหนทาง
ขรุขระซึ่งอาจจะอยูดานหนา

   
15 
   

You might also like