Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 25

บทที่ 13 ความรอนและอุณหพลศาสตร

1. ความรอนและอุณหภูมิ
ความรอน (Heat) เปนพลังงานรูปหนึ่งที่เกิดขึ้นเมื่อมีการเคลื่อนที่ของ
โมเลกุลของสสารพลังงานความรอนที่ถูกสงออกมา จะอยูในรูปของคลื่นแม
เหล็กไฟฟาความถี่ 1013 Hz เรียกวารังสีอินฟาเรด มนุษยและสิ่งมีชีวิตตาง ๆ
ลวนมีประสาทสัมผัสหรือปฏิกิริยาตอบสนองที่ไวตอความรอน
ความรอนเปนปริมาณสเกลารมีหนวยจูล Joule เดิมใชคาลอรี
Calorie โดย 1 cal = 4.186 J

ความรูสึก บอกระดับของความรอนไมได ดังนั้น อุณหภูมิเปนปริมาณ


ทางฟสิกสซึ่งใชบอกระดับความรอนโดยใชอุปกรณที่มนุษยประดิษฐขึ้น เรียก
วา เทอรโมมิเตอร (Thermometer)
กําหนดใหอุณหภูมิของน้ํา ณ จุดเยือกแข็งเปน 0 องศา เซนติเกรด °C
ซึ่งตอมาเปลี่ยนชื่อเปน เซลเซียส ตามชื่ออันเดอร เซลซิอัส (Anders Celsius)
ปจจุบันไดกําหนดหนวยของอุณหภูมิเปนอุณหภูมิสัมบูรณ (absolute
temperature) มีหนวยเปน เคลวิน K ตามชื่อของ Lord Kelvin โดยที่แตละ
ชองของสเกลทั้งสองแบบเทากัน t (°C ) = t (K ) − 273.15
ดังนั้นน้ําจึงมีจุดเยือกแข็งหรือจุดหลอมเหลวที่ 0°C หรือ 273.15K
และไอน้ํากลั่นตัวหรือเดือดที่ 100°C หรือ 373.15K

Physics 825113 1
2. การขยายตัวเนื่องจากความรอน
เมื่อวัตถุไดรับความรอนจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางซึ่งโดยทั่วไปจะมี
การขยายตัวขึ้น
2.1 การขยายตัวตามเสน
พิจารณา เดิมวัตถุมีความยาว l0 มีอุณหภูมิ t0 เมื่อไดรับความรอนเพิ่ม
จนอุณหภูมิเปน t และความยาวเปน lt สวนที่ยืดออกไป ∆l = lt − l0 จะเปน
สัดสวนโดยตรงกับความยาวเดิม และอุณหภูมิ ที่เปลี่ยนไปดังสมการ
∆l = α l0 ∆t
โดยที่ α เปนคาคงที่เรียกวา สัมประสิทธิ์การขยายตัวตามเสน (Linear
expansion coefficient) หรือสามารถความสัมพันธของความยาวของวัตถุที่
อุณหภูมิ t ใด ๆ ไดดังนี้
lt − l0 = α l0 ∆t
lt = l0 (1+ α ∆t )

ตารางแสดงคาเฉลี่ยของสัมประสิทธิ์การขยายตัวตามเสน
ของแข็ง α (°C)-1 ของแข็ง α (°C)-1
ยางแข็ง 8.00 × 10−5 ทองแดง 1.67 × 10−5
สังกะสี 3.50 × 10−5 เหล็กกลา 1.19 × 10−5
ตะกั่ว 2.76 × 10−5 แกว (7.80 − 9.70) × 10−6

อะลูมิเนียม 2.20 × 10−8 ไม (3.00 − 5.00) × 10−6

ทองเหลือง 1.89 × 10−5 ควอตซ 0.20 × 10−6

Physics 825113 2
2.2 การขยายตัวตามพื้นที่
พิจารณาวัตถุรูปสี่เหลี่ยมผืนผา กวาง a ยาว b ที่อุณหภูมิ t ใด ๆ จะ
ไดความสัมพันธวา
Area = a ⋅ b = [a0 (1+ α∆t )]⋅[b0 (1 + α∆t )]
Area = a0b0 (1+ 2α∆t + (α∆t )2 )
Area = A0 (1+ 2α∆t ) ; (α∆t )2 ≈ 0
จะเห็นไดวา สัมประสิทธิ์การขยายตัวตามพื้นที่ มีคาเทากับ 2α
2.3 การขยายตัวตามปริมาตร
พิจารณาของแข็งที่มีสมบัติเหมือนกันทุกทิศทาง ปริมาตรเดิม V0 เมื่อ
อุณหภูมิเปลี่ยนไปเปน t ปริมาตรใหมที่ไดจะมีคาเทากับ Vt ในทํานองเดียว
กัน สามารถหาความสัมพันธไดดังสมการ
Vt = V0 (1+ β∆t )
จะเห็นไดวา สัมประสิทธิ์การขยายตัวตามปริมาตร เทากับ β = 3α โดยที่
1 (Vt −V0 ) 1 ∆V
β= =
V0 ∆t V0 ∆t

Physics 825113 3
3. ความเคนที่เกิดจากความรอน
แทงวัตถุที่ถูกตรึงไวปลายทั้งสอง เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลงจะเกิดแรง
ดันหรือแรงดึงขึ้นในวัตถุนั้น ทําใหเกิดความเคนดึงหรือความเคนอัดขึ้น เรียก
วาความเคนที่เกิดจากความรอน (Thermal stress)
ความเครียด = ∆l = α (t − t0 ) = α∆t
l0
F ⋅ l0
จากคาโมดูลัสของยังของวัตถุ = Y =
A ⋅ ∆l
ความเคนเกิดจากความรอน = F = Yα∆t
A

4. การสงผานความรอน
การที่พลังงานความรอนมีการสงผาน หรือถายเทความรอนนั้น เปนการ
สงถายพลังงานความรอน จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได ซึ่งพิจารณาได 3 กรณี
คือ การนําความรอน การพาความรอน และการแผรังสี
4.1 การนําความรอน (Conduction)
การนําความรอนเปนการสงผานพลังงานความรอนไปในเนื้อวัตถุ เมื่อมี
ความแตกตางระหวางอุณหภูมิ โดยที่เนื้อวัตถุหรือตัวกลางไมมีการเคลื่อนที่
อัตราการสงถายพลังงาน แปรผันตรงกับ พื้นที่หนาตัด A ผลตาง
อุณหภูมิ ∆T และแปรผกผันกับความหนาของตัวกลาง ∆L พิจารณาการ
ถายเทพลังงานดังรูป
Physics 825113 4
A

T2 การสงผานความรอน T1
T2 ∆Q T1

∆L ∆L

∆Q ∆T (T − T )
= kA = kA 2 1
∆t ∆L ∆L
โดยที่ k เปนคาคงที่เรียกวา สภาพนําความรอน (Thermal conductivity)
พิจารณาในชวงเวลาสั้น ๆ dt ความหนานอย ๆ dx ไดกระแสความรอน
dQ dT
H= = −kA ( Heat current , H )
dt dL
เมื่อระยะทางเพิ่มขึ้นอุณหภูมิจะลดลง เรียก dT วา เกรเดียนทของอุณหภูมิ
dL
การนําความรอนจะดําเนินไปเรื่อย ๆ จนวัตถุมีอุณหภูมิคงที่ ซึ่งเรียกวา
สภาวะคงตัว กลาวคือที่แตละจุดในเนื้อวัตถุ จะมีการไหลของความรอนเขา
dT
เทากับอัตราการไหลออกของความรอน จะคงที่
dL

Physics 825113 5
คา H ในกรณีการนําความรอนอยูในสภาวะคงตัว ไดดังนี้
H ∫ dL = −kA∫ dT

HL = kA(T2 − T1)
kA(T2 − T1 )
H=
L
4.2 การพาความรอน (Convection)
การพาความรอนเปนการสงผานพลังงานความรอน โดยโมเลกุลของตัว
กลางที่รับความรอนเปนตัวเคลื่อนที่พาไป เปนไปได 2 กรณี
การพาความรอนอยางอิสระ (Free convection)
การพาโดยโมเลกุลของตัวกลาง เคลื่อนที่ไปไดเนื่องจากความหนาแนนของ
ตัวกลางแตกตางกัน เชน การเกิดลมพัด การระบายอากาศจากปลองโรงงาน
การพาความรอนอยางไมอิสระ (Forced convection)
การพาโดยโมเลกุลของตัวกลางที่พาถูกแรงภายนอกกระทําใหเคลื่อนที่ เชน
การระบายความรอนของหมอน้ํารถยนตพัดลม และ เครื่องทําความเย็น
4.3 การแผรังสี (Radiation)
การแผรังสี คือการที่วัตถุรอนสงผานพลังงานความรอนออกจากผิววัตถุ
ในรูปคลื่นแมเหล็กไฟฟา ที่เรียกวารังสีอินฟาเรด จึงเคลื่อนที่ดวยความเร็วเทา
กับความเร็วแสง โดยไมอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ การแผรังสีจะเกิดกับ
วัตถุทุกชนิดที่มีอุณหภูมิสูงกวา ศูนยองศาสัมบูรณ โดยคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่
สงออกมามีความยาวคลื่นตาง ๆ กัน มีพลังงานแตกตางกันดังรูป
Physics 825113 6
R(λ)
4,000 K

3,000 K

2,000 K
λ(nm)
R(λ ) คืออัตราการแผรังสีตอหนวยพื้นที่ผิวของวัตถุตอหนวยความยาวคลื่น
ขึ้นกับอุณหภูมิและชนิดของวัตถุ R(λ ) สูงสุดจะอยูในชวงความยาวคลื่นสั้น
อัตราการแผรังสีจากวัตถุ dQ เปนตามกฏของสเตฟาน (Stefan’s law)
dt
dQ
= eσAT 4 มีหนวยเปนวัตต
dt
T คืออุณหภูมิของวัตถุ มีหนวยเปนองศาสัมบูรณ
e คือสภาพแผรังสี emissivity ของผิววัตถุ มีคาระหวาง 0 ถึง 1 (ผิวดํา e = 1)
σ คือคาคงที่ของสเตฟาน-โบลทมาน (Stefan-Boltzmann constant) มีคา
เทากับ 5.67 ×10−8Wm−2 (K )−4 หรือ 1.35×10−12 cal ⋅ cm−2 ⋅ s−1 ⋅ K −4
อัตราการแผรังสีตอหนึ่งหนวยพื้นที่ผิว R มีคาดังนี้
1 dQ eσAT 4
R= = = eσT 4
A dt A
อัตราการแผรังสีตอหนึ่งหนวยพื้นที่ผิว R ระหวางวัตถุ มีอุณหภูมิ T1 กับสิ่ง
แวดลอม T2 คือ R = eσ (T14 − T24 )

Physics 825113 7
กรณีที่ T1 > T2 จะทําใหอัตราการแผรังสีมากกวาดูดกลืน
กรณีที่ T1 = T2 จะทําใหอัตราการแผรังสีและดูดกลืนเทากัน
กรณีที่ T1 < T2 จะทําใหอัตราการแผรังสีนอยกวาการดูดกลืน
สําหรับวัตถุที่มีสามารถในการดูดกลืนพลังงานทั้งหมด ที่ตกกระทบผิว
วัตถุ หรือปลดปลอยพลังงานทั้งหมด จะเรียกวัตถุนั้นวา วัตถุดํา Black cody

5. กฏของกาซ
จากการศึกษาของ Boyle พบวา “เมื่ออุณหภูมิของกาซคงที่ ความดันจะ
เปนปฏิภาคโดยตรงกับ เศษหนึ่งสวนปริมาตร ของกาซ”
P P

P1V1 = P2V2

1
V V
จากการศึกษาของ Charles พบวา “เมื่อความดันของกาซคงที่ ปริมาตร
จะเปนปฏิภาคโดยตรงกับ อุณหภูมิ ของกาซ เปนองศาเคลวิน”
V
V1 V2
=
T1 T2

− 273.16 T (°C )

Physics 825113 8
จากการทดลองของ Gay Lussac พบวา “เมื่อปริมาตรคงที่ความดัน
ของกาซจะเปนปฏิภาคโดยตรงกับอุณหภูมิ” สามารถเขียนรวมกันไดวา
1
Vα; Vα T
P
T PV
Vα ; PV α T ; =K
P T
ในกรณีที่กาซ มีชนิดและปริมาณเดียวกัน สามารถเขียนเปนสูตรไดวา
P1V1 P2V2
=
T1 T2
จากกฏของอารโวกาโดร “กาซทุกชนิดจํานวน 1 โมล จะมีปริมาตรเทา
กับ 22.4 ลูกบาศกเดซิเมตร ที่ S.T.P.” เมื่อนํามาแทนคาจะไดวา
1.013×105 × n(22.4 ×10 −3 )
= 8.31 n = k
273
สามารถเขียนเปนสูตรไดวา
PV = nRT ; R = 8.31 Joule / mol ⋅ K
PV = NkBT ; kB = 1.38×10−23 Joule / molecule ⋅ K
kB = Boltzmann cons tan t

6. ทฤษฎีจลนของกาซ
โรเบิรต บอย ไดตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับกาซไววา
กาซเปนอนุภาคเล็ก ๆ อยูในที่วาง
อนุภาคของกาซ มีการชนกันแบบยืดหยุน
อนุภาคของกาซมีอัตราเร็วเฉลี่ยใกลเคียงกัน
อนุภาคของกาซมีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับภาชนะ
Physics 825113 9
พิจารณาอนุภาคของกาซใน y
กลองรูปลูกบาศกกวางดานละ L
vx
vx
x
z
โมเมนตัมกอนชน p1 = mvx โมเมนตัมหลังชน p2 = −mvx
การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม (การดล) ∆p = −2mvx
การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม = การดล 2mvx = F ⋅ t
จากความสัมพันธ F = PA และ t = 2L ดังนั้น
vx
2L
PA ⋅ = 2mvx ; PV = mvx2
vx
พิจารณาความเร็วในการเคลื่อนที่ ในระบบสามมิติ
v 2 = vx2 + vy2 + vz2 ; vx2 = vy2 = vz2
2
v
v 2 = 3vx2 ; vx2 =
3
1
ดังนั้นสามารถเขียนไดวา PV = mv 2
3
พลังงานจลนเฉลี่ยของกาซ สามารถเขียนไดในรูปตัวแปรทางฟสิกสของกาซ
1 3 3 3
K .E. = mv 2 = PV = nRT = NkBT
2 2 2 2
พลังงานจลนเฉลี่ยของกาซ แปรผัน กับอุณหภูมิในหนวยเคลวิน

Physics 825113 10
7. อุณหพลศาสตร (Thermodynamics)
อุณหพลศาสตรเปนวิชาที่แสดงความสัมพันธระหวางพลังงานความรอน
กับพลังงานกลของระบบ
ระบบ คือ คําที่ใชเรียกสิ่งที่กําลังสนใจศึกษาหรือสังเกตอยู ความ
สัมพันธดังกลาวเปนไปได 2 กรณีคือ 1. เกิดการอนุรักษพลังงาน และ 2. พลัง
งานความรอน ไมสามารถเปลี่ยนเปนพลังงานกลไดทั้งหมด
7.1 พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบก็คือ พลังงานจลนรวมของทุกโมเลกุลของกาซ
พลังงานภายในของกาซ U = 3 NkBT
2
7.2 กฎขอที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร
เมื่อระบบเปลี่ยนจากสภาวะที่ 1 ไปสูสภาวะที่ 2 โดยระบบไดรับพลัง
งานความรอน Q ทํางานใหกับสิ่งแวดลอมเปน W
พบวาพลังงานภายในระบบเปลี่ยนไปตามหลักการคงตัวของพลังงาน
ดังสมการ U 2 −U1 = ∆U = Q −W
ถาระบบมีการเปลี่ยนแปลงนอยมาก สามารถเขียนไดใหมวา
dU = dQ − dW
เรียกสมการนี้วา กฎขอที่หนึ่งของเทอรโมไดนามิกส
∆Q มีคาเปนบวก เมื่อมีความรอนไหลเขาสูระบบ
∆W มีคาเปนบวก เมื่อระบบทํางานหรือขยายตัวออก
∆U มีคาเปนบวก เมื่อพลังงานภายในระบบเพิ่มขึ้น
Physics 825113 11
7.3 งานจากการเปลี่ยนปริมาตร
พิจารณา กาซหนึ่งระบบ บรรจุอยูในกระบอกสูบ ดังรูป
dx p

pA
Work = Area

V1 V2 V

งานที่เกิดจากแรงดันของระบบกระทําตอลูกสูบ
dW = pAdx = pdV
W = ∫ dW = ∫ pdV
กรณีที่ระบบเปลี่ยนแปลงโดยมีความดันคงที่ จะไดสมการของงานเปน
W = p(V2 −V1) = p∆V
7.4 ความจุความรอนจําเพาะของกาซอุดมคติ
พิจารณากาซอุดมคติขณะที่ปริมาตรคงที่ dV = 0
W = ∫ dW = ∫ pdV = 0
จากกฎขอที่ 1 ของเทอรโมไดมิกส จะไดวา
∆U = Q
จากนิยามของความจุความรอนจําเพาะ จะไดวา
Q = mcV ∆T
เมื่อ cV คือ ความจุความรอนจําเพาะของกาซ เมื่อปริมาตรคงที่
กําหนด CV เปนความจุความรอนโมลาร เมื่อปริมาตรคงที่ (ของกาซจํานวน
1 โมล) ไดความสัมพันธวา
Physics 825113 12
Q = nCV ∆T = ∆U
∆U
CV = ; n − mole
n∆T
พิจารณากาซอุดมคติจํานวนเดิมที่มีความดันคงที่ p
จากนิยามของความจุความรอนจําเพาะ จะไดวา
Q = mC p∆T
เมื่อ c p คือ ความจุความรอนจําเพาะของกาซ เมื่อความดันคงที่
กําหนด C p เปนความจุความรอนจําเพาะจํานวน 1 โมล เมื่อความดันคงที่
เรียกความจุความรอนโมลาร
Q = nC p ∆T ;dQ = nC p dT
Q dQ
Cp = ; Cp =
n∆T ndT
พิจารณากราฟความสัมพันธระหวางความดัน p และ ปริมาตรของกาซ
V ที่อุณหภูมิคงที่ Isothermal ดังรูป
p
ab คือกระบวนการปริมาตรคงที่ b
Isothermal
dV = 0 ; dQ = dU = nCV dT
ac คือกระบวนการความดันคงที่ T + ∆T
c
U b = U c ; dU = nCV dT a
T
dQ = nC p dT V
dW = pdV = p(V2 −V1) = nRdT
จากกฎของเทอรโมไดนามิกส dQ = dU + dW
nC p dT = nCV dT + nRdT ; C p − CV = R

Physics 825113 13
7.5 กระบวนการตาง ๆ ทางอุณหพลศาสตร
กระบวนการอุณหภูมิคงที่ (Isothermal process)
สําหรับกาซอุดมคติ ∆U = 0 ; ∆Q = ∆W
งานที่ระบบกระทําตอสิ่งแวดลอม W = ∫VV pdV 2
1
nRT
จากกฎของกาซ pV = nRT ; p=
V
V2 nRT V2 1 V2
W =∫ dV = nRT ∫ dV = nRT ln
V1
V V1
V V1
กระบวนการความดันคงที่ (Isobaric process)
กระบวนการที่ความดันคงที่ p
งานที่เกิดขึ้น จะได
W = ∫V 2 pdV
V1
V1 V2 V
W = p(V2 −V1) = p∆V
จากกฎของเทอรโมไดนามิกส ขอที่ 1 ไดวา ∆U = Q −W
กระบวนการปริมาตรคงที่ (Isovolumic process)
กระบวนการที่ ปริมาตรไมเปลี่ยนแปลง งานที่ไดมีคาเปนศูนย dV = 0
W = ∫ pdV = 0
ดังนั้นกฎของเทอรโมไดนามิกสขอที่ 1 จะไดวา
∆U = ∆Q
dQ dU 3 nRdT 3
Cv = = = = R
ndT ndT 2 ndT 2

Physics 825113 14
กระบวนการความรอนคงที่ (Adiabatic process)
กระบวนการความรอนคงที่ คือกระบวนการที่ระบบเกิดการเปลี่ยนแปลง
ปริมาตร โดยที่ไมมีพลังงานความรอนมาเกี่ยวของ แตอุณหภูมิของกาซจะ
เปลี่ยนแปลง
ตามกฎขอที่ 1 ของเทอรโมไดนามิกส dU = dQ − dW
กระบวนการความรอนคงที่ dQ = 0
ดังนั้น dU = −dW = − pdV
จากกราฟ p −V ระหวางอุณหภูมิ T และ T + dT ทุกจุด
dU = nCvdT
pdV
ดังนั้น dT = −
nCv
จากกฎของกาซอุดมคติ pV = nRT
pdV
pdV + Vdp = nRdT = n(C p − Cv )(− )
nCv
Cp
pdV + Vdp = nRdT = − pdV + pdV
Cv
Cp
Vdp + pdV = 0
Cv
Cp
กําหนดให γ = และหารสมการบนดวย pV
Cv
dp dV
+γ =0
p V

Physics 825113 15
ทําการอินทริเกรตสมการไดวา ∫ dp + γ
p ∫ V
dV =0

ln p + lnV =ln K

ไดความสัมพันธวา pV γ = K
ในกระบวนการความรอนคงที่ p1V1γ = p2V2γ
nRT
หรือ pV = nRT ; p=
V
nRT1 nRT2
V1γ = V2γ
V1 V2
T1 V T p
ไดความสัมพันธวา = ( 2 )γ −1 ทํานองเดียวกัน ไดวา ( 1 )γ = ( 1 )γ −1
T2 V1 T2 p2
ความสัมพันธระหวางงาน W กับอุณหภูมิ T
จาก T1,T2 สามารถหางานจากฎขอที่ 1 ของเทอรโมไดนามิกส ดังนี้
dU = −dW = mcvdT
− dW = mcvdT
W = ∫ − mcv dT = −mcv (T2 − T1)
ความสัมพันธระหวางงาน W กับความดัน p และปริมาตร V ไดดังนี้
จากนิยาม งาน W = ∫ pdV และจาก p = KV −γ ไดวา
V
V 1
2

W = K ∫V V −γ dV
V2
1

K
W= (V2(1−γ ) −V1(1−γ ) )
1− γ
( p2V2 − p1V2 )
จาก p2 = KV2−γ และ p1 = KV1−γ ดังนั้น W=
1− γ

Physics 825113 16
7.6 กฎขอที่สองของอุณหพลศาสตร
กฎขอที่สองของเทอรโมไดนามิกส พิจารณาไดเปน 2 แบบ คือ กระบวน
การที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ และงานที่เกิดจากเครื่องจักรความรอน
เอนโทรป (entropy)
การพิจารณาวากระบวนการใด ๆ จะเกิดขึ้นไดหรือไมในธรรมชาติ ตอง
พิจารณาจากกฎขอที่ 2 ของอุณหพลศาสตร ที่กลาววา “กระบวนการใด ๆ จะ
เกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อเปลี่ยนแปลงจากสภาวะที่เปนระเบียบ (Order) ไปสูความ
ไมเปนระเบียบ (disorder) ” ซึ่งปริมาณที่ใชวัดความไมเปนระเบียบของระบบ
เรียกวา เอนโทรป
การเปลี่ยนแปลงเอนโทรป เทากับ อัตราสวนพลังงานความรอนปริมาณ
dQ
นอย ๆ ตออุณหภูมิ dS =
T
ถาหากมีการเปลี่ยนจากสภาวะที่ 1 ไปยังสภาวะที่ 2 จะไดวาการเปลี่ยน
dQ
แปลงเอนโทรป 2
∆S = S2 − S1 = ∫1
T
หนวยของเอนโทรป ในระบบเอสไอ คือ จูลตอเคลวิน จากกฎของที่ 2
ของอุณหพลศาสตร เมื่อกลาวถึงในเทอมของเอนโทรปไดวา “กระบวนการใด
ๆ ในธรรมชาติจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อกระบวนการนั้น ทําใหการเปลี่ยนแปลง
เอนโทรปของระบบเพิ่มขึ้นหรือคงตัว” สรุปไดวา ∆S > 0
∆S = 0 เปนกระบวนการที่เกิดขึ้นและผันกลับได
∆S > 0 เปนกระบวนการที่เกิดขึ้นได แตผันกลับไมได
∆S < 0 เปนกระบวนการที่เกิดขึ้นไมไดเลยในธรรมชาติ

Physics 825113 17
เครื่องจักรความรอน
เครื่องจักรความรอนคือ เครื่องมือที่ใชสําหรับเปลี่ยนความรอนใหเปน
พลังงานกล จะตองเสียพลังงานไปสวนหนึ่งโดยเปลาประโยชน เชนไอเสียกับ
สิ่งแวดลอม
กฎของเทอรโมไดนามิกส กลาวอีกความหมายหนึ่งไดวา “ไมมีเครื่อง
จักรประเภทใดที่จะสามารถเปลี่ยนความรอนใหเปนพลังงานกลได 100 %”
ในเครื่องจักรระบบจะทํางานดวยกระบวนการที่ครบรอบหรือเรียกวา วัฎจักร
p

Work = Area

เมื่อระบบทํางานครบรอบแลวพลังงานภายในระบบจะเทาเดิม ดังนั้น
∆U = 0 จากกฎขอที่ 1 ของเทอรโมไดนามิกส ∆U = ∆Q − ∆W ไดวา
∆Q = ∆W
หมายความวา พลังงานความรอนที่เครื่องจักรไดรับเทากับพลังงานกลที่
เครื่องจักรทํา

Physics 825113 18
โดยทั่วไป เครื่องจักรความรอนจะมีแผนภาพดังรูป
แหลงพลังงานความรอน ใหความรอน Qh เขาสูเครื่องจักร สงผลให
เครื่องจักรทํางาน W และปลดปลอยความรอน Qc ออกมาจากระบบ ดังนั้น
จากความสัมพันธไดวา
hot reservoir Th

Qh

Engine W

Qc

Cold reservoir Tc

Qh = W + Qc ; W = Qh − Qc
ประสิทธิภาพเครื่องจักร E เทากับ งานที่เครื่องจักรทํางานตอพลังงาน
ความรอนที่ใหแกเครื่องจักร
W Qh − Qc Q
E= = =1− c
Qh Qh Qh
7.7 วัฎจักรคารโนท (Carnot engine)
วัฎจักรคารโนท เปนวัฎจักรของเครื่องยนตอุดมคติที่มีประสิทธิภาพสูง
สุดมีแผนภาพการทํางานของระบบดังรูป

Physics 825113 19
การทํางานระบบคารโนทประกอบดวย 4 กระบวนการดังนี้

A→ B
Isothermal
expansion
Q
h

Energy reservoir at T
h

D→ A B →C
Adiabatic Adiabatic
Compression expansion

C→D
Isothermal
Compression

Q
c
Energy reservoir at T
c
1. จากจุด A→ B เปนการขยายตัวโดยกระบวนการอุณหภูมิคงที่ Th
พลังงานภายในไมเปลี่ยนแปลง ∆U = 0 กาซดูดพลังงานความรอน Qh ทํา
VB
ใหเกิดการขยายตัวไดงาน Qh =WAB = nRTh ln( )
VA

Physics 825113 20
p
A Qh
B
Th
W
D Tc
Qc C
V

2. จากจุด B → C เปนกระบวนการความรอนคงที่ ∆Q = 0 โดยกาซ


ขยายตัวเพิ่มขึ้น อุณหภูมิของกาซลดลงจาก Th ไปเปน Tc พลังงานภายใน
U B > U C งานที่ไดเทากับการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายใน W = U B −U C
3. จากจุด C → D เปนกระบวนการที่อุณหภูมิคงที่ Tc พลังงานภาย
ในคงที่ โดยกาซหดตัวลง ความรอนถูกปลดปลอยอออกจากระบบ Qc งานที่
V
เกิดขึ้นมีคาเทากับ Qc = WCD = nRTc ln( D )
VC
4. จากจุด D → A เปนกระบวนการที่ความรอนคงที่ ∆Q = 0 กาซหด
ตัว สงผลอุณหภูมิเปลี่ยนจาก Tc ไปเปน Th พลังงานภายใน U A > U D ดังนั้น
งานที่กระทําตอระบบ เทากับ W = U D −U A ซึ่งงานมีคาเปน ลบ
งานลัพธในกระบวนการยอนกลับไดทั้งหมดเทากับพื้นที่ภายในกระบวน
การตามเสนทาง ABCDA
W = WAB + WBC + WCD + WDA
W = Qh + (U B −U C ) + Qc + (U D −U A ) โดยที่ U B = U A , U D = UC
W = Qh + Qc = Qh − Qc ; (Qc = −)

Physics 825113 21
ประสิทธิภาพเครื่องจักรความรอน คารโนท เทากับ
W Qh − Qc
ECarnot = =
Qh Qh
V V
จากอุณหภูมิคงที่ Qh = nRTh ln( B ) ; Qc = nRTc ln( C )
VA VD
Qc Tc ln(VC /VD )
=
Qh Th ln(VB /VA )
จากความสัมพันธ PV γ = constant แทนคาดวย PV = nRT ไดวา
nRT γ
V = constant
V
สามารถเขียนอีกรูปไดวา TV γ −1 = constant ดังนั้นพิจารณาความสัมพันธ
ที่ตําแหนงใด ๆ ของกระบวนการ ไดวา
ThVBγ −1 = TcVCγ −1 ; ThVAγ −1 = TcVDγ −1
(VB /VA )γ −1 = (VC /VD )γ −1
Qc Tc ln(VC /VD )
ดังนั้น จากสมการ = ไดวา
Qh Th ln(VB /VA )
Qc Tc
=
Qh Th
ประสิทธิภาพของวัฎจักรคารโนท ในเทอมของอุณหภูมิ
W Q T
ECarnot = =1− c =1− c
Qh Qh Th

Physics 825113 22
7.8 เครื่องยนตเบนซินและดีเซล (Gasoline and diesel engine)
เครื่องยนต 4 จังหวะ เมื่อลูกสูบทํางานครบหนึ่งรอบ ทําใหเพลาเคลื่อน
ที่ 2 รอบ การทํางานของเครื่องยนตเบนซินเปนเครื่องยนต 4 จังหวะเรียกวัฎ
จักรออตโต (Otto cycle)

Intake Compression Spark Expansion Exhaust

p C
Adiabatic process
Qh D
B
Qc
A
V2 V1 V

- Intake stroke ลูกสูบเคลื่อนตัวลง เชื้อเพลิงและอากาศถูกดูดเขา


กระบอกสูบดวยความดันบรรยากาศ ปริมาตรกระบอกสูบขยายตัวจาก
V2 ไปเปน V1 พลังงานภายในถูกสะสมในเชื้อเพลิง

Physics 825113 23
- Compression stroke ลูกสูบเคลื่อนตัวขึ้น เชื้อเพลิงและอากาศ
ถูกกดอัดดวยกระบวนการ Adiabatic จากปริมาตร V1 ไปเปน V2
อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก TA ไปเปน TB งานที่ไดมีคาเปน ลบ
- spark หัวเทียนจุดสตารทดวยเวลาสั้น ๆ ในตําแหนงสูงสุดของลูกสูบ
สามารถอธิบายไดวา พลังงานภายในระบบเกิดจากปฏิกิริยาเคมีในการ
เผาไหม ความดันและอุณหภูมิภายในสูงขึ้นอยางรวดเร็ว จากTB ไปเปน
TC ปริมาตรยังคงที่เนื่องจาก ชวงเวลาสั้นมาก ๆ ดังนั้นระบบไมมีการ
ทํางานจากกาซ เสมือนการนําความรอนเขาระบบ Qh
- Power stroke (Expansion) กาซขยายตัวดวยกระบวนการ
จากปริมาตร V2 ไปเปน V1 อุณหภูมิลดลงจาก TC ไปเปน TD ลูกสูบ
ดันเคลื่อนตัวลง งานที่ไดมีคาเปน บวก หลังจากนั้นแกนไอเสียถูกเปด
ออก ความดันลดลงกระทันหัน
- Exhaust stroke ลูกสูบเคลื่อนตัวขึ้น เชื้อเพลิงหลังจากเผาไหม
เคลื่อนตัวออกจากกระบอกสูบดวยความดันบรรยากาศ ปริมาตรลดลง
จาก V1 ไปเปน V2 และกระบวนการจะซ้ํารอบเดิมตลอด
ประสิทธิภาพของวัฎจักรออตโต (E otto) คํานวณไดจากสมการดังนี้
Q2 V
Eotto = 1− =1− ( 2 )γ −1
Q1 V1
V1
อัตราสวน เรียกวา อัตราสวนการอัด (Compression ratio) โดยทั่ว
V2
ไปประมาณ 8 ในกรณีγ =1.4 จะไดประสิทธิภาพประมาณ 56 %
Physics 825113 24
เครื่องยนตดีเซล (Diesel engine)
เครื่องยนตดีเซล เปนหลักการทํางานของเครื่องยนตดีเซลเผาไหมโดยไม
ตองใชหัวเทียน เกิดขึ้นขณะความดันคงที่
p Qh
B C
Adiabatic process

D
Qc
A
V2 VC V1 V
7.9 ตูเย็น (Heat pump and Refrigerators)
หลักการทํางานของตูเย็น ตรงขามกับเครื่องจักรความรอน โดยที่ตูเย็น
ตองรับพลังงานกลจากมอเตอร Compressor เพื่อไปดูดความรอน Qc (ความ
เย็น) ออกจากภายในตูเย็นที่อุณหภูมิ Tc แลวไปคายความรอน Qh ใหแก
แหลงภายนอกที่มีอุณหภูมิ Th
ประสิทธิภาพของตูเย็น คือความสามารถใน
hot reservoir Th
Qc การดูดความรอน Qc ออกจากภายในตูโดให
งาน W เขาไปในระบบ
Qc Qc
Heat pump
ω= =
W W Qh − Qc
Qh ถาเครื่องยนตทํางานดวยวัฎจักรคารโนทไดวา
Cold reservoir Tc Tc
ω=
Th − Tc

Physics 825113 25

You might also like