Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 4

การเพาะเห็ดนางฟ้ า(ต่อ)

20:39 | Author: ถนอมศิลป์ ฟาร์มเห็ด


วัสดุอุปกรณ์ในการเพาะเห็ดนางฟ้ า
วัสดุเพาะ เช่น ขี้เลื่อยไม้ยางพารา อาหารเสริม
แม่เชื้อเห็ดชนิ ดที่ต้องการ
ถุงพลาสติกทนร้อนขนาด 6 3/4 x 12 1/2 หรือ 8x12 นิ้ ว
คอขวดพลาสติกเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 1/2 นิ้ ว
สำาลี ยางรัด
ถึงนึ่ งไม่อัดความดัน หรือหม้อนึ่ งความดัน
โรงเรือนหรือที่บ่มเส้นใย
การเตรียมวัสดุเพาะเพาะจากขี้เลื่อยไม้ยางพารา
ส่วนมากจะใช้ข้ีเลื่อยไม้ยางพารา หรือขี้เลื่อยไม้เบญจพรรณ หรือใช้ฟางข้าว
ก็ได้ ตามฟาร์มเห็ดทั่วไปแล้วเพื่อความสะดวกในการหมักและผสมวัสดุจึง
นิ ยมใช้ข้ีเลื่อยไม้ยางพารา ซึ่งเป็ นขี้เลื่อยไม้เนื้ ออ่อนและมีสารอาหารที่มี
คุณค่าในการเพาะเห็ดมาก
อัตราส่วนในการผสมวัสดุอ่ ืนๆ
ขี้เลื่อย 100 กิโลกรัม
รำาละเอียด 6 กิโลกรัม
ปูนขาว 1 กิโลกรัม
ดีเกลือ 0.2 กิโลกรัม
ยิปซัม 0.2 กิโลกรัม
นำ้าสะอาด 60-70 %
สูตรที่ 2
ขี้เลื่อยไม้ยางพาราแห้ง 100 กิโลกรัม
รำาละเอียด 5 กิโลกรัม
ยิปซัม 0.2 กิโลกรัม
ปูนขาว 1 กิโลกรัม
ดีเกลือ 0.2 กิโลกรัม
ปรับความชื้นของวัสดุเพาะประมาณ 60-65 %
วัสดุท้ังหมดนี้ สามารถปรับเปลี่ยนเพื่อความเหมาะสมได้เมื่อชั่งหรือตวงวัสดุ
ทั้งหมดแล้วคลุกเคล้าให้เข้ากัน และหมั่นตรวจดูความชื้นบ่อยๆ เพื่อไม่ให้
วัสดุเปี ยกแฉะจนเกินไป ซึ่งจะทำาให้มีผลในการทำาให้เชื้อเห็ดไม่เดิน
วิธีการเตรียมวัสดุเพาะ
นำาส่วนผสมดังกล่าวข้างต้น ผสมให้เข้ากันด้วยมือหรือเครื่องผสมแล้วปรับ
ความชื้น 60-65 % โดยเติมนำ้าพอประมาณ ใช้มือกำาขี้เลื่อยบีบให้แน่ น ถ้า
มีน้ ำาซึมที่งา
่ มมือแสดงว่าเปี ยกเกินไป (ให้เติมขี้เลื่อยแห้งเพิ่ม) ถ้าไม่มี
นำ้าซึมให้แบมือออก ขี้เลื่อยจะรวมกันเป็ นก้อนแล้วแตกออก 2-3 ส่วน ถือว่า
ใช้ได้แต่ถ้าแบมือแล้วขี้เลื่อยไม่รวมตัวเป็ นก้อน แสดงว่าแห้งไป ให้เติมนำ้า
เล็กน้อย
ลักษณะเชื้อเห็ดที่ดี จะต้องไม่มีเชื้อราอื่นๆ เจือปน เช่น ราดำา ราเขียว ราส้ม
ปนเปื้ อน อยู่ในขวดเชื้อนั้น เพราะจะทำาให้ถุงเพาะเชื้อเห็ดติดโรคราอื่นได้
โดยสังเกตเส้นใยของเชื้อเห็ดจะต้องมีเส้นใย สีขาวบริสุทธิแ ์ ละดินเต็มขวด
วิธีการเพาะเห็ด
7. บรรจุข้ีเลื่อยใส่ถุงพลาสติกทนร้อน นำ้าหนัก 8-10 ขีด กระแทกกับพื้นพอ
ประมาณ และทุบให้แน่ นพอประมาณ 2 ใน 3 ของถุง ใส่คอขวด รัดด้วยหนัง
ยางจุกสำาลี
8. นำาไปนึ่ งฆ่าเชื้อที่ 100 องศาเซลเซียส 3 ชั่วโมง แล้วนำามาพักให้เย็นในที่
สะอาด
การใส่หัวเชื้อ
9. หัวเชื้อควรเลือกหัวเชื้อที่เจริญเต็มเมล็ดธัญพืชใหม่ๆเพราะเชื้อในระยะนี้
กำาลังแข็งแรงและเจริญเติบโตรวดเร็ว
10. สถานที่เขี่ยเชื้อเห็ด ควรเขี่ยในห้องที่สะอาดและสามารถป้ องกันลมได้
เพื่อช่วยลดเชื้อปลอมปน ทำาให้เปอร์เซ็นต์ของก้อนเชื้อที่เสียตำ่าลง
11. ในการเขี่ยเชื้อเห็ด ควรใช้ลวดแข็งๆ เผาไฟให้ร้อน ในถึงก้อนเชื้อ
ประมาณ 15-20 เมล็ดแล้วปิ ดด้วยจุกสำาลี เพื่อฆ่าเชื้อ แล้วกวนตีเมล็ดข้าว
ฟ่ างให้ร่วน เพื่อสะดวกในการเทเมล็ดข้าวฟ่ างลงในถึงก้อนเชื้อ
12. การใส่หัวเชื้อเห็ดที่เลี้ยงบนเมล็ดข้าวฟ่ างลงและหุ้มกระดาษไว้ตามเดิม
13. นำาก้อนที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้วไปพักในห้องบ่มที่สะอาด ควรฉีดยาฆ่า
แมลงไว้ท่ีพ้ น

14. บ่มก้อนเชื้อไว้ประมาณ 25-35 วัน แล้วย้ายโรงเปิ ดดอก
1 อุณหภูมิ ระดับอุณหภูมิท่ีเหมาะสมต่อการเจริญเป็ นดอกของเห็ดนางฟ้ า
จะประมาณ 25 องศาเซลเซียส หากอุณหภูมิต่ ำากว่า 15 องศาเซลเซียส
หรือสูงกว่า 35 องศาเซลเซียสเห็ดนางฟ้ าจะไม่ออกดอก และการทำาให้ก้อน
เชื้อได้รับอุณหภูมิต่ ำากว่า 20 องศาเซลเซียสในระยะเวลาสั้นๆหรือได้รับ
อุณหภูมิต่ ำาในช่วงเวลากลางคืนก็จะช่วยชักนำาให้การออกดอกของเห็ดดีขึ้น
2 ความชื้น เห็ดนางฟ้ า เป็ นเห็ดที่ต้องการสภาพความชื้นของอากาศสูง
สภาพของโรงเรือนที่เหมาะสมสมมีความชื้น ไม่ต่ า ำ กว่า 80-85 เปอร์เซ็นต์
3 ปริมาณธาตุอาหารในวัสดุเพาะ นับว่ามีความสำาคัญต่อการเพิ่มผลผลิต
เห็ดนางฟ้ าอย่างมากพบว่าหากเพิ่มอาหารเสริมพวกแอมโมเนี ยไนเตรท จะ
ทำาให้ผลผลิตเห็ดนางฟ้ าเพิ่มขึ้นประมาณ 50 %
การทำาให้เกิดดอกดูแลรักษาเห็ดนางฟ้ า
ก่อนการเปิ ดดอกควรนำาก้อนเชื้อเห็ดมาวางไว้ประมาณ 3-4 วัน เห็ด
นางฟ้ าจะเปิ ดถุง โดยเอาจุกสำาลีออก นำาก้อนไปเรียงซ้อนกัน จะใช้ช้นั ไม่ไผ่
ตัว A หรือชั้นแขวนพลาสติกก็ได้ รดนำ้า รักษาความชื้นให้มากในโรงเรือน
ให้มากกว่า 70 % วันละ 2-6 ครั้ง ขึ้นอยู่กับ สภาพอากาศ โดยสเปรย์น้ ำา
เป็ นฝอย ระวังอย่ารดนำ้าเข้าในถุง เพราะถุงจะเน่ าและเสียเร็ว หลังจากบ่ม
เชื้อครบ 30-35 วัน นำาก้อนเชื้อเข้าสู่โรงเรือนเปิ ดดอก โดยแกะกระดาษ
เขี่ยข้าวฟ่ างและสำาลีออกให้หมด ทำาความสะอาดพื้นโรงเรือนรดนำ้าให้ชุ่ม
วันละ 3 เวลา คือ เช้า เที่ยง เย็น เห็ดจะออกดอก ได้ดี
เก็บผลผลิตได้นอ ้ ย หลังจาก 4-15 วัน ดอกเห็ดเล็กๆ จะเกิด เก็บผล ผลิตไ
ด้เมื่อดอก-บานเต็มที่
เห็ด เป็ นแหล่งอาหารโปรตีนจากธรรมชาติ ที่มีวิวัฒนาการมาจากการ
ประสานเส้นใยจำานวนมากของเชื้อราชั้นสูง และถึงแม้เห็ดจะขาดกรดอะมิ
โนบางตัวไปบ้าง แต่ในเรื่องของรสชาติและเนื้ อสัมผัสนั้น รับรองว่าเห็ดไม่
เป็ นรองใครในยุทธจักรอาหารอย่างแน่ นอน ที่สำาคัญเห็ดยังให้คุณค่าทาง
โภชนาการและมีสรรพคุณทางยา ซึง ่ มีคุณสมบัติท่ีช่วยเสริมภูมิคุ้มกันใน
ร่างกาย และช่วยลดอัตราความเสี่ยงจากโรคร้ายต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง เบา
หวาน อัลไซเมอร์ หลอดเลือดหัวใจอุดตัน และความดันโลหิตสูง
เห็ดจัดเป็ นอาหารประเภทผักที่ปราศจากไขมัน มีปริมาณนำ้าตาลและเกลือ
ค่อนข้างตำ่า และยังเป็ นแหล่งโปรตีนที่ดี เมื่อเทียบกับผักอีกหลายชนิ ด อีก
ทั้งยังมีรสชาติและกลิ่นที่ชวนรับประทาน ซึ่งรสชาติท่ีโดดเด่นนี้ มาจากการ
ที่เห็ดมีกรดอะมิโน กลูตามิคเป็ นองค์ประกอบ โดยกรดอะมิโนตัวนี้ จะทำา
หน้าที่ช่วยกระตุ้นประสาทการรับรู้รสอาหารของลิ้นให้ไวกว่าปกติ และ
ทำาให้มีรสชาติคล้ายกับเนื้ อสัตว์ นอกจากนี้ เห็ดยังอุดมไปด้วยวิตามิน โดย
เฉพาะวิตามินบีรวม (ไรโบฟลาวิน) และไนอาซิน ซึ่งจะช่วยควบคุมการ
ทำางานของระบบย่อยอาหาร ในส่วนของเกลือแร่ เห็ดจัดเป็ นแหล่งเกลือแร่
ที่สำาคัญ โดยมีเกลือแร่ต่างๆ เช่น ซิลิเนี ยม ทำาหน้าที่ช่วยต้านอนุมูลอิสระ
ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน โปแตสเซี
ยม ทำาหน้าที่ควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจ สมดุลของนำ้าในร่างกาย การ
ทำางานของกล้ามเนื้ อและระบบประสาทต่างๆ ลดการเกิดโรคความดันโลหิต
สูง อัมพฤกษ์ และอัมพาต ส่วนทองแดง ทำาหน้าที่ช่วยเสริมสร้างการทำางาน
ของธาตุเหล็ก และที่สำาคัญ เห็ดมีองค์ประกอบของพฤกษเคมีท่ีช่ ือว่า “ โพลี
แซคคาไรด์ ”(Polysaccharide) จะทำางานร่วมกับแมคโครฟากจ์
(macrophage) ซึ่งเป็ นเซลล์คุ้มกันขนาดใหญ่ท่ีออกจากหลอดเลือดเข้าสู่
เนื้ อเยื่อและจะไปจับกับโพลีแซคคาไรด์ท่ีบริเวณกระเพาะอาหาร และนำาไป
ส่งยังเซลล์คุ้มกันตัวอื่นๆ โดยจะช่วยกระตุ้นวงจรการทำางานของระบบ
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย นอกจากนี้ ยง ั สามารถใช้เห็ดเป็ นยาได้อีกด้วย ซึ่ง
สรรพคุณทางยาของเห็ดมีมากมาย เช่น ช่วยควบคุมการทำางานของอวัยวะ
สำาคัญต่างๆ เช่น สมอง หัวใจ ปอด ตับ และระบบไหลเวียนของโลหิต
เนื่ องจากชาวจีนจัดเห็ดเป็ นยาเย็น เพราะมีสรรพคุณช่วยลดไข้ เพิ่มพลัง
ชีวิต ดับร้อนใน แก้ช้ ำาใน บำารุงร่างกาย ลดระดับนำ้าตาล และคอเลสเตอรอล
ในหลอดเลือด ลดความดัน ขับปั สสาวะ ช่วยให้หายหงุดหงิด บำารุงเซลล์
ประสาทรักษาอาการอัลไซเมอร์และที่สำาคัญคือช่วยยับยั้งการเจริญเติบโต
ของเซลล์มะเร็ง
Category: |

You might also like