Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 4

รายงานชิ้นที่ 2 รัฐไทยกับการสร้ างความเป็ นไทยกระแสหลัก นางสาวปฐมาภรณ์ จิตพินิจ 5003610564

วิชา ร.412-ทฤษฎีการเมืองว่ าด้ วยสั งคมและการเมือง


..........................................................................................................................................................................................................
เมืองไทยนี้ ดี เป็ นพี่เป็ นน้อง เมืองไทยเมืองทอง เป็ นของคนไทย คนไทยเข้มแข็ง ร่ วมแรงร่ วมใจ รักชาติยิง่ ใหญ่ไทย
สามัคคี ธงไทยไตรรงค์ เป็ นธงสามสี ทั้งสามสี น้ ี เป็ นที่บูชา สี แดงคือชาติ สี ขาวศาสนา น้ำเงินงามตา พระมหากษัตริ ยไ์ ทยเรารัก
เพื่อนบ้าน ไม่รานรุ กใคร เมื่อยามมีภยั ร่ วมใจป้ องกัน เรารักท้องถิ่น ทำกินแบ่งปัน ถิ่นไทยเรานั้น ช่วยกันดูแล ชาติไทยรุ่ งเรื อง
เป็ นเมืองเก่าแก่ ประเพณี งามแท้ ไม่แพ้ชาติใด วัดวาอาราม งดงามยิง่ ใหญ่ มีภาษาไทย คิดใช้ข้ ึนเอง เด็กไทยวันนี้ ต้องดีตอ้ งเก่ง
ต้องช่วยตัวเอง ต้องเร่ งก้าวไป ซื่อสัตย์อดทน ฝึ กฝนวินยั เรารักเมืองไทย ร่ วมใจทำ...ดี... บทท่องจำ “เรารักเมืองไทย” จากแบบ
เรี ยนภาษาไทยสมัยชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 ยังคงฝังอยูใ่ นหัวของข้าพเจ้าแม้เวลาจะผ่านมาเป็ นสิ บปี บทท่องจำนี้เป็ นเครื่ องมือส่ ง
ผ่าน “ความเป็ นไทยกระแสหลัก” ให้กบั คนไทยทุกคนเป็ นอย่างดี การเน้นถึงเมืองไทยนี้ ดี เน้นถึงชาติ ศาสนา(พุทธ) พระมหา
กษัตริ ย ์ ความมีรากเหง้าอารายะของชาติไทย ทำให้คนไทยตระหนัก และภาคภูมิใจในความเป็ นไทย ทั้งนี้การปลูกฝังความเป็ น
ไทยตั้งแต่เยาว์วยั เป็ นกระบวนการบังคับ ถอนราก อันทรงพลัง ของสิ่ งที่ (วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา) ถูกเรี ยกว่า “ความเป็ น
อื่น” หรื อแม้กระทัง่ “ความเป็ นไทยดั้งเดิม” เอง จนบางครั้ง ทั้ง คนไทยและคนที่ไม่ใช่ไทย ลืมรากเหง้าของตนเองไปหมดกลาย
เป็ น “คนไทย” ที่มี “ ความเป็ นไทย” แต่หารากเหง้าตัวเองไม่เจอ
ข้าพเจ้าเป็ นคนหนึ่งที่ถูก กระบวนการสร้างความเป็ นไทยกระแสหลัก จัดการปลูกฝังค่านิยม ทัศนคติ ไปเรี ยบร้อย แต่
ทว่า การจะสื บสาวราวเรื่ อง และขุดรากถอนโครงสร้างความคิดเกี่ยวกับ ไทย ชาติไทย ความเป็ นไทย ที่มนั ถูกปลูกฝังมานาน จึง
เลือกได้เลือกอ่านงาน การสร้าง “ความเป็ นไทย” กระแสหลักและความจริ งที่ความเป็ นไทยสร้าง แม้จะถูกตราหน้าจากอาจารย์
เกษียร ในบทวิจารณ์งานชิ้นนี้ ว่า “ไม่วา่ ความเป็ นไทยกระแสหลัก จะเป็ นอย่างไร แต่มนั จะคงชนะ เพราะว่า “ความเป็ นไทย
กระแสหลัก” ได้ครอบงำวิธีการคิดไว้หมดแล้ว”1 เราไม่มีทางรู้เลยว่าอยูต่ รงจุดไหนและจะถึงเป้ าหมายเมื่อใด แต่เป้ าหมายของ
การอ่านงานทั้ง 2 ชิ้นนี้อยูท่ ี่ความเข้าใจต่อบริ บททางสังคมการเมือง และวัฒนธรรม ที่มีต่อ การสร้างความเป็ นไทยกระแสหลัก
โดยหมุดเชื่อมโยงของเนื้ อหาของงานเขียนของอ.สายชล คือ นิยาม “ความเป็ นไทย” ของปัญญาชนชั้นนำ
เหล่าปัญญาชนชั้นนำ ที่ถูกอ้างถึงในงานของอ.สายชลถูกแบ่งเป็ น 2 กลุ่มด้วยบริ บททางการเมืองไทย คือ กลุ่มแรก
กลุ่มปัญญาชนชั้นนำก่อนการปฏิวตั ิ 2475 (...- 2475) ระยะเวลานี้ บริ บททางสังคมการเมืองระหว่างประเทศอยูใ่ นยุคของการล่า
อาณานิคมตะวันตกมีสถานการรุ นแรง ดังนั้นนิยาม “ความเป็ นไทย” ที่ปัญญาชนชั้นนำกระแสหลักกลุ่มนี้ ได้นำเสนอไว้ โดย
นิยามความเป็ นไทยของปัญญาชนแต่ละคนมีจุดเน้นของตนเอง ดังนี้ รัชกาลที่ 5 ทรงเน้นความเป็ นไทยทางวัฒนธรรม การสร้าง
ประราชประเพณี เพื่อสร้างอารยะให้กบั สยามประเทศ รัชกาลที่ 6 สร้าง “ชาติไทย” โดยใช้เครื่ องมือ “ความเป็ นอื่น หรื อ คนอื่น”
มาแบ่งแยกความแตกต่าง สมเด็จกรมพระยาวชิรญาณวโรรส เน้นหลักทางพุทธมายึดโยงความเป็ นไทยให้เข้ากับพุทธศาสนา
ปัญญาชนทั้ง 3 นี้เน้น “ความเป็ นไทยทางวัฒนธรรม”ซึ่งจะต่างจาก กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กลับมีการนิยามเกี่ยวกับความ
เป็ นไทยควรเน้นที่ ความเป็ นไทยทางจิตใจ ซึ่งคำนึงถึงความแตกต่างของผูค้ นในสยาม และพยามประนีประนอมไม่บงั คับให้
คนอื่นต้องกลายเป็ นไทยพร้อมทั้งเปิ ดพื้นที่วา่ ง หากผูค้ นที่ที่ไม่ใช่ไทยต้องการที่จะปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ของตน แต่ท้ งั นี้ท้ งั นั้น
ทุกคนทุกชาติทุกศาสนา ความแตกต่างจะสามารถดำรงอยูร่ ่ วมกันได้ภายใต้การปกครองแบบไทย ปัญญาชนเหล่านี้ มีจุดเน้นย้ำ
ร่ วมกันคือสร้างความแข็งแกร่ งให้การปกครองในระบอบสมบุรณาญาสิ ทธิราชย์และตอกย้ำถึงโครงสร้างสังคมไทยที่แบ่งผูค้ น
1
เกษี ยร เตชะพีระ,บทวิจารณ์ การสร้ างความเป็ นไทย กระแสหลัก และความจริ งที่ความเป็ นไทยสร้ าง ,ฟ้าเดียวกัน ปี ที่ 3 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม –
กันยายน 2548) น. 72 (จากย่อหน้ าที่อาจารย์นำบริ บทของสังคมไทยไปแทนลงในข้ อความของ Janadas Deven ข้ าพเจ้ าอ่านแล้ วมีความ
เข้ าใจเช่นนัน้ )
ออกเป็ นลำดับชั้น ทำให้ “การปกครองแบบไทย” ทำได้ง่ายขึ้น ภายใต้หวั ใจของความเป็ นไทยที่ปัญญาชนร่ วมกันสร้าง คือ
ชาติ(ไทย) ศาสนา(พุทธ) พระมหากษัตริ ย ์ มโนทัศเหล่านี้ เป็ นจุดเริ่ มความขัดแย้งภายในจิตใจของผูค้ นที่ไม่ใช่ไทยและไม่ใช่
พุทธด้วย
กลุ่มที่ 2 ปัญญาชนหลังการปฏิวตั ิ 2475 (2475 - 2489) ช่วงเวลานี้ การเปลี่ยนแปลงบริ บททางด้านสังคมการเมืองค่อน
มาก เนื่องจากมีการปฏิวตั ิ เปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง พร้อมทั้งเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่มีความรุ นแรงและกว้างไกล เข้า
สู่ประเทศไทย นิยามของปัญญาชนแต่ละคนค่อนข้างมีความเปลี่ยนแปลงไปตามบริ บทของสังคมการเมือง ณ ขณะนั้น ความเป็ น
ไทยในทัศนะหลวงวิจิตรวาทการ เน้นที่ศิลปะ สิ่ งก่อสร้างที่บ่งบอกถึงความภาคภูมิใจใน “ความเป็ นไทย” โดยที่ไม่ชูบทบาท
ของพระมหากษัตริ ย ์ โดยรวมแล้ว ความเป็ นไทยในยุคสมัยนี้ ไม่ถือว่า มีความเปลี่ยนแปลงมากนัก ทั้งนี้เพราะคณะราษฎร มิได้
เปลี่ยนแปลงนิยามความเป็ นไทย แต่ได้เลือกสิ่ งที่จะเอื้อประโยชน์แก่กลุ่มตนมาใช้ในการจรรโลงสังคมลำดับชั้นของไทย
ผูว้ จิ ารณ์มีความคิดเห็นต่อการแบ่งกลุ่มปัญญาชนโดยใช้ระยะเวลาอย่างที่ อ.สายชล ทำให้เกิดความไม่ชดั เจนในด้าน
ของ สาระของนิยาม “ความเป็ นไทย” ดังนี้ ผวู้ ิจารณ์จึงได้แยกช่วงระยะเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งมีบริ บททางการเมือง
ระหว่างประเทศเป็ นยุคสงครามเย็นออกมาจากหลังการปฏิวตั ิ 2475 เนื่องจากมีบริ บททางสังคมการเมืองภายในประเทศ ทำให้
การนิยามความเป็ นไทย เกิดผลกระทบเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว กลุ่มที่ 3 ปัญญาชนยุคสงครามเย็น (2489 – …) สาระของนิยาม
ความเป็ นไทย ในยุคสงครามเย็น เกิดจากสรามระหว่าง 2 ขั้ว เสรี ประชาธิปไตยอเมริ กาและคอมมิวนิสต์โซเวียต ประเทศเทศ
ไทยนั้นได้เลือกข้างอเมริ กา ดังนั้น หลวงวิจิตรวาทการ ได้กลับมาชูความเป็ นไทย ผูกอิงไว้ที่สถาบันชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริ ย ์ ไว้อย่างเข้มข้น ทั้งยังมีการสร้างคำหรื อการให้ความหมายใหม่ในคำต่างๆ เพื่อเป็ นการชี้แนะทิศทางแกประชาชนใช้ต่อ
ต้านภัยคอมมิวนิสต์ ส่ วนกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์เน้นความเป็ นไทยที่การสร้างอัตลักษณ์ความเป็ นไทย คือการรับความ
เจริ ญทางด้านวัตถุจากชาติตะวันตกและคงความเป็ นไทยด้านวัฒนธรรม ซึ่งเป็ นการสื บทอดนิยามความเป็ นไทย จากปัญญาชน
ในระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ จุดร่ วมที่สำคัญของยุคสมัยนี้ น้ ีคือการสร้างความยิง่ ใหญ่ให้กบั สถาบันกษัตริ ย ์ เพื่อเป็ นศูนย์
รวมจิตใจให้กบั คนไทย ชาติไทย ที่มีความเป็ นไทย
ปัญญาชนที่นิยาม “ความเป็ นไทย” ที่สำคัญที่สำคัญที่สุดตามที่ อ.สายชลได้นำเสนอคือ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ความ
เป็ นไทย ตามแนวคิดของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ คือ มีความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริ ย ์ มีศีลธรรมตามพุทธศาสนา และรู้จกั ที่สูงที่ต ่ำ
หัวใจของความเป็ นไทยทั้ง 3 ประการนี้ สื บทอดมาจากนิยามภายใต้ระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชอย่างเห็นได้ชดั เจน แต่วา่ มี
ลักษณะสำคัญบางประการที่ทำให้นิยาม “ความเป็ นไทย” ของปัญญาชนผูน้ ้ี ได้สร้างอิทธิพลต่อสังคมไทยอย่างใหญ่หลวง คือ
ประการแรก ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ได้นำคำว่า การปกครองแบบไทย ซึ่งเดิมได้ใช้กบั ระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราช มาใช้ในการสถานั
ปนาการปกครองแบบพ่อขุนอุปถัมภ์ในยุคเผด็จการทหารเพื่อสร้างความชอบธรรมให้กบั ผูนำ ้ อย่างจอมพลสฤทดิ์ ในการบริ หาร
หารประเทศชาติให้มีความเจริ ญก้าวหน้าอย่างตะวันตก ประการถัดมาแนวคิดเรื่ องความเป็ นไทยของม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ค่อนข้างจะมี
ความขัดแย้งกัน อ.เกษียร ได้ช้ ีให้เห็นว่าการนิยมวัตถุตามแบบอย่างตะวันตกชี้ให้เห็นถึงความไม่อยากเป็ นไทย แต่ทว่านิยาม
ความไทยที่ปัญญาชนทั้งหลายได้นำเสนอนั้น ยังคงไว้ซ่ ึง วัฒนธรรมไทย ถ้าหากปราศจากวัฒนธรรมแบบไทย โครงสร้างลำดับ
ชั้นทางสังคมหรื อแม้กระทัง่ อำนาจของพระมหากษัตริ ย ์ หรื อนิสยั คนไทย “รู้จกั ที่สูงที่ต ่ำ” คงไม่หมดไป หากสังคมเป็ นเช่นนั้น
ความสำคัญของชาติวฒ ุ ิ ปัญญาชน อภิสิทธิ์ ชน คงไม่มี และพวกเขาเหล่านั้นก็จะหมดอำนาจ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ เป็ นบุคคลหนึ่งที่อยู่
ในกลุ่มของชนชั้นที่สูงเหล่านี้ ที่ไม่ตอ้ งการให้ความสำคัญของตนเองหมดไปจากสังคม จึงต้องนิยาม “ความเป็ นไทย” ในทางที่
ตนได้รับประโยชน์ ซึ่งทั้งนี้หนทางที่จะทำให้ตนเองสามารถเป็ นบุคคลสำคัญอย่างที่สุด คือ การสนับสนุนกษัตริ ย ์ ที่เป็ นหัวใจ
หลักของ “ความเป็ นไทย”
การนิยาม “กษัตริ ย”์ ผ่านทางงานเขียนของม.ร.ว. คึกฤทธิ์ นั้นได้สร้างความหมายที่สำคัญคือพระมหากษัตริ ยม์ ีความ
ศักดิ์สูงส่ ง และพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นผูป้ กครองที่ประกอบด้วยคุณธรรม และได้สร้างความหมายต่อ พระมหากษัตริ ยข์ องปวงชน
ชาวไทยเพื่อเป็ นตัวแทนของประชาชนในการถ่วงดุลกับผูป้ กครองแบบไทยที่มีอำนาจในการบริ หารประเทศแบบเด็ดขาด ทั้งนี้
การสร้างต่อพระมหากษัตริ ย ์ ในฐานะที่เป็ นบุคคลทำให้ประชาชนได้รับความรัก ความเมตตาอาทรจากพระมหากษัตริ ยต์ อบ
ประการสำคัญคือ การมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นผูนำ ้ นั้นเป็ นสิ่ งที่อยูค่ ู่กบั ประชาชนมาช้านาน ไม่จำเป็ นต้องสร้างสถาบันอื่นมาเพื่อ
ถ่วงดุลการบริ หารเนื่องจาก พระมหากษัตริ ยจ์ ะทรงอยูข่ า้ งประชาชน อของพระองค์เสมอ พระราชกรณี ยกิจทั้งปวงที่พระมหา
กษัตริ ยท์ รงทำเพื่อประชาชน นั้นรองรับต่อการนิยามความหมาย “กษัตริ ย”์ ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ อย่างตรงจุด แต่ทว่าในความเห็น
ของอ.เกษียรนั้นเสนอว่า แม้วาทกรรมการให้ความหมายต่อ “กษัตริ ย”์ ของม.ร.ว. คึกฤทธิ์ จะเฉี ยบคมเพียงใด แม่เอกอัครปัญญา
ชนสาธารณะคือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ที่ได้ทรงอธิบายความหมายของนิยามคำว่า “กษัตริ ย”์ โดยการกระทำของ
พระองค์เอง ทำให้พระมหากษัตริ ยไ์ ด้สถาปนาความยิง่ ใหญ่ ไปพร้อมกับหัวใจของความเป็ นไทย “ชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริ ย”์
ประเด็นที่น่าสังเกต ในงานชิ้นนี้คือ นิยามของความเป็ นไทย หากจะนับต้องแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ที่ทรงเริ่ มให้ความ
หมายและนิยาม “ความเป็ นไทย” แล้วระยะเวลาผ่านมา เกือบ 150 ปี แต่วา่ ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ “ความเป็ นไทย” ยังคง
ตายตัวหรื อมีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย หากเปรี ยบเทียบกับบริ บททาง การเมือง สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมที่
เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว ด้านสังคม การเมือง นั้นการนิยาม “ความเป็ นไทย” ในความหมายที่ตายตัวทำให้ไม่รองรับ ผูค้ นที่
หันไปพึ่งเศรษฐกิจแบบทุนที่ อ.เกษียรได้ต้ งั ข้อสังเกตไว้ ว่าทุนสร้างกลุ่มชนชั้นใหม่ ที่ไม่ได้วางอยูบ่ นพื้นฐานของชนชั้นทาง
สังคม หรื ออำนาจ แต่กลุ่มชนชั้นใหม่ที่เกิดขึ้น วางอยูบ่ น ทุนทางเศรษฐกิจหรื อเงินตรา ที่ทำให้ผคู้ นเคลื่อนไหวเปลี่ยนกลุ่มกัน
ได้อย่างรวดเร็วจากเงิน กลุ่มคนพวกนี้ ยนื อยูต่ รงจุดไหนพื้นที่ใดในนิยาม “ความเป็ นไทย” ทำให้เกิดเหตุการณ์เรี ยกร้องหาพื้นที่
ให้กบั ตนเองแบบ 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 ทั้งนี้การให้ความหมายแก่ “ความเป็ นไทย” ที่สงบสุขร่ มเย็น สามัคคีดงั
บทท่องจำข้างต้นนั้น ไม่มีพ้ืนที่ให้กบั คนที่เห็นแตกต่างกันในสังคมไทย ทำให้ผปู้ กครองสามารถใช้กำลังให้การปราบอย่าง
รุ นแรงแก่ ผูท้ ี่ เห็นแตกต่าง ที่ถูกตราหน้าว่าไม่ใช่ไทย โดยที่ไม่มีใครออกมาคัดค้าน
ผูว้ จิ ารณ์มีความเห็นว่า การนิยามความเป็ นไทย และ วิธีการที่อาจารย์สายชล นำเสนอร้อยเรี ยงความเป็ นไทย แบบ
เชื่อมโยงได้ลืม บริ บทแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ที่ใช้อธิบายถึงความ
แคบและแข็งไม่ยดื หยุน่ ของ “ความเป็ นไทย” อย่างมาก สิ่ งที่สำคัญที่สุดที่ขา้ พเจ้า จะนำเสนอเป็ นข้อถกเถียงคือ การนิยา
ม “ความเป็ นไทย” ของปัญญาชนกระแสหลัก มีหลักการที่ สำคัญเพื่อสร้างความคิดทัศนคติบางอย่างแก่กลุ่มเป้ าหมายที่ทราบดี
อยูแ่ ล้วว่าคือ ผูค้ นที่อยูบ่ นแผ่นดินสยาม ทั้งที่เป็ นไทยและไม่ใช่ไทย หากแต่วิธีการสร้าง/ครอบงำความคิด เหล่านั้นคืออะไร
เครื่ องมือที่ใช้ในการสร้าง ความหมายของ “ความเป็ นไทย” คืออะไร ผูว้ ิจารณ์คิดว่า เป็ นความไม่รอบคอบอย่างที่สุดหากจะพูด
ถึงผูส้ ่ งสาร สาร และผูร้ ับสาร โดยปราศจากเครื่ องมือการสื่ อสาร ประสิ ทธิภาพประสิ ทธิผลของสารที่จะเข้าถึง /ครอบงำผูร้ ับสาร
ได้มากน้อยเพียงไรนั้น อยูท่ ี่คุณภาพของเครื่ องมือสำคัญที่สุด
จากบทความ การสร้าง “ความเป็ นไทย” กระแสหลักและ “ความจริ ง” ที่ “ความเป็ นไทย” สร้างของอ.สายชลนั้น ผู้
วิจารณ์คิดว่า ยังมีขอ้ บกพร่ องอยูบ่ างประการที่ทำให้ งานชิ้นนี้ ยังไม่มีความเป็ นทฤษฎีเพียงพอ ยังจะต้องเสริ มเนื้ อหาอยูม่ ากเพื่อ
ที่จะทำให้เป็ น “ทฤษฎีการสร้างความเป็ นไทยกระแสหลัก” ของกลุ่มปัญญาชน ทั้งนี้หากจะวางงานชิ้นนี้ เป็ นแนวคิดหนึ่งที่ทรง
คุณค่า เนื่องจากว่า แนวคิดนี้ ได้มีการอธิบาย และมีขอ้ มูลสนับสนุนอย่างเป็ นระบบ แต่ยงั ไม่รอบด้านพอที่จะทำให้เป็ นทฤษฎีที่
ใช้สามารถมองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมไทย เนื่องจากว่า สังคมไทยปัจจุบนั ไม่ได้เกิดความขัดแย้งกันบนฐานของ “ความเป็ น
ไทย” เหมือนกับเหตุการณ์ครั้งอดีต แต่ทว่าผูว้ ิจารณ์คิดว่า ความขัดแย้งครั้งนี้มี อยูบ่ นพื้นฐานของ การปกครองแบบไทย คือ
ระหว่างประชาธิปไตยแบบไทยฐานลำดับชั้นทางสังคมกลุ่มนิยมเจ้า กับ ประชาธิปไตยแบบอุดมคติฐานทุนนิยมที่นำโดยชนชั้น
กลุ่มใหม่ แต่ความชัดเจนจากแนวคิด “การสร้างความเป็ นไทยกระแสหลัก” จะทำนายแนวโน้มสังคมไทยเป็ นอย่างไรนั้น เพียง
แค่แนวคิดมิสามารถทำนายได้

You might also like