Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 4

บทวิจารณ์ งานวิจัย วิชา ร.

300 วิธีวจิ ัยทางสั งคมศาสตร์


ผู้บรรยาย อ.ทวิดา กมลเวช 5003610564 ปฐมาภรณ์ จิตพินิจ
ปาริชาติ สุ ริยวรพันธ์ . 2549. “ทัศนคติและพฤติกรรมของวัยรุ่นตอนกลางที่มีต่อหนังสื อการ์ ตูนญี่ปนุ่
ทีม่ ีเนือ้ หาเกีย่ วกับเพศและความรุ นแรง” วิทยานิพนธ์ วารสารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ
บริหารสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์ และสื่ อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
.............................................................................................................................................................................
การ์ ตูนญี่ปนที ุ่ ม่ ีเนือ้ หาเกีย่ วกับเพศและความรุนแรง” ซึ่ งประเด็นของเนื้ อหาในการ์ตูนที่มีวางจำหน่าย
ในประเทศไทยกำลังเป็ นที่วิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางถึงขอบเขตเนื้ อหาที่นำเสนอ มีท้ งั ความรุ นแรง
ฆาตกรรม ความรุ นแรงทางเพศ เพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจารกผูผ้ ลิตในประเทศไทย เห็นแก่กำไร
โดยไม่คำนึงว่ากลุ่มผูอ้ ่านทั้งหลายในประเทศไทยส่ วนใหญ่เป็ นวัยรุ่ นไม่ได้มีสงั คมวัฒนธรรมการอ่านการ์ตนู ที่
หลากหลายเหมือนในญี่ปุ่น สาเหตุที่ผวู้ ิจารณ์ได้หยิบยกงานชิ้นนี้มาเพราะว่าพฤติกรรม การรับรู ้ และทัศนคติ
ของกลุ่มวัยรุ่ นที่อ่านหนังสื อการ์ตูนญี่ปุ่นนั้น อาจทำให้การแสดงออก พฤติกรรม ของเหล่าวัยรุ่ นทั้งหลายเปลี่ยน
ไป โดยเฉพาะเปลี่ยนไปในทางที่ไม่ดี ก่อให้เกิดปัญหาสังคมดังนั้น การศึกษาวิจยั นี้จึงสามารถเป็ นแนวทางไปสู่
การป้ องกันการเกิดพฤติกรรมที่ไม่ดีได้
บทวิจารณ์งานวิจยั “ผูว้ ิจารณ์ตอ้ งการนำเสนอ 3 ส่ วนดังนี้ ส่ วนแรก เนื้อหาโดยย่อของงานวิจยั ที่ผู ้
วิจารณ์นำเสนอ ตั้งแต่แนวคิดที่มาและความสำคัญ ระเบียบวิธีวิจยั และผลการวิเคราะห์การวิจยั ส่ วนที่สอง บท
วิจารณ์งานวิจยั มโนทัศน์หลัก ชื่องานวิจยั ประโยชน์ที่ได้รับ ระเบียบวิธีวิจยั ความสอดคล้องเหมาะสม
วัตถุประสงค์การวิจยั ความที่สาม ข้อเสนอแนะต่องานวิจยั

ส่ วนที่ 1 รายละเอียดโดยย่อของงานวิจัย
งานวิจัย “ทัศนคติและพฤติกรรมของวัยรุ่ นตอนกลางที่มีต่อหนังสื อการ์ ตูนญี่ปนที ุ่ ่มีเนือ้ หาเกีย่ วกับเพศ
และความรุนแรง” มีแนวคิดว่าการ์ตูนญี่ปุ่นเป็ นสื่ อที่เป็ นตัวกลางผ่านวัฒนธรรมของญี่ปุ่นสู่ เป้ าหมาย ที่
ครอบคลุมกลุ่มคนทุกเพศทุกวัย โดยการ์ตูนญี่ปนที ุ่ ่เข้ามาในประเทศไทยนั้นมีเนื้อหาค่อนข้างรุ นแรงและเกี่ยว
กับเรื่ องเพศ กลุ่มที่อ่านการ์ตูนญี่ปนนี ุ่ ้ ส่วนใหญ่เป็ นวัยรุ่ น ผูว้ ิจยั จึงแนวแนวความคิดว่าวัยรุ่ นที่บริ โภคการ์ตูนนั้น
มีส่วนในการสร้างเสริ มพฤติกรรม การแสดงออก และทัศนคติ ของวัยรุ่ นหรื อไม่ โดยผูว้ ิจยั ได้สร้าง
วัตถุประสงค์ของงานวิจยั ดังนี้ เพื่อศึกษาถึงการรับรู ้ พฤติกรรมการอ่าน และทัศนคติของวัยรุ่ นตอนกลางชาย
หญิงที่อ่านหนังสื อการ์ตูนญี่ปุ่นที่มีเนื้ อหาเกี่ยวกับเรื่ องเพศและความรุ นแรง โดยการจำกัดขอบเขตของการวิจยั
ด้านประชากรและพื้นที่ คือวัยรุ่ นตอนกลาง อายุ 15-18 ปี ที่อาศัยอยูใ่ นเขตกรุ งเทพมหานคร ผูว้ ิจยั ได้กล่าวว่า
สาเหตุที่กำหนดกลุ่มประชากรไว้เพียงวัยรุ่ นตอนกลางเนื่องจากวัยรุ่ นเป็ นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่ างกาย
และจิตใจอย่างรวดเร็ ว ผูว้ ิจยั ใช้ทฤษฏีการเลือกรับข่าวสาร (Selective Processes) ในการมองการ์ตูนญี่ปนว่ ุ่ าเป็ น
เครื่ องมืออย่างหนึ่งที่ทำให้ ผูบ้ ริ โภคมีพฤติกรรม ทัศนคติที่เปลี่ยนไป ตามที่สื่อนำเสนอ โดยเรื่ องพฤติกรรมและ
ทัศนคติน้ นั มีการยกแนวคิดจิตวิทยาเรื่ องเพศของวัยรุ่ น ทฤษฏีการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจ (The Uses
and Gratification) และแนวคิดเกี่ยวกับ ความรู ้ ทัศนคติและพฤติกรรม นำมาอธิ บายวัยรุ่ นหรื อกลุ่มประชากรที่ผู ้
วิจยั ได้ทำหนดกลุ่มเป้ าหมายไว้ และยังได้ยกแนวคิดเกี่ยวกับการ์ตูนในการวิเคราะห์ลกั ษณะสำคัญของการ์ตูน
ด้านระเบียบวิธีการวิจยั ผูว้ ิจยั ศึกษาวิจยั เป็ นเชิงปริ มาณ โดยใช้เทคนิควิธีวิจยั เชิงสำรวจ (Survey
Research) ในการศึกษาผูว้ ิจยั ได้ใช้แบบสอบถามชนิดปลายปิ ด (Close-ended Questions) เป็ นเครื่ องมือในการ
ทำการวิจยั โดยใช้กลุ่มประชากรวัยรุ่ นชาย-หญิงอายุระหว่าง 15-18 ปี ทั้งสิ้ น 304,041 คน ซึ่ งสามารถนำมา
คำนวณตามสูตรของยามาเน (Taro Yamane) ได้จำนวน 277.52 คนหรื อประมาณ 300 คนเพื่อป้ องกันความผิด
พลาด การศึกษาวิจยั ครั้งนี้ผวู้ ิจยั ได้ใช้วธิ ีการสุ่ มตัวอย่างแบบไม่ทราบโอกาส (Non-Probability Sampling) ผสม
กับวิธีการแบบโควต้า (Quota Sampling) ด้วย โดยแบ่งเป็ นเป็ นประชากรชาย 150 คนและประชากรหญิง 150
คน และเก็บรวบรวมข้อมูลภายในช่วงเวลาเดียว (Cross Selection ฟส Approach) และมีวิธีการวิเคราะห์ผลเชิง
สถิติ
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่กำลังศึกษาในระดับมัธยมปลายมากที่สุดโดยเป็ นชายมากกว่า
หญิง (จำนวนใกล้เคียงกัน) มีรายได้ของครอบครัวต่อเดือนระหว่าง 200,001-300,000 บาท และได้รับเงินใช้จ่าย
ในแต่ละวัยจำนวน 50-100 บาท ขณะที่หนังสื อการ์ตูนส่ วนใหญ่มีราคา 46-50 บาท กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการ
อ่านหนังสื อการ์ตูนช่วงตอนกลางคืนและชอบอ่านคนเดียว โดยเนื้ อหาส่ วนใหญ่เกี่ยวกับอาชญากรรม ลึกลับ
สอบสวน รองลงมาคือเรื่ องรักโรแมนติกในสถาบันการเรี ยน ซึ่ งเหตุผลที่เลือกอ่านคือ เนื้อเรื่ องมีความ
สนุกสนาน อ่านแล้วเพลิดเพลิน ช่วยผ่อนคลายความตึงเครี ยด และปั จจัยที่สำคัญที่ทำให้เลือกอ่านหนังสื อคือ
เพื่อน ส่ วนเรื่ องการรับรู้พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่มีการรับรู ้เกี่ยวกับหนังสื อการ์ตูนญี่ปุ่นที่มีเนื้ อหาเกี่ยวกับ
เพศและความรุ นแรงอย่างถูกต้อง และมีทศั นคติเป็ นกลางต่อหนังสื อการ์ตูนประเภทนี้ และผลการวิจยั พบว่า
กลุ่มตัวอย่างคิดว่า การอ่านหนังสื อการ์ตูนเกี่ยวกับเพศและความรุ นแรง ช่วยกระตุน้ ให้เกิดความอยากรู ้อยาก
เห็นในเรื่ องเพศมากขึ้นและกระตุน้ ให้เกิดความอยากมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรี ยนด้วย
การศึกษาวิจยั เรื่ องนี้ ผูว้ ิจยั ได้คาดว่า จะสร้างประโยชน์ได้หลายประการดังนี้ เพื่อทราบถึงพฤติกรรม
การอ่าน การรับรู้ ทัศนคติของวัยรุ่ นตอนกลางในเขตกรุ งเทพมหานครที่อ่านหนังสื อการ์ตูนญี่ปุ่น ที่มีเนื้ อหา
เกี่ยวกับเพศและความรุ นแรง และนำข้อมูลที่ได้มาประกอบการพิจารณาของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านกฎหมาย
ในการจัดระดับเนื้ อหาหนังสื อการ์ตูนที่มีเนื้ อหาเกี่ยวกับเพศและความรุ นแรง และเพื่อเป็ นข้อมูลเบื้องต้นในการ
ศึกษาค้นคว้าถึงผลกระทบของการ์ตูนญี่ปุ่นที่มีต่อสังคมไทย

ส่ วนที่ 2 บทวิจารณ์ งาน


การวิจยั ชิ้นนี้มีชื่อ/หัวข้อการวิจยั ที่ค่อนข้างแคบ ไม่รับต่อวัตถุประสงค์และเนื้ อหางานวิจยั ทั้งนี้ผู ้
วิจารณ์มีขอ้ เสนอแนะคือควรขยายกรอบของชื่อ/หัวข้อการวิจยั “หนังสื อการ์ตูนญี่ปุ่นกับพฤติกรรมของวัยรุ่ น
ตอนกลาง” จะทำให้งานวิจยั มีความน่าสนใจ และรองรับกับเนื้อหาของงานวิจยั มากขึ้น การเขียนรายงานการวิจยั
ผูว้ จิ ยั แบ่งการนำเสนอ ออกเป็ น 5 บท ตามแบบแผนการการเขียนรายงานการวิจยั ทัว่ ไป โดยบทนำ บทที่ 1 นั้น
เป็ นส่ วนสำคัญที่จะทำให้ผอู้ า่ นมีความเข้าใจเกี่ยวกับกรอบความคิดการวิจยั ทั้งหมด ซึ่ งผูว้ ิจยั ได้นำเสนอ ที่มา
และความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการศึกษา ฯลฯ จากหัวข้อวิจยั และที่มาความสำคัญของปั ญหาของ
งานชิ้น ผูว้ ิจารณ์สามารถสรุ ปมโนทัศน์หลักของงานวิจยั ดังนี้ พฤติกรรมและทัศนคติ บางประการของวัยรุ่ น
นั้นได้ทำให้วยั รุ่ น มีพฤติกรรมที่เลือกรับ/อ่านหนังสื อการ์ตูน โดยผูว้ ิจยั มีสร้างวัตถุประสงค์รองรับต่อการนำ
เสนอที่มาของปัญหาไว้ 1 ข้อ ส่ วนอีก 3 ข้อนั้นเป็ นการศึกษาถึงกระบวนการการรับรู ้เกี่ยวกับหนังสื อของวัยรุ่ น
และภายหลังการรับรู้มีผลทำให้พฤติกรรมของวัยรุ่ นที่เกิดการเปลี่ยนแปลง ถ้าหากว่าผูว้ ิจยั ขยายกรอบงานให้
กว้างขึ้นรองรับกับวัตถุประสงค์แล้ว ผูว้ ิจารณ์คิดว่า งานจะสมบูรณ์ ทั้งนี้เนื่องจากสามารถขยายความคาดหวังต่อ
ประโยชน์ของงานวิจยั ชิ้นนี้เพิ่มเติมคือ สร้างแนวทางในการจัดการ แก้ไข ป้ องกัน พฤติกรรมของวัยรุ่ นหรื อ
ครอบครัวที่มีวยั รุ่ น ที่มีแนวโน้มจะมีพฤติกรรมเบี่ยงเบน จากการอ่านหนังสื อการ์ตูนที่มีเนื้ อหาเกี่ยวกับความ
รุ นแรงและเพศ เนื่องจากงานวิจยั ชิ้นนี้ มีผลการศึกษาที่สามารถนำไปใช้ในการป้ องกันได้ แต่ไม่ได้ใส่ ไว้เป็ น
ประโยชน์ จากบทที่ 1 ผูว้ จิ ยั ได้นำเสนอประเด็นสำคัญไว้เกือบครอบถ้วน แต่วา่ ผูว้ ิจยั ไม่เขียนกรอบแนวคิดการ
วิจยั และไม่มีการสร้างคำถามการวิจยั ที่ชดั เจน ซึ่ งทั้ง 2 หัวข้อนี้ผวู ้ ิจารณ์คิดว่ามีความสำคัญต่องานอย่างยิง่ คือ
ทำให้ผอู ้ ่านงานวิจยั สร้างความเข้าใจต่องานได้มากขึ้น ในส่ วนของ
บทที่ 2 นั้นผูว้ ิจยั ได้มีการกล่าวถึงแนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้องไว้ 6 ทฤษฎีดว้ ยกัน แต่ประการสำคัญนั้นผู ้
วิจารณ์มีความเห็นต่อการนำเอาทฤษฏีแนวคิด มากรอบงานของผูว้ ิจยั คือ จากแนวคิดที่มาของงานวิจยั พบว่างาน
ชิ้นนี้สร้างกรอบที่มีน ้ำหนักด้าน “สื่ อ” เป็ นเครื่ องมือที่สำคัญต่อการรับรู ้ของวัยรุ่ น แต่วา่ น้ำหนักของทฤษฏีที่ผู ้
วิจยั ได้คน้ คว้าและนำเสนอนี้ค่อนข้างจะเป็ นการให้น ้ำหนักในเรื่ องความเปลี่ยนแปลงด้านทัศนคติและ
พฤติกรรมของวัยรุ่ นมากกว่า ผูว้ ิจยั ได้รวบแนวคิดและทฤษฏีไว้อย่างครบถ้วน แต่ในบางทฤษฏีผวู ้ ิจยั ลืมที่จะ
อธิ บายว่าแนวคิดนี้นำไปใช้ลองรับงานวิจยั อย่างไร และแนวคิดทฤษฏีบางทฤษฏีผวู ้ ิจารณ์เห็นว่ามีความ
คล้ายคลึงกันอยูม่ าก ตัวอย่าง แนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติ (Attitude) และ แนวคิดเกี่ยวกับความรู ้ ทัศนคติ และ
พฤติกรรม มีขอ้ มูลที่ซ้ำซ้อนคือเกี่ยวกับทัศนคติ ทั้งสองแนวคิดนี้ มีการอธิ บายว่าทัศนคติเกิดจากสังคมเป็ นผู ้
กระทำต่อบุคคลคล้ายกัน โดยที่ผวู้ ิจยั ไม่ได้นำทฤษฏีมาโต้เถียง เพื่อหาข้อยุติให้กบั งานของตนเอง ผูว้ ิจารณ์มีขอ้
เสนอแนะว่าทฤษฏีควรเพิ่มเติมแนวคิดเกี่ยวกับวัยรุ่ นเนื่องจากว่า หัวข้อวิจยั ได้ระบุถึงวัยรุ่ นตอนกลาง แต่ในตัว
เล่มขาดงานที่จะอธิบายถึงการแบ่งช่วงของวัยรุ่ น และงานที่รองรับว่า วัยรุ่ นตอนกลางเป็ นช่วงเวลาแห่งการ
เปลี่ยนแปลงที่สำคัญของมนุษย์ และทฤษฎีจิตวิทยาการรับรู ้ อันเป็ นเหมือนกรอบแนวคิดโดยตรงของงานวิจยั
ชิ้นนี้
ด้านบทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย ผูว้ จิ ยั ได้อธิ บายไว้อย่างคร่ าว ถึงการวิจยั เชิงปริ มาณมีการสร้างระเบียบ
วิธีการวิจยั อย่างเป็ นระบบ การกำหนดกลุ่มประชากรของผูว้ ิจยั ได้กำหนดไว้เป็ นชายหญิง วัยรุ่ นตอนกลางที่
มีอายุ 15-18 ปี ในเขตกรุ งเทพมหานคร ซึ่ งสามารถอนุมานได้วา่ ประชากรกลุ่มนี้กำลังศึกษาอยูใ่ นขั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย ส่ วนวิธีการสุ่ มตัวอย่างของผูว้ ิจยั ได้ใช้วิธีการสุ่ มตัวอย่างแบบไม่ทราบความน่าจะเป็ น
และกำหนดกลุ่มโควตาเป็ นชาย 150 คน หญิง 150 คน ผูว้ ิจารณ์มีความเป็ นว่าการกำหนดโควตาของกลุ่ม
ตัวอย่างนี้จะทำให้ผลการวิจยั คลาดเคลื่อน เนื่องจากกลุ่มประชากรที่นำมาหากลุ่มตัวอย่างเป็ นวัยรุ่ นชายหญิง
ตอนกลาง ซึ่ งในจำนวนนี้จะมีจำนวนที่แตกต่างกันของชายและหญิง ผูว้ ิจารณ์มีความคิดเห็นว่า น่าจะให้วิธีการ
สุ่ มตัวอย่างแบบเฉพาะจงคือ ใช้คำถามนำ ในการตรวจสอบว่าจะสามารถได้กลุ่มประชากรที่อ่านหนังสื อการ์ตูน
ญี่ปนจริ ุ่ ง และไม่ควรโควตากลุ่มตัวอย่าง เนื่องจากผูว้ จิ ยั จะไม่สามารถใช้เพศเป็ นตัวแปรได้ เพราะได้กำหนด
โควตาไปแล้ว ส่ วนเครื่ องมือแบบสอบถามที่ผวู ้ ิจยั ได้สร้างขึ้นนั้น แบ่งออกเป็ น 5 ส่ วนดังนี้ ส่ วนที่หนึ่งข้อมูล
ทัว่ ไป ส่ วนที่ 2 พฤติกรรมการอ่านหนังสื อการ์ตูนญี่ปุ่น ส่ วนที่ 3 การรับรู ้ของวัยรุ่ นตอนกลางที่มีต่อหนังสื อ
การ์ตูนญี่ปุ่น ส่ วนที่ 4 ทัศนคติของวัยรุ่ นตอนกลางที่มีต่อการ์ตูนญี่ปุ่น ส่ วนที่ 5 คำถามปลายเปิ ด ข้อเสนอแนะ
ซึ่ งเครื่ องมือนี้ มีความเหมาะสมกับ วัตถุประสงค์ดี แต่ผวู ้ ิจารณ์น้ นั ควรจะเพิ่มในส่ วนการหาปั จจัยที่ทำให้วยั รุ่ น
ตอนกลางอ่าน/เริ่ มอ่านหนังสื อการ์ตูนญี่ปนุ่ ทั้งนี้การหาปัจจัย จะสามารถแก้ปัญหา ทราบปัญหา และเข้าใจ
พฤติกรรมของวัยรุ่ นได้ดียงิ่ ขึ้น ในส่ วนการวิเคราะห์ขอ้ มูล ใช้การวิเคราะห์เชิงสถิติที่มีความเหมะสมกับการวิจยั
เชิงปริ มาณอย่างยิง่ ผูว้ ิจารณ์มีความเห็นว่า ผูว้ ิจยั ได้ให้ความสำคัญกับระเบียบวิธีการวิจยั น้อย เนื่องจากการวิจยั
เชิงปริ มาณจำเป็ นต้องมีการวัดความน่าเชื่อถือของเครื่ องมือแบบสอบถาม เพื่อให้สามารถใช้ได้อย่างเที่ยงตรง
แต่วา่ งานวิจยั ชิ้นนี้ขาดเนื้อหาตรงจุดนี้ไป
บทที่ 4 และ บทที่ 5 ผูว้ ิจยั ได้แสดงผลการศึกษาทั้งหมด และการอธิ บายเป็ นตารางแสดงค่าร้อยละ โดย
กำหนดลำดับการนำเสนอผูม้ ูลจากตัวแปร ที่กำหนดไว้ในแบบสอบถาม ทั้งนี้ผวู ้ ิจยั ไม่ได้สร้างความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปรที่กำหนดไว้ ผูว้ ิจารณ์มีความเห็นว่า ผูว้ ิจยั สามารถที่จะศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ยก
ตัวอย่างเพศมีผลต่อพฤติกรรมของการเลือกอ่านหนังสื อการ์ตูนหรื อไม่ รายได้มีผลต่อทัศนคติของวัยรุ่ นตอน
กลางที่มีต่อหนังสื อการ์ตูนญี่ปุ่นหรื อไม่ ฯลฯ การกำหนดความสัมพันธ์ของตัวแปรที่หลากหลายจะทำให้งาน
วิจยั ชิ้นนี้มีความน่าสนใจเพิ่มมากขึ้น และยังสามารถสร้างองค์ความรู ้ใหม่เพื่อนำไปต่อยอดในการวิจยั ครั้งต่อไป
ได้

ส่ วนที่ 3 ข้ อเสนอแนะ
ผูว้ จิ ยั ได้เสนอแนะสำหรับการวิจยั ครั้งต่อไปว่า ควรจะศึกษาร่ วมกันทั้งเชิงประมาณและเชิงคุณภาพทั้ง
เนื่องจากจะทำให้ได้ขอ้ มูลเชิงวัฒนธรรมและบริ บทของสังคมที่กลุ่มประชากรอาศัยอยู่ ผูว้ ิจารณ์มีขอ้ เสนอแนะ
ต่องานวิจยั เกี่ยวกับการเขียนรายงานการวิจยั ภาษาที่ใช้ บางคำ เช่นเรื่ องรักๆ ใคร่ ๆ ชกต่อย ฯลฯ ไม่เหมาะสมกับ
การเขียนงานวิชาการ และอีกประการหนึ่งคือผูว้ ิจารณ์มีความเห็นว่างานวิจยั ชิ้นนี้มีขอ้ บกพร่ อง ค่อนข้างมากใน
ข้อมูล เช่น Manga อ่านว่า มังงะ ในงานงิจยั อ่านว่า มันงะ ซึ่ งเป็ นเรื่ องที่ตอ้ งให้ความสำคัญอย่างมาก

You might also like