Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 2

หัวข้ อที่ 6 โลกาภิวตั น์ กบั ความเป็ นธรรมระหว่ างประเทศ

งานวิจยั เรื่ องโลกาภิวตั น์กบั ความเป็ นธรรมระหว่างประเทศ เป็ นส่ วนหนึ่งของของโครงการวิจยั ยุทธศาสตร์ใน
การเผชิญผลกระทบจารกระแสโลกาภิวตั น์ต่อสังคมไทย ซึ่งเขียนโดยอาจารย์วีระ สมบูรณ์ ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศ รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
คำถามหลักของงานเขียน – “โลกาภิวตั น์เป็ นกระแสที่ขยายตัวครอบคลุม จนทำให้อำนาจรัฐในกรอบรัฐชาติ ไม่อาจจัดการ
กับเงื่อนไข สภาพการณ์ และปัญหาที่ตามมาได้เป็ นอันมาก” โดยในงานเขียนชิ ้นนี้มุ่งเน้นประเด็นความเป็ นธรรมในระดับ
โลก
จุดมุ่งหมายของงานเขียน
- มุ่งนำเสนอเค้าโครงทางความคิดอย่างกว้างๆ มากกว่าที่จะลงในรายละเอียด
- การสำรวจแนวความคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับปัญหาความเป็ นธรรมในโลกาภิวตั น์เป็ นหลัก
กรอบแนวคิดและทฤษฎี “ทฤษฎีเชิงวิพากษ์ (Critical Theory) ”
เชิงปฏิฐานนิยม (Positivistic) Vs เชิงบรรทัดฐาน (Normative)
บทที่ 2 โลกาภิวตั น์ :สถานะในทางความคิดและรูปธรรม – นำเสนอแนวความคิดเกี่ยวกับโลกาภิวตั น์
- ภววิทยาของโลกาภิวตั น์ (Ontology)
- ผูย้ นื ยันในโลกาภิวตั น์ปะทะผูก้ งั ขาในโลกาภิวตั น์ (Globalist Vs Skeptic)
- โลกภาพและโลกกาภิวตั น์ (Globality’n Globalization)
บทที่ 3 ความเป็ นธรรม (Justice) ตามนัยที่สัมพันธ์ กบั โลกภาพ (Globality) – อธิบายแนวคิดของความเป็ นธรรม
- แนวคิดเรื่ องความเป็ นธรรม (Jus)
- การแตกแนวคิดเรื่ องความเป็ นธรรมสากล (Jus) ของ Immanuel Kant, Thomas Hobb, Hugo Grotious, John Raw
- จุดต่าง และ จุดร่ วม ของแนวคิดคิดเรื่ องความเป็ นธรรมสากลของนักคิดทั้ง 4
บทที่ 4 ความเสื่ อมถอยสิ ทธิอำนาจแห่ งรัฐ – ผลกระทบของกระแสโลกาภิวตั น์ต่อรัฐ สิ ทธิ อำนาจ แห่งรัฐ
- ระบอบทรัพย์สิน (Property Regime)
- อำนาจอธิปไตยเหนือดินแดน (Territorial Soovereignty)
- อัตลักษณ์ของประชาชาติ (National Identity)
บทที่ 5 ความเป็ นธรรมและจริยศาสตร์ วาทกรรมโลก – นำเสนอแนวความคิดที่วา่ โลกาภิวตั น์ทำให้สงั คมโลกมีความ
เปลี่ยนแปลง
- Manuel Castells นำเสนอแนวความคิด “โลกที่สี่” (The Fourth World)
- Ulrich Beck นำเสนอแนวความคิด สังคมความเสี่ ยง ( Risk Society)
- แนวคิดโลกาภิบาล (Global Governance) ในเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge-Base Economy)
บทที่ 6 ความเป็ นธรรมและจริยศาสตร์ วาทกรรมโลกาภิวตั น์ – นำเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาเรื่ องความเป็ นธรรม
- แนวคิด “ยุคกลางใหม่” – The New Middle Age or Neo-Mediaevalism
- หลัก 7 ประการของ Davis Held – การทำให้โลกาภิวตั น์เชื่อง
- แนวคิดจริ ยศาสตร์วาทกรรม (แนวความคิดในการจัดการกับวาทกรรมต่างๆ) ของ Jurgen Harbermas’n Robert
Cox
- John Keane กับแนวคิด “ประชาสังคมโลก”
บทที่ 7 บทสรุป – จากงานเขียน “โลกาภิวตั น์กบั ความเป็ นธรรมระหว่างประเทศ” ผูเ้ ขียนได้กล่าวไว้วา่ อ้างอิงงานเขียนของ
Ulrich Beck ซึ่งค่อนข้างมองผลของโลกาภิวตั น์ในเชิงลบ ตามแนวคิดภาวะสมัยใหม่ที่สอง และสังคมความเสี่ ยง งานเขียน
ชิ้นนี้ จึงได้ภาพเชิงลบของโลกาภิวตั น์ ที่เป็ นตัวกระทำต่อ ทัศนะเรื่ องความเป็ นธรรม ทั้งความเป็ นธรรม (ภายในรัฐ) และ
ความเป็ นธรรมสากล โลกาภิวตั น์ ไม่วา่ จะจากทั้งผูย้ นื ยัน หรื อ ผูก้ งั ขา นั้นมีจุดร่ วมกันคือวางอยูบ่ นพื้นฐานของเศรษฐกิจ (แ
ละทั้งหมดที่เป็ นกิจกรรมทางเศรษฐกิจ) เป็ นส่ วนใหญ่ ซึ่งแกนหมุนของโลกาภิวตั น์ที่มีเศรษฐกิจเป็ นแกนของรัฐ ของโลก
ทำให้เกิดภาวะ ความหลากหลายของโลกภาพ (อุดมคติ) และนี่คือปัญหาที่สำคัญที่สุดของ “ความเป็ นธรรมสากล” นอกจาก
นี้โลกาภิวตั น์ ได้ทำให้โลกภาพ อุดมคติ รัฐชาติแบบเก่าเสื่ อมลง เนื่องจากแกนของระบบอำนาจรัฐ ทั้ง 3 ระบอบทรัพย์สิน
อำนาจอธิปไตยเหนือดินแดน อัตลักษณ์ของประชาชาติ ถูกครอบด้วยโลกภาพโลกาภิวตั น์

4903610212 ปราชญ์ มูสิกะคามะ


5003610168 ทศพล อนุสิทธิ์
5003610374 รัชมา ดาเดะ
5003610424 กนก ชุ่มเชื้อ
5003610564 ปฐมาภรณ์ จิตพินิจ
5003680062 นที กาทองทุ่ง
5003680229 สุ ทนั ต์ ศิริสาคร
5003680393 อาซูวนั อาเยะ

You might also like