Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 3

รายงานชิ้นที่ 1 แบบวิถอำ ี นาจไทย นางสาวปฐมาภรณ์ จิตพินิจ 5003610564

วิชา ร.412-ทฤษฎีการเมืองว่ าด้ วยสั งคมและการเมือง


..........................................................................................................................................................................................................
“แบบวิถีอำนาจไทย” งานเขียนชิ้นสำคัญของอ.เกษียร เตชะพีระ ได้เล่าเรื่ องราวของสังคมไทยผ่าน “ความสัมพันธ์ทาง
อำนาจ” ที่เป็ นแก่นกลางที่ทำให้สงั คมเคลื่อนทั้งเคลื่อนที่ รู ปแบบความสัมพันธ์ที่อาจารย์นำเสนอ เป็ นลักษณะความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลต่อบุคคล ระบบต่อระบบ และ ระบบต่อบุคคล ทั้งนี้ความสัมพันธ์หลายรู ปแบบที่ถูกนำเสนอ อยูบ่ นเงื่อนไขของ
พันธะทางสังคมคืออำนาจ และ พันธะทางเศรษฐกิจคือเงิน ในสังคมไทยปัจจุบนั นี้ ทั้งอำนาจและเงิน เหมือนเป็ นพลังที่ผสม
ปนเปกันอย่างแยกแยะไม่ได้ ซึ่งเมื่อบุคคลหนึ่งมีท้ งั สองสิ่ งนี้แล้ว จะมีพลังอย่างยิง่ ในการทำให้ความต้องการของตนเองถูก
สนองตอบโดยความต้องการของสังคม
ความสัมพันธ์ทางอำนาจ ที่ อาจารย์เกษียร อธิบายไว้วา่ เป็ นรากฐานของสังคมไทย แบ่งออกเป็ นเป็ น 4 ระบบ โดยจะ
เริ่ มจากระบบอุปถัมภ์ เป็ นระบบแรก ความสัมพันธ์ทางอำนาจในระบบอุปถัมภ์ ที่ปรากฏในสังคมไทยนั้น ตั้งอยูบ่ นฐานของ
ความเป็ นปัจเจกชนที่ไม่เสมอภาค ที่เป็ นลำดับชั้นทางสังคมอาจจะเป็ นลำดับชั้นที่มีสายลำดับที่ส้ นั หรื อยาวขึ้นอยูก่ บั อำนาจทาง
สังคมและอำนาจเงินของ ผูอ้ ุปถัมภ์ ลำดับแรกในสายนั้น ผูอ้ ุปถัมภ์และผูถ้ ูกอุปถัมภ์ มีลกั ษณะเสมือนนายกับบ่าว ซึ่งทั้ง 2 ฝ่ ายมี
ประโยชน์ร่วมกันในลักษณะต่างตอบแทน ผูอ้ ุปถัมภ์ จะต้องคอยดูแลช่วยเหลือคนในสังกัด ในลักษณะ “ฝากผีฝากไข้” ส่ วนผูถ้ ูก
อุปถัมภ์น้ นั ตั้งต้องมอบความจงรักภักดี รับใช้ โดยยึด คำกล่าว “ไม่ฆ่าน้อง ไม่ฟ้องนาย ไม่ขายเพื่อน” ภายใต้ระบบอุปถัมภ์น้ ี
แก่นเชื่อมโยงทางอำนาจคือ “ปัจเจกชน” ที่ยอมรับ ความไม่เสมอภาคและการลิดรอนสิ ทธิเสรี ภาพบางประการของผูถ้ ูกอุปถัมภ์
ความสัมพันธ์ทางอำนาจอีกระบบหนึ่งคือระบบพันธะสั ญญา พันธะสัญญานี้ อาจมองได้ 2 ระดับ คือ ความสัมพันธ์ที่
ไม่เสมอภาคระหว่างรัฐกับปัจเจกบุคคล ทั้งนี้ปัจเจกชนยอมที่จะ สละสิ ทธิเสรี ภาพของตนเองเพื่อให้รัฐเป็ นผูป้ กครองเพื่อหลีก
เลี่ยงสภาวะธรรมชาติ อีกมุมหนึ่งความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกชน ยืนอยูบ่ นความเท่าเทียมกันไม่มีผใู้ ดมีอำนาจเหนือ เพราะทุก
คนในสังคมได้ยอมสละสิ ทธิของตนเองให้กบั รัฐไปแล้ว แก่นเชื่อมโยงอำนาจของระบบนี้ อยูท่ ี่ “สัญญา” ของบุคคลมิใช่ตวั
บุคคลที่เมื่อบุคคลยอมสละไปแล้วสัญญานี้ ก็จะไปมีอำนาจเหนื อบุคคลอีกที ตามแนวคิดของสำนักสัญญาประชาคม อาจกล่าว
ได้วา่ ความสัมพันธ์ในระบบพันธะสัญญาก็มีลกั ษณะเป็ นระดับชั้นเหมือนกัน แต่วา่ ถูกจำกัดไว้เพียง 2 ชั้นเท่านั้น
ประการที่สาม ความสั มพันธ์ ทางอำนาจแบบชุมชน เป็ นระบบที่ให้ความเสมอภาค คือปัจเจกบุคคล ร่ วมกันจัดตั้ง
ชุมชนเพื่ออำนาจทางการต่อรองบางประการ รู ปแบบของชุมชนมีหลายลักษณะ เช่นชุมชนความทรงจำ ชุมชนสถานที่ ฯลฯ ซึ่ง
บุคคลที่อยูใ่ นชุมชนนั้นไม่ได้อาศัยอยูร่ ่ วมกันโดยหลักของกฎหมายหรื อสัญญา ที่อยูร่ ่ วมกันโดย “แรงจูงใจแบบชุมชน” หรื อ
เจตนารมณ์ของชุมชน มีลกั ษณะที่เป็ นนามธรรมทั้งกฎเกณฑ์และบทลงโทษ บุคคลหนึ่งอาจจะสังกัดชุมชนได้มากกว่าหนึ่ง แต่
ต้องยอมรับเจตนารมณ์ชุมชนที่หลากหลาย แต่เจตนารมณ์ชุมชนนี้ มกั ตอบสนองความต้องการของบุคคลในชุมชนได้มากกว่า
“สัญญา” ในระบบพันธะสัญญา เนื่องจากชุมชนเป็ นสังคมที่มีขนาดเล็กและทุกคนในชุมชนรู้จกั กัน อย่างไรก็ตามบุคคลอาจจะ
รู้สึกอึดอัดจากการที่จะต้องคอยระแวดระวังตัวว่า จะทำผิดจากเจตนารมณ์ของชุมชน เพราะทุกคนในชุมชนรู้จกั กัน บทลงโทษที่
เป็ นนามธรรม แบบวิถีประชาเช่นนินทาว่าร้าย มันอาจลงผลร้ายแรงกว่าบทลงโทษทางกฎหมายในระบบพันธะสัญญา
ปัจเจกบุคคลในชุมชนจำต้องยอมเสี ยเสรี ภาพบางประการเพื่อจะได้ปฏิบตั ิตวั ให้เหมาะสมกับการเป็ นหนึ่งในชุมชน ระบบชุมชน
นี้จะเป็ นรู ปแบบความสัมพันธ์ที่จะสามารถเป็ นปราการต่อต้านกับระบบตลาดโลกภิวตั น์ ในปัจจุบนั ได้
สุ ดท้ายความสัมพันธ์ทางอำนาจแบบระบบตลาด ระบบย่อยที่สามารถปรับตัวเข้าได้กบั ทุกระบบความสัมพันธ์ ใน
บทความ “แบบวิถีอำนาจไทย” ไม่ได้แยกระบบตลาดออกมาจากระบบพันธะสัญญา แต่ได้ให้ความสำคัญต่อระบบนี้ ได้ค่อนข้าง
มาก ดังนี้ผเู้ ขียนจึงเห็นว่า ตลาดเป็ นระบบที่เป็ นความสัมพันธ์ทางอำนาจรู ปแบบหนึ่ง ที่ชดั เจนพอที่จะแยกเนื้ อหาและหลักการ
ออกจากพันธะสัญญา อาจารย์เกษียรได้กล่าวไว้ในบทความว่า ระบบตลาดนั้น “เสมอภาคแค่เนื้อหา แต่ทางปฏิบตั ิแล้วไม่เสมอ
ภาค” เพราะระบบตลาดหรื อระบบทุนนี้ ได้สร้างช่องว่างทางสังคมเศรษฐกิจแก่บุคคลในสังคม แต่ทว่าด้วยแก่นของระบบตลาด
นั้นเป็ นเพียงแค่การแลกเปลี่ยนธรรมดา แต่ระบบทุนต่างหากที่ ได้เข้ามาครอบระบบตลาดทำให้ศีลธรรมของระบบตลาดเสื่ อม
ลง โดยระบบทุนได้เลือกใช้ ตลาด เป็ นแก่นของกลไก ก็เพราะในทุกสังคม ย่อมมีการแลกเปลี่ยน แต่วา่ ทำไมในความสัมพันธ์
แบบพันธะสัญญา ตลาดจึงแบบโตได้ดี นัน่ อาจเป็ นเพราะระบบตลาดอาศัยความโลภกับความกลัว ในระบบอุปถัมภ์และระบบ
ชุมชน อยูร่ ่ วมกันด้วยความเมตตา ความเอื้อเฟื้ อ ทำให้ลดแรงจูงใจภายในของมนุษย์ “โลภกับกลัว” จึงอยูไ่ ด้จากในความ
สัมพันธ์เชิงอำนาจทั้งสองระบบนี้
บทความชิ้นนี้อาจารย์เกษียร ได้นำเสนอกรณี ศึกษา ความสัมพันธ์ทางอำนาจ ผ่านชะตากรรมของนายสมเกียร์ คนงาน
โรงเลื่อยจักรมังกรพาณิ ช ที่โดนเครื่ องจักรหัน่ นิ้วเกือบขาด อาจารย์ได้ต้ งั คำถามอันธรรมดาไว้ 2 ประการคือประการแรก “สม
เกียรติมีอะไรขาดตกบกพร่ องจึงมิได้รับการรักษาพยาบาล” สาเหตุของการไม่ได้รับการรักษา เนื่องจากขาด อำนาจทางสังคม
(ไม่ได้เป็ นข้าราชการ ไม่มี “หัวนอนปลายตีน”) และอำนาจเงิน ซึ่งอำนาจทั้งสองในปัจจุบนั นี้ เป็ นดัชนีช้ ีวดั ว่า บุคคลจะสามารถ
อยูใ่ นสังคมเกือบทุกสังคม ได้ในสถานะไหน ทั้งที่คำว่า ชนชั้น ไม่มีแล้วในระบอบเสรี ประชาธิปไตย ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม
แต่วา่ นัยยะทางชนชั้น มันกลับทวีความร้ายและแรงมากขึ้นทุกขณะ ประการที่สอง “สมเกียรติมีอะไรดีจึงได้ รับการต่ อนิว้ ใน
ที่สุด” ข้อดีของสมเกียรติคือสมเกียรติมีความสัมพันธ์ระหว่างนายสมเกียรติ และเพื่อนคนงาน เป็ นความสัมพันธ์ในลักษณะ
ชุมชนคนงานโรงเลื่อยฯ ที่มีความผูกพัน ใกล้ชิดกันทางกายภาพและทางใจ ซึ่งเหมือนความสัมพันธ์ระหว่างนายสมเกียรติและ
คนขับรถโรงพยาบาลภูมิพลนั้น มีลกั ษณะเป็ นชุมชนที่เมตตาเพื่อนมนุษย์ คนในชุมชนมักจะเห็นอกเห็นใจกันเสมอ ส่วนความ
สัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและนายสมเกียรติน้ นั จากบทความกล่าวว่าเป็ นความสัมพันธ์แบบพันธะสัญญา แต่ผเู้ ขียนมีความเห็นว่า
เป็ นลักษณะความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ เนื่ องนายสมเกียรติทำงานให้ ดังนั้นนายจ้างก็ตอ้ งคอยดูแลสวัสดิภาพของนายสมเกียรติ
และทั้งนายจ้างและนายสมเกียรติกม็ ีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดมีลกั ษณะเป็ นชุมชนลำดับชั้น ด้านความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้าง
สาวกับ พ.ต.ต. สมานนั้น มีนยั ยะความเป็ นชุมชนมากกว่าความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ เนื่ องจากฝ่ ายหนึ่งมีอำนาจฝ่ ายหนึ่งมีเงิน จึง
จำเป็ นต้องเกื้อกูล ผูเ้ ขียนมีขอ้ สังเกตว่าความสัมพันธ์ทางอำนาจแบบพันธะสัญญานั้น อาจเป็ นปัญญาต่อผูค้ นตัวเล็ก ในสังคม
เช่นนายสมเกียรติ พันธะสัญญา ที่เป็ นฝันระหว่างรัฐกับผูค้ นตัวเล็ก ผูท้ ี่ยอมมอบเสรี ภาพบางประการเพื่อให้รัฐรักษา ควบคุม
ดูแล สวัสดิภาพของพวกเขา
ความสัมพันธ์ทางอำนาจ ทั้งสามที่อาจารย์เกษียร นำเสนอนี้อาจารย์ได้กล่าวเอาไว้ท้ งั ท้ายว่า ในสังคมไทย นี้ มีการดำรง
อยูข่ องระบบเหล่านี้จริ งแต่วา่ มันอยูใ่ นบริ บทที่ทบั ซ้อนกัน แต่วา่ ผูเ้ ขียนตั้งข้อสังเกตแท้จริ งแล้ว ความสัมพันธ์เชิงอำนาจเหล่านี้
มันอาจจะดำรงอยูใ่ นคนคนเดียว สังคมคมเดียว มันอาจไม่มีความแตกต่างกันเลย เหมือนกับที่อาจารย์เกษียรสรุ ปไว้วา่ “สังคมที่
ดีไม่ใช่สงั คมที่ดำรงด้วยคุณค่าใดคุณค่าหนึ่ง” อย่างไรก็ตามความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่ถูกสกัดออกมาอย่างชัดเจนนั้น มันอาจไม่
เพียงแค่ทบั ซ้อนกันแต่มนั ซับซ้อนปนเปจนทำให้การแยกแยะความสัมพันธ์มีปัญหาได้เช่น ความสัมพันธ์ภายใต้ระบบอุปถัมภ์
นั้นประกอบไปด้วยความเป็ นชุมชนลำดับชั้น หรื อทั้งระบบพันธะสัญญาและระบบชุมชน ต้องเสี ยสิ ทธิเสรี ภาพบางประการและ
มีความเสมอภาคในสังคมเหมือนกัน แล้วอะไรคือความแตกต่างใน ความสัมพันธ์เชิงอำนาจของทั้ง 2 ระบบนี้
อีกประการหนึ่ ง ผูเ้ ขียนมีขอ้ สังเกตต่อ ประเด็นที่อาจารย์เกษียร ตั้งว่า ระบบอุปถัมภ์น้ นั อาจจะไม่มีที่ทางไว้ให้สำหรับ
คำว่า สิ ทธิ นั้นจะไม่เป็ นจริ งเสี ยทีเดียว เนื่ องจากทั้งความสัมพันธ์ทางอำนาจทั้ง 4 รู ปแบบที่กล่าวมานั้นอาจารย์จะแบ่งผูค้ นออก
เป็ นเพียงแค่ 2 กลุ่ม คือระบบอุปถัมภ์ จะมีผอู้ ุปถัมภ์ และผูถ้ ูกอุปถัมภ์ ระบบพันธะสัญญาจะมีรัฐผูป้ กครองกับผูถ้ ูกปกครอง
ระบบตลาด ประกอบด้วยผูซ้ ้ื อกับผูข้ าย จะมีเพียงสังคมที่มีลกั ษณะที่เป็ นชุมชนเท่านั้นที่จะประกอบไปด้วยปัจเจกเพียงอย่าง
เดียวไม่มี การแบ่งกลุ่มบุคคล แท้จริ งแล้วในความสัมพันธ์ทางอำนาจที่ถูกแบ่งกลุ่ม เป็ น 2 เสมอนั้น ไม่มีกลุ่มบุคคลที่เป็ นกลุ่มที่
3 หรื อ อยูค่ วบกันทั้ง 2 กลุ่มจริ งหรื อ เสมือนบุคคลผูห้ นึ่งอาจอยูล่ กั ษณะที่สามารถอยูไ่ ด้หลายชุมชน ผูค้ นนั้นสามารถหาพื้นที่
แห่งสิ ทธิในสังคมที่เหมาะสมกับตนอง สร้างโอกาสการเคลื่อนย้ายระหว่างกลุ่มได้แม้วา่ จะค่อนข้างลำบากในทางปฏิบตั ิ ภายใต้
ระบบตลาดทุนนิยมก็ตาม
สุ ดท้าย จากทฤษฎีที่แบ่งแยกความสัมพันธ์ทางอำนาจ ดังที่อาจารย์เกษียรกล่าวนั้น ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทย
ปัจจุบนั ความแตกแยกที่เกิดเป็ น เป็ นเพราะพ.ต.ท.ทักษิณ ต้องการที่จะควบรวมความสัมพันธ์แบบพันธะสัญญากับความ
สัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ เข้าไว้ภายใต้บุคคลคนเดียวหรื อรัฐ ที่ไม่อาจแยกแยะกันได้ออกในสมัยรัฐบาลทักษิณ ทำให้เจ้าขุนมูลนาย
(ในที่น้ ี หมายถึงเจ้าด้วย) ชนชั้นนายทุนที่เป็ นผูอ้ ุปถัมภ์เดิมเสี ยฐานอำนาจของตัวเอง และยอมรับไม่ได้กบั การที่ตนเองจะต้องสูญ
เสี ย “แบบวิถีอำนาจไทย” ได้มองสังคมไทยผ่านมุม “ความสัมพันธ์ทางอำนาจ” ของผูค้ นในสังคมที่ไม่วา่ จะเป็ นใครในสังคม
ต้องมีความสัมพันธ์กนั ผ่านอำนาจในลักษณะที่เป็ นเครื อข่ายความสัมพันธ์ท้ งั สิ้ น การแบ่งความสัมพันธ์ท้ งั 3 รู ปแบบเป็ นความ
พยายามอย่างใหญ่หลวงที่จะต้องทำการจำแนกแยกแยะรู ปแบบที่ซบั ซ้อนปนเป ทำให้ง่ายในการนำ “ทฤษฏีความสัมพันธ์ทาง
อำนาจ” ใช้มองสังคมไทยที่เคลื่อนผ่านกาลเวลาไปได้ทุกยุคทุกสมัย ดังนั้นจึงสามารถให้คุณค่าว่า “แบบวิถีอำนาจไทย” ได้สร้าง
ทฤษฎีในการมองดูสงั คมไทย

You might also like