Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 3

ผูบ้ รรยาย อ.

ชนินท์ทิรา ณ ถลาง นางสาวปฐมาภรณ์ จิตพินิจ 5003610564


อินโดนีเซีย สามารถรักษาเสถียรภาพทางด้ านการเมืองหลังการปฏิรูป reformasi ในปี 1998 ท่ านเห็นด้ วยหรือไม่ เพราะเหตุ
ใดท่ านถึงเห็นเช่ นนั้น
ประเทศอินโดนีเซีย เป็ นประเทศที่มีลกั ษณะเป็ นหมู่เกาะ ประกอบด้วยเกาะกว่าหมื่นเกาะ แต่มีคนอาศัยอยู่
ประมาณ 6,000 เกาะ ซึ่งทำให้มีความหลากหลายทางด้านชาติพนั ธุ์ ทว่าระบอบการปกครอง อินโดนีเซียเป็ นรัฐเดี่ยว ภายใต้
แนวคิด Unity is diversity และใช้ภาษาอินโดนีเซียเป็ นภาษากลาง อินโดนีเซียมีประชากรมากเป็ นอันดับ 4 ของโลก ส่วน
ใหญ่นบั ถือศาสนาอิสลามซึ่งทำให้ประเทศนี้ เป็ นประเทศมุสลิมที่ใหญ่เป็ นอันดับ 1 ของโลก อินโดนีเซียมีอารยธรรม ความ
เจริ ญรุ่ งเรื อง และประวัติศาสตร์อนั ยาวนาน รวมถึงประวัติศาสตร์การถูกครอบงำอันยาวนานถึง 300 ปี จากลัทธิล่า
อาณานิคมประเทศเนเธอแลนด์ หลังจากการต่อสู้เพื่อเอกราชอันยาวนานของขบวนการชาตินิยมอินโดนีเซีย จึงได้ประกาศ
เอกราชในปี 1945 ผูนำ ้ ขบวนการชาตินิยม ซูการ์โน กลายมาเป็ นประธานาธิบดี คนแรกในยุคประชาธิปไตยแบบชี้ นำ หลัง
จากนั้นเข้าสู่ การขึ้นมามีอำนาจของ ซูฮาร์โต นายทหารคนสนิทจากการปฏิวตั ิแบบค่อยเป็ นค่อยไป
งานเขียนชิ้นนี้มีประเด็นหลักคือ 1. สถานการณ์การเมืองยุคซูฮาร์โตช่วงหลัง เหตุและปัจจัยที่ทำให้ซูฮาร์โต ต้อง
ก้าวลงจากอำนาจ 2. การปฏิรูป reformasi ในปี 1998 3. วิเคราะห์ความมีเสถียรภาพทางด้านการเมืองหลังการปฏิรูป
reformasi
สถานการณ์ การเมืองยุคซูฮาร์ โต
ซูฮาร์โต ได้กา้ วสู่อำนาจโดยมีทหารเป็ นกำลังค้ำจุนให้เขาได้เป็ นผูนำ
้ อินโดนีเซียยาวนานถึง 32 ปี ซูฮาร์โตได้
สถาปนา “ระเบียบใหม่” วิถีการเมืองการปกครองภายใต้การปกครองภายใต้เผด็จการซูฮาร์โต เสรี ภาพทางการเมือง การ
แสดงความคิดเห็นทางการเมือง ของประชาชนถูกจำกัดอย่างมาก มีการยุบพรรคการเมืองที่มีหลายพรรค เหลือเพียง 3 พรรค
ภาคใต้พรรครัฐบาลโกร์คา ที่มีอำนาจมากที่สุด โดยบังคับให้ทุกพรรคการเมืองยึดหลัก ปัญจศีล ที่เป็ นข้ออ้างในการยุบ
พรรคการเมือง การรวมอำนาจสู่ศูนย์กลางนี้ รัฐบาลทหารพรรคโกล์คา ได้ใช้อำนาจอย่างแข็งขัน ชูประเด็นกวาดล้าง
คอมมิวนิสต์ที่ทำให้สามารถใช้อำนาจ ลงโทษ บุคคลได้โดยมิชอบโดยกล่าวหาว่าเป็ นคอมมิวนิสต์ และเน้นที่พฒั นาทาง
ด้านเศรษฐกิจ มีการใช้เอกชนเข้ามามีบทบาทในการพัฒนาประเทศ ในขณะนั้นมีอตั ราเจริ ญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจอย่าง
สูง แต่ประชาชนทัว่ ไปกลับไร้ที่ดินทำกินอันเนื่องมาจากการคอร์ชนั่ อย่างมหาศาลของซูฮาร์โตและพวกพ้อง สถานการณ์
ทางการเมืองเริ่ มสัน่ คลอนจากวิกฤติเศรษฐกิจ ในปี 1997 ค่าเงินรู เปี ยอ่อนตัวลงอย่างมาก ประชาชนได้รับผลกระทบ จาก
การที่สาธารณูปโภคขึ้นราคา ประเทศในเอเชียและอินโดนีเซียได้รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจนี้อย่างรุ นแรงภายใต้
การนำของซูฮาร์โต จำเป็ นที่จะต้องยืมเงินจาก IMF เพื่อที่จะรักษาเสถียรภาพทางการเงินของประเทศไว้ จากการลงนามใน
สัญญาความช่วยเหลือของ IMF นี้รัฐบาลซูฮาร์โตถูกกดดันอย่างหนักในเรื่ องธรรมาภิบาลในการปกครองของประเทศ
ทำให้นานาประเทศกลับมามองวิถีการที่รัฐบาลซูฮาร์โตใช้ในการเมืองครอง ตลอด 30 ปี และประชาชน หันมาตื่นตัว
ทางการเมืองเมืองมากขึ้น มีการปราศรัยในสภาของพรรคฝ่ ายค้าน ถึงการทุจริ ตคอร์รัปชัน่ ของรัฐบาล ซูฮาร์โต และพวก
พ้อง การใช้อำนาจในทางมิชอบ การละเมิดสิ ทธิมนุษยชน ในการใช้กำลังปราบปรามผูท้ ี่ถูกกล่าวหาว่าเป็ นคอมมิวนิสต์
ประชาชนรวมตัวกันเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อให้มีการปฏิรูปทางการเมืองลดบทบาทของทหาร(รัฐบาลเดียวซูฮาร์โต)
เรี ยกร้องให้ซูฮาร์โตลงจากตำแหน่ง มีการเรี ยกร้องให้ตรวจสอบการทุจริ ตคอร์รัปชัน การให้อำนาจในทางมิชอบของ
รัฐบาลทหาร แต่เดิมทหารมีบทบาท 2 ประการ ที่เรี ยกว่า Dwifunsi คือมีบทบาทในด้านความมัน่ คงของประเทศและ
บทบาททางการเมืองและสังคม ทั้งยังเรี ยกร้องให้มีการแบ่งแยกหน้าที่กนั ระหว่างทหารกับตำรวจให้ชดั เจน (แต่เดิม
อินโดนีเซียมีแต่ทหาร) ซึ่งจากขบวนการเคลื่อนไหวในหมู่นกั ศึกษาและประชาชน (Reformasi Movement) อย่างกว้างขวาง
ปัญหาสำคัญอีกประการหนึ่งคือ ความแตกต่างกันทางด้านเศรษฐกิจ ความเหลื่อมล้ำทางฐานะเศรษฐกิจ คนจนในพื้นที่เกาะ
ต่างๆ มีมาก ทั้งยังมีปัญหาการขาดแคลนพื้นที่ทำกิน ขาดสาธารณูปโภค รัฐบาล และบริ ษทั เอกชน ต่างรวยกันถ้วนหน้า ด้วย
ความเหลื่อมล้ำทางสังคม เศรษฐกิจ ทำให้มีเคลื่อนไหวของชนกลุ่มน้อยในพื้นที่ต่างๆ ในอินโดนีเซีย เกิดกระแสผลักดันให้
รัฐบาล เข้ามาจัดการปัญหาเหล่านี้อย่างกว้างขวาง ทั้งหมดนี้ เป็ นพลังที่ทำให้ซูฮาร์โตจำเป็ นต้องก้าวลงจากตำแหน่งผูนำ

ทางการเมืองของอินโดนีเซียและผลักดันให้เกิดการปฏิรูปการเมืองให้เป็ นประชาธิปไตยอีกด้วย
การปฏิรูป Reformasi ในปี 1998
การปฏิรูป Reformasi ของอินโดนีเซียในปี 1998 นั้นเกิดจากขวนการเคลื่อนไหวของนักศึกษาและประชาชน จน
ลุกลามกลายเป็ นการเกิดจลาจลกลางเมือง ทำให้เกิดการปฏิรูปขึ้น หลังจากที่ซูฮาร์โตได้กา้ วลงจากตำแหน่งประธานาธิบดี
ฮาบิบี่ (B.J.Habibie) รองประธานาธิบได้กา้ วเขาสู่ ตำแหน่ง โดยการแต่งตั้งจากซูฮาร์โตได้รับการยอมรับจากสภาที่ปรึ กษา
ประชาชนหรื อ MPR สภานี้ ประกอบไปด้วยสภาผูแ้ ทนราษฎร และตัวแทนจากท้องถิ่น พรรคการเมืองที่มีบทบาทสำคัญคือ
The Party of the Functional Groups (Golkar)พรรครัฐบาล พรรคฝ่ ายค้าน Indonesian Democratic Party of Struggle (PDI –
P) ที่มีนางเมฆาวตี ซูการ์โนปุตรี เป็ นหัวหน้าพรรค National Awakening Party (PKB) ที่มีอบั ดุลรามาน วาฮิดเป็ น
หัวหน้า United Development Party (PPP) หลังได้รับการแต่งตั้งให้เป็ นประธานาธิบดี เขาได้ได้ให้สตั ยาบันว่า จะแก้ไข
รัฐธรรมนูญ เพื่อให้เกิดประชาธิปไตยขึ้น นักวิชาการส่ วนใหญ่มองว่า รัฐบาลของฮาบิบี่เป็ นเสมือนรัฐบาลรักษาการเพื่อที่
จะ นำไปสู่การเลือกตั้งมากกว่าที่จะเป็ นรัฐบาลเต็มตัว ภายในระยะ 1 ปี เขาได้ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่าง
ใหญ่หลวง คือ ในขณะขั้นสถานการณ์ในติมอร์ตะวันออกเริ่ มรุ นแรงขึ้น ฮาบิบีได้จดั ให้ มีการทำประชามติเพื่อหยัง่ เสี ยงว่า
ชาวติมอร์ตอ้ งการที่จะปกครองตนเองหรื อไม่ ทำให้เกิดกระแสความไม่พอใจในฝ่ ายทหาร กลุ่มอำนาจเก่าที่เสี ยผล
ประโยชน์ พยายามตั้งกลุ่มเพื่อสร้างสถานการณ์ไม่สงบในพื้นที่ต่างๆ แสร้งทำตัวเป็ นประชาชนที่ไม่พอใจการทำงานของ
รัฐบาล ประการสำคัญที่ฮาบิบีได้สร้างคือประกาศให้มีการเลือกตั้งทัว่ ไปในอีก 1 ปี ต่อมา รัฐบาลชุดต่อมาคือ อับดุลรามาน
วาฮิด ที่เป็ นประธานาธิบดีคนแรกของอินโดนีเซียที่มาจากการเลือกตั้งโดยอ้อม รัฐบาลนี้ อยูใ่ นตำแหน่งไม่นานนัก เนื่องจาก
ถูกกล่าวหาว่า คอรัปชัน่ จนถูกสภา MPR ถอดถอน และให้นางเมฆาวตี ซูการ์โนบุตรี ข้ึนมาเป็ นประธานาธิบดีแทน และ
ประกาศให้มีการเลือกตั้งประธานาธิบดี อย่างเป็ นทางการในปี 2547 หลังจากการเลือกตั้งครั้งนี้ได้ นายซูซิโล บัมบัง ยูโดโย
โน นายยูซุฟ คัลลา เป็ นประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดี
วิเคราะห์ ความมีเสถียรภาพทางด้ านการเมืองหลังการปฏิรูป reformasi
ความมีเสถียรภาพทางการเมืองหลังการปฏิรูป reformasi สามรถสังเกตได้วา่ การปฏิรูป reformasi นั้นมีหลัก
ใหญ่ในการวิเคราะห์ อยู่ 2 ประการคือเงื่อนไขของบุคคล และเงื่อนไขของระยะเวลา หาวิเคราะห์ว า่ หากมองจากเงื่อนไข
ของบุคคล ประการแรกว่าการลงจากอำนาจของซูฮาร์โตเป็ นการปฏิรูป reformasi จะพบว่าสถานการณ์การเมืองภายหลัง
การลงจากอำนาจของเผด็จการทหารผูน้ ้ี ทำให้ประเทศอินโดนีเซีย มีความวุน่ วาย ทั้งทางด้าน การเมืองและสังคม เนื่องจาก
้ ถึง 3 คนภายในระยะเวลาสามปี ทั้งยัง มีการปะทะกันระหว่างทหารซึ่งเป็ นกลุ่มอำนาจเก่า
ว่าการเมืองนั้นมีการเปลี่ยนผูนำ
กับพรรคฝ่ ายค้านเดิมที่กา้ วเข้ามามีอำนาจในการบริ หารประเทศ อีกทั้งสถานการณ์การเมืองส่ งผลให้ เกิดการยัว่ ยุ ปลุกปั่น
ประชาชนสร้างสถานการณ์ความรุ นแรงให้เกิดขึ้นภายในสังคม และขบวนการเคลื่อนไหวเรี ยกร้อง ทางการเมือง การ
จลาจลที่เกิดขึ้น ก่อนที่จะมีการปฏิรูป reformasi รัฐบาลชุดใหม่ ก็ไม่สามารถควบคุมสถานการได้ เนื่องจากฝ่ ายทหาร ยัง
หวงอำนาจของตน ไม่ยอมช่วยระงับ รักษาสถานการณ์ภายในประเทศ แต่ทว่าการมองจากเงื่อนไขของระยะเวลาว่าการ
ปฏิรูป reformasi เป็ นระยะเวลา 5 ปี ในการเปลี่ยนผ่านจากระบบเผด็จการทหาร ไปสู่สิทธิเสรี ภาพทางการเมืองของ
ประชาชน ความเป็ นประชาธิปไตย ที่เพิม่ ขึ้นแล้ว ก็นบั ได้วา่ การปฏิรูป reformasi ทำให้สถานการณ์ทางการเมืองของ
อินโดนีเซียมีความมัน่ คงเพิม่ มากขึ้น จากเดิมเป็ นอันมาก เนื่องจากว่านอกจากที่จะค่อยๆ ลดบทบาทของทหารแล้ว SBY ยัง
ใช้แนวทางสันติวิธีในการ เจรจาชักจูง ให้กลุ่มชนกลุ่มน้อย หรื อกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ เข้ามาเล่น หรื อเป็ นตัวแสดงในเกม
การเมือง แทนการไป ตั้งกลุ่มเป็ นกลุ่มก่อความไม่สงบ ภายในประเทศ ทั้งนี้ความเป็ นประชาธิปไตยของอินโดนีเซียยัง
ทำให้เกิดความเชื่อมัน่ จากนานาชาติทำให้เกิดการพัฒนา การแลกเปลี่ยนทางสังคม การลงทุนจากต่างชาติเพิ่มขึ้น มากกว่า
หรื อเท่ากับ การที่รัฐบาลซูฮาร์โต ชูประเด็นทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว ลดช่องว่างความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจในภูมิภาค
ต่างๆ ทัง่ อินโดนีเซีย
ผูเ้ ขียนมีความ เห็นด้วยกับการที่จะบอกว่า การปฏิรูป reformasi นั้นควรมองในมุมเงื่อนไขของเวลา เนื่องจาก
สถานการณ์การเมืองในปัจจุบนั ถือได้วา่ เป็ นประเทศหนึ่งที่มีเสถียรภาพทางด้านสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ และเกิดการ
พัฒนานับจากมีการปฏิรูปอย่างต่อเนื่อง
บรรณานุกรม
วิทยา สุ จริ ตธนารักษ์.(2541). การพัฒนาเศรษฐกิจการเมืองอินโดนีเซีย. กรุ งเทพฯ : สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ในพระ
ราชูปถัมภ์สมเด็จพระรัตนราชสุ ดา สยามบรมราชกกุมารี , ธรรมศาสตร์ .
William Case (2002). Politicals in Southeast Asia : Democracy or Less. Richmon, Surray , Curson Press.
………………………………………………………………………………………………………………………………

You might also like