Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 13

การออกแบบรูปลักษณรานอาหารที่สื่อถึงประเภท ระดับราคา และรสชาติของอาหาร

RESTAURANT DESIGN AND ENVIRONMENT APPEARANCE PREDICTING FOOD GENRE,


COST AND THE EXTENT OF FOOD TASTINESS
ฐิติพรรณ เกินสม ขวัญรัตน จินดา วิชนาถ ทิวะสิงห และ ศรัฐ สิมศิริ
นักศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาสหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ คณะสถาปตยกรรมศาสตร
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
2

ABSTRACT

A number of empirical findings point to the fact that visual images—for example packaging—could
convey meanings, texture, smell, even taste of content sealing inside a food package. Shop fronts and window
display also illustrate merchandise carried by the particular shop, allowing customers a convenient way to make
shopping decisions. This research presumes that restaurant façades could also reflect the meaning, genre, and
level of delicacy of food the restaurant is bound to serve. It is, in turn, the major challenge facing restaurant
designers on how to express the sense of 'tastiness' to customers, being able to lure them into the restaurant.
Despite of their design proficiency, designers often time neglect the significance of psychological dimension of
visual perception their design is about to convey.
The main objectives of this research are thus to investigate factors determining customers' perception
upon the genre and tastiness of food a restaurant has to offer. It endeavors to discover how people respond
distinctively to different restaurant façade designs as environmental 'visual stimuli.' As a result, a set of design
guidelines for restaurant façade design could be established and utilized by designers to convey the message of
food genre, cost and level of food delicacy.
This study applies a composite research methodology, namely, simulated photographs as visual stimuli to
obtain answers together with a structured questionnaire. A set of design features is first gathered by means of
literature research. Concluding all design features i.e. lighting, menu, ingredients which strongly influence to
perception of food genre, cost and the extent of food tastiness. The photographs are then tested with a group of
30 samples. Two times conducting survey to prove the objective by first 30 samples are all design features tested
and then other 30 samples tested identify 3 factors : food genre, cost and tastiness. 2 factors which food genre
and tastiness including features: graphic, menu, model and picture food in highest level perception and cost
including features: model food, big size and sofa are in moderate level perception.
The resultant of the research can be guided design feature to restaurant design and environmental
appearance that valuable proving the relationship between visual perception at the building scale, and the
meaning attached to it. It could be beneficial for designers and restaurant owners as a direction to display the
orientation of services and type of food the restaurant has to offer.
3

บทคัดยอ

การศึกษาขอเท็จจริงเชิงประจักษของการรับรูรูปลักษณทางทัศนาการ อาทิเชน บรรจุภัณฑ ซึ่งสามารถสื่อความหมาย


ลักษณะหนาตาของขนม กลิ่นหรือแมกระทั่งแสดงรสชาติของขนมที่อยูด านในบรรจุภัณฑนั้นๆ รูปลักษณภายนอกรานคา ดิส
เพลยหนารานสามารถกระตุนใหลูกคาตัดสินใจซื้อได การวิจัยนี้คาดวารูปลักษณหนารานภายนอกสามารถสื่อความหมาย
ประเภท ระดับราคาและรสชาติความอรอยของอาหารภายในรานไดเชนกัน ซึ่งการออกแบบหนารานเพื่อใหผูที่พบเห็นเกิดการ
รับรูถึงความอรอยและดึงดูดใหเขารานนั้นเปนสิ่งที่ทาทายตอผูออกแบบเปนอยางมากเนื่องจากผูอ อกแบบจะมีความเขาใจใน
ดานหลักการออกแบบ แตอาจมองขามจิตวิทยาในการดึงดูดผูพบเห็น
การวิจัยนีม้ ีวตั ถุประสงค เพื่อศึกษาวามีปจจัยใดบางที่สงผลตอการรับรูประเภทอาหาร ระดับราคาและรสชาติของ
อาหาร เพื่อศึกษาการรับรูของบุคคลทั่วไปทีม่ ตี อประเภทอาหาร ระดับราคาและรสชาติของอาหารของหนารานที่แตกตางกัน
โดยปจจัยตาง ๆ เปนอยางไร และเพื่อเสนอแนะแนวทางการออกแบบรูปลักษณของรานอาหารที่สอดคลองกับการรับรูประเภท
อาหาร ระดับราคาและรสชาติของอาหาร
วิธีดําเนินการวิจัย เริ่มจากการศึกษาปจจัยทีค่ าดวาจะสงผลตอการรับรูรูปลักษณทางทัศนาการ และรูปลักษณ
รานอาหาร นําขอมูลมาวิเคราะหและสรุปปจจัยที่คาดวาจะมีผลตอการรับรูในประเด็นตางๆ อาทิเชน การใหแสงสวางภายใน
รานแบบจุดหรือกระจาย การมีเมนูหนารานหรือไมมี การเห็นสวนประกอบในการปรุงหรือไม และอื่นๆ นําปจจัยเหลานั้นมา
สรางภาพจําลองรานอาหารเพื่อใชทดสอบปจจัยที่สงผลตอการรับรู 3 ดาน ไดแก ประเภทอาหาร ระดับราคาและรสชาติของ
อาหารพรอมกับแบบสอบถาม จากกลุม ตัวอยางครั้งละ 30 คน รวมสองครั้งในการทดสอบ โดยทําการทดสอบปจจัยตางๆ
ทั้งหมดในครั้งแรก และสุมตัวอยางอีก 30คนที่แตกตางจากกลุม แรก พบวาการออกแบบหนารานที่มีกราฟกภายในราน มี
เมนูอาหารหนาราน การมีตัวอยางอาหารแสดงและภาพอาหารในรานนั้นมีระดับการรับรู 2 ดานที่มีระดับสูงสุดไดแก ประเภท
อาหารและรสชาติของอาหาร สําหรับปจจัยที่รูปลักษณรานอาหาร มีขนาดใหญ มีตัวอยางอาหารแสดงและเกาอี้นั่งเปนแบบ
โซฟามีผลการรับรูดานระดับราคาอยูในระดับปานกลาง
ผลการวิจัยสามารถเสนอแนะปจจัยในการออกแบบรูปลักษณรานอาหารและสภาพแวดลอมทีส่ ามารถสื่อถึงความ
สัมพันธ ระหวางการรับรูทางทัศนาการและงานออกแบบสถาปตยกรรม ที่สามารถชวยใหนักออกแบบและเจาของรานอาหาร
สามารถนําเสนอหนารานที่สัมพันธกับประเภทอาหารและการใหบริการ

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
การสรางแรงจูงใจใหกับผูพบเห็นวา ในรานนั้น ๆ มีอาหารประเภทใด มีระดับราคาใด และ อาหารมีรสชาติอยางไร คง
ไมใชประเด็นสําคัญหากผูพบเห็นยืนอยูหนารานรับรูกลิ่นอาหารและสภาพบรรยากาศ ณ เวลานั้นๆ แตหากคํานึงถึงเฉพาะ
ภาพลักษณของหนารานอาหารตามหลักการออกแบบแลว ปจจัยการรับรูทางทัศนาการใดบางที่สามารถสงผลตอการรับรูและ
กระตุนใหเกิดความเขาใจตอการรับรูประเภทอาหาร ระดับราคา และรสชาติของอาหาร ดังนั้น การออกแบบหนารานและ
สภาพแวดลอมเพื่อใหผูที่พบเห็นเกิดการรับรูถึงความอรอยและอื่นๆ จึงเปนสิ่งที่ทาทายตอผูออกแบบ เนื่องจากผูออกแบบจะมี
ความเขาใจในดานหลักการออกแบบ แตอาจมองขามจิตวิทยาในการดึงดูดผูพบเห็น ผูวิจัยจึงมีความสนใจในการศึกษาปจจัยที่
สงผลตอการรับรูรูปลักษณรานอาหารที่สื่อถึงประเภท ระดับราคา และรสชาติของอาหาร เพื่อนําไปสูการเสนอแนะแนวทางการ
ออกแบบรูปลักษณของรานอาหารที่สอดคลองกับการรับรูประเภท ระดับราคาและรสชาติของอาหาร
4

วัตถุประสงคของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาปจจัยทางทัศนาการที่มีผลตอการรับรู รูปลักษณของรานอาหารที่สื่อถึงประเภท ระดับราคาและรสชาติ
ของอาหาร และ
2. เพื่อศึกษาปจจัยสวนบุคคลทีม่ ีผลตอการรับรูรูปลักษณของรานอาหารที่สื่อถึงประเภท ระดับราคาและรสชาติของ
อาหาร
3.เพื่อเสนอแนะแนวทางในการออกแบบรูปลักษณของรานอาหารและสภาพแวดลอมที่สอดคลองกับการรับรูประเภท
ระดับราคาและรสชาติของอาหาร

แนวคิดและทฤษฎีในการวิจัย
จากงานวิจัยเรื่อง Expressing tastes in packages (G J F Smets and C J Overbeeke:349-365) ที่ศึกษา
รูปลักษณของบรรจุภัณฑสามารถแสดงรสชาติของขนมหวานไดอยางไร เปนแนวคิดเบื้องตนของการแสดงใหเห็นวารูปลักษณ
ภายนอกสามารถสื่อถึงรสชาติของสิ่งที่อยูภ ายในได ผูวิจัยจึงนําแนวคิดดังกลาวมาใชในการศึกษาวารูปลักษณรานอาหาร
อยางไรบางที่สื่อถึงประเภท ระดับราคา และรสชาติของอาหารได
การวิจัยนี้เชื่อมโยงพื้นฐานทฤษฎีตางๆ ประกอบดวย ปจจัยตางๆ การรับรูทางทัศนาการและสภาพแวดลอม และ
ปจจัยการออกแบบรูปลักษณรานอาหาร
แนวความคิดและทฤษฏีเกีย่ วกับการรับรูสภาพแวดลอมตามที่ วิมลสิทธิ์ หรยางกูร (2541 : 62-63) ไดแบงปจจัยที่มี
อิทธิพลในการรับรูสภาพแวดลอมของมนุษยไว 3 ประการ คือ บุคคลรับรูสภาพแวดลอมในฐานะของขาวสาร การรับรูขึ้นอยูกับ
ประสบการณในอดีต และขึ้นอยูกับความตองการตามความจําเปนหรือเปาหมายและการใหคุณคา โดยมนุษยจะปรับ
สภาพแวดลอมใหเหมาะสมกับกิจกรรมของตน หรือไมถา ไมสามารถปรับสภาพแวดลอมได ก็จะปรับตนยอมรับสภาพแวดลอม
นั้น แตสภาพแวดลอมเปนสวนสนับสนุนหรือเปนผูเห็นชอบในการแสดงพฤติกรรม ที่ถือเปนปจจัยสนับสนุนที่สําคัญ แตกไ็ มใช
สาเหตุโดยตรงและสาเหตุระหวางกลางของพฤติกรรม แตมันทําใหเกิดสถานการณเห็นชอบหรือคัดคานตอพฤติกรรม
การศึกษาดานการรับรูสภาพแวดลอมเพื่อหาวิธีการใชเครื่องมือในการวิจัยที่เกี่ยวกับทัศนาการและสภาพแวดลอม
ทางกายภาพ นํามาใชในการออกแบบเครื่องมือและตัวชี้วัดของการวิจัยนี้ ซึ่งมีงานวิจัยที่ใชวธิ ีการนํารูปภาพเปนเครื่องมือใน
การหาคําตอบจากกลุม ตัวอยาง และการใชสเกลวัดระดับเปนแนวทางในการวิเคราะหขอมูล ซึ่งการใชสิ่งเราเปนเครื่องมือใน
การวิจัยทีผ่ านมาพบวามีผลในการสื่อความรูสกึ รับรูของคนไดดี อาทิเชน การวิจัยเชิงทดลองของการศึกษาผลกระทบของปจจัย
การออกแบบภาพลักษณดานหนาอาคารตอการรับรูความเปนปริมาตรของอาคารของคนทั่วไปของ Arthur Stamps ใน
Architectural research methods (Linda Grote and David Wang:268-269) การวิจัยจึงใชภาพจําลองรูปลักษณหนาราน
ภายนอกที่มีปจจัยตางๆที่ตองการศึกษาการรับรูทางทัศนาการทีม่ ีตอสภาพแวดลอม ที่สามารถสื่อถึงประเภท ระดับราคา และ
รสชาติของอาหารได
สําหรับปจจัยในการออกแบบรูปลักษณรานอาหารเพื่อศึกษาวาปจจัยใดบางทีส่ ง ผลตอการรับรูป ระเภทอาหาร ระดับ
ราคาและรสชาติของอาหาร โดยอาศัยลักษณะของ Grounded Theories (Susanne Stoll-Kleemann:4) เปนวิธีการวิจัยเชิง
ประจักษ แบบ Inductive ที่มิไดเริ่มตนจากทฤษฎีสกู ารทดสอบสมมติฐาน แตเปนการนําขอมูลทีม่ ีอยูจริงจากเหตุการณ ภาค
เอกสาร และการสัมภาษณเพื่อพัฒนาไปสูทฤษฎี ในการสรุปปจจัยตางๆ เพื่อใชในการสรางภาพจําลองตอไป ซึ่งไดแก การให
แสงไฟภายในรานแบบแสงกระจายและแสงจุด การมีภาพภายในราน การมีอุปกรณประกอบตกแตงภายในราน การมีภาพ
5

อาหาร,มีเมนูอาหารหนาราน การมองเห็นวัตถุดบิ ในการประกอบอาหารมีตัวอยางอาหารแสดง การมองเห็นกระบวนการในการ


ประกอบอาหาร มีสิ่งปดลอมอาณาเขตราน ขนาดรานใหญและเล็ก มีที่นั่งดานหนาราน ความเกา-ความใหมของราน การมีชอง
เปดเห็นดานในกวางและแคบ ภายในรานมีความสวางนอยกวาดานนอกและภายในรานมีความสวางมากกวาดานนอกราน
ลักษณะเกาอี้นั่งแบบโซฟาและแบบกึ่งทางการ
สําหรับการออกแบบเครื่องมือในการวิจัย ใช “Simulation 3d” แสดงรูปลักษณรานอาหารโดยมีปจจัยตางๆในการชี้วัด
ประกอบกับแบบสอบถาม สําหรับทดสอบการรับรูของกลุมตัวอยาง นําปจจัยในการชี้วัดมาจับคูท ีละประเด็น ประกอบดวยภาพ
ที่ 1 และภาพที่ 2 ทั้งหมดจํานวน 15 คู รวม 30 ภาพ ซึ่งในแตละประเด็นมีความแตกตางตามรูปแบบของแตละปจจัย และให
กลุม ตัวอยางตอบแบบสอบถามและประเมินความรูสกึ ดวยมาตรวัด Semantic Differential Scale เพื่อทราบถึงการรับรูในแต
ละดานของกลุม บุคคลที่มตี อสภาพแวดลอม

กรอบการวิจัย

ปจจัยในการออกแบบ ตัวชี้วดั การใหแสงไฟภายในราน


การมีภาพภายในราน
การมีอุปกรณประกอบตกแตง
การมีภาพอาหาร
การรับรูของบุคคล มีเมนูอาหารหนาราน
เห็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร
การรับรูป ระเภทรานอาหาร มีตัวอยางอาหารแสดง
การรับรูร ะดับราคา เห็นกระบวนการประกอบอาหาร
การรับรูร สชาติอาหาร มีสิ่งปดลอมอาณาเขตราน
ขนาดรานใหญและเล็ก
มีที่นงั่ ดานหนาราน
รานเกาและใหม
ชองเปดเห็นดานในกวางและแคบ
การออกแบบรูปลักษณ ความสวางภายในราน/ดานนอก
รานอาหาร
เกาอี้นั่งแบบโซฟา/แบบกึ่ง
ทางการ

ภาพที่1 แผนผังแสดงกรอบการวิจัย

วิธีการและเครื่องมือในการวิจัย
การวิจัยมีขั้นตอนการศึกษาที่สอดคลองกับวัตถุประสงคและกรอบการวิจัย เพือ่ มุงศึกษาปจจัยที่สงผลตอการรับรูของ
บุคคลทั่วไป การเก็บขอมูล ใชวิธีการสุมกลุมตัวอยางแบบ Simple Random Sampling จํานวน 30 คน ขั้นแรกทําการ
วิเคราะหและสรุปปจจัยที่คาดวาจะมีผลตอการรับรูประเด็นตางๆ อาทิเชน การใหแสงสวางภายในรานแบบจุดหรือกระจาย
6

การมีภาพอาหารหรือไมมี และอื่นๆ รวมทั้งสิ้น 15 รายการ นําปจจัยเหลานั้นมาสรางภาพจําลองรานอาหารเพื่อใชทดสอบการ


รับรูปจจัยตางๆประกอบกับแบบสอบถาม เพื่อวัดประเด็นการรับรูดานประเภทรานอาหาร การรับรูระดับราคาและการรับรูดาน
รสชาติอาหาร ซึ่งภาพจําลองรานอาหารที่สรางขึ้นนั้นจะมีการควบคุมปจจัยอื่นที่ไมไดทดสอบใหเหมือนกัน และมีความ
แตกตางของประเด็นที่จะทําการศึกษาเพียงประเด็นเดียว โดยใชภาพรานอาหาร 2 ภาพ ที่มีและไมมปี ระเด็นตางๆเหลานัน้
เปรียบเทียบกัน ดังภาพแสดงแบบจําลองที่ใชเปนเครื่องมือในการทดสอบ (ภาพที่2) การศึกษาโดยทดสอบการรับรูประกอบ
แบบสอบถามทีม่ ีลกั ษณะเปนเชิงเปรียบเทียบ (Semantic Differential Scale) ระหวางภาพ 2 ภาพ ดังตัวอยางขางตน (ภาพ
ดานซายและภาพดานขวา) แบบสอบถามจะมีสเกลวัดระดับความคิดเห็นดานละ 5 ระดับ โดยระดับ 5 มีคาสูงที่สุดทั้งดานซาย
และขวา แบบสอบถามกําหนดใหระดับความคิดเห็นภาพซาย A อยูในตัวเลข 1-5 ดานซายมือ และระดับความคิดเห็นภาพขวา
A อยูในตัวเลข 1-5 ดานขวามือ ใหผูตอบแบบสอบถามเลือกระดับตัวเลขตามความคิดเห็นของการรับรูจากภาพมากหรือนอย
เพียงคาระดับเดียวและจากภาพดานเดียวตามระดับตางๆ หากมีการรับรูที่ไมแตกตางจากทั้งสองภาพใหทําเครือ่ งหมายในชอง
ตรงกลางที่หมายเลข 0 และถาปจจัยนั้นๆไมมคี วามสัมพันธกบั การรับรูดานตางๆใหทําเครื่องหมายตรงชองทีไ่ มสามารถอธิบาย
ได (ตารางที่ 1)

การมีเมนูอาหารและไมมี

มีตัวอยางอาหารแสดงและไมมี

ขนาดรานเล็กและขนาดรานใหญ

ภาพที่ 2 ตัวอยางแบบจําลองรานอาหารที่ใชเปนเครื่องมือในการทดสอบ
7

รายละเอียดประเด็น ภาพซาย A ภาพขวา A ไมสามารถ


5 4 3 2 1 0 1 2 3 4 5 อธิบายได
สื่อประเภทอาหาร
ระดับราคาแพง
รสชาติอรอย

ตารางที่ 1 แสดงสเกลวัดระดับความคิดเห็น

นําขอมูลที่เก็บไดมาหาคาเฉลี่ยการรับรูจากระดับความคิดเห็น โดยการแปลงคะแนนของภาพจําลองดานซายและขวา
ที่มีคา 1-5 ใหเปนระดับคะแนน 1-11 เรียงลําดับจากซายมือไปยังขวามือเพื่อใหสามารถคํานวนคาทางสถิติได ดังตารางที่ 2
แสดงคาคะแนนและการแปลงคะแนน

ภาพซายมือ ภาพขวามือ
ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1 0 1 2 3 4 5 ไมสามารถ
อธิบายได
การแปลงคาคะแนน 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 99

ตารางที่ 2 แสดงคาคะแนนและการแปลงคะแนน

นําผลจากขอมูลที่เก็บรวบรวมมาสรุปปจจัยที่สงผลตอการรับรูประเภทอาหาร ระดับราคาและรสชาติของอาหารของ
คนทั่วไป โดยทําการหาคาเฉลีย่ ของการรับรูปจจัยตางๆ ในประเด็นการรับรูประเภทอาหาร ระดับราคาและรสชาติของอาหาร
ของบุคคลทั่วไป เมื่อไดขอสรุปของการศึกษาขางตน แลวจึงนําปจจัยที่มีผลตอการรับรูประเภทอาหาร ระดับราคาแพงและ
รสชาติอาหารอรอยของคนโดยทั่วไป มาสรางเครื่องมือที่ใชในการทดสอบขั้นที่ 2 ดวยแบบจําลองรานอาหาร 3คูเปรียบเทียบ
กันพรอมแบบสอบถาม โดยจัดกลุม ของปจจัยที่ไมสงผลตอกันในการทดสอบ เนื่องจากการรวมทั้ง15ปจจัยไวเพียงการ
เปรียบเทียบภาพเพียงคูเดียว มีความสับสนเกินไปดวยปจจัยทีม่ ากเกิน จึงจัดเปน 3 กลุม ดังกลาว ไดแก กลุม ที่ 1(A)
ประกอบดวย แสงจุด มองเห็นวัตถุดิบ มองเห็นกระบวนการ มีที่นั่งดานหนาราน รานใหม และภายในรานมีความสวางมากกวา
ดานนอกราน กลุมที่ 2 (B) ประกอบดวย มีกราฟก มีภาพอาหาร มีเมนู และชองเปดแคบ กลุมที่ 3 (C) ประกอบดวย มีอุปกรณ
ประกอบ มีตัวอยางอาหารแสดง มีสิ่งปดลอมอาณาเขตรานและขนาดรานใหญ โดยภาพดานซายของทั้งสามกลุม จะเปนภาพ
ที่ไมมีปจจัยตางๆเหลานั้นและภาพดานขวาจะมีปจจัยที่ตองการทดสอบนั้นๆ ของทั้ง 3 กลุม ดังภาพที่ 4 โดยมีวิธีการสุมกลุม
ตัวอยางแบบ Simple Random Sampling จํานวน 30 คน ที่แตกตางจากขั้นแรก แลวทําการวิเคราะหผลหาคาเฉลี่ยของการ
รับรูปจจัยตางๆ ใน 3 กลุม ดังกลาวขางตน
8

ภาพที3่ แบบจําลองรานอาหารกลุมที่ 1(A) ดานขวาประกอบดวย แสงจุด มองเห็นวัตถุดิบ มองเห็นกระบวนการ


มีที่นั่งดานหนารา รานใหม และ ภายในรานมีความสวางมากกวาดานนอกราน

ภาพที4่ แบบจําลองรานอาหารกลุมที่ 2 (B) ดานขวาประกอบดวย มีกราฟก มีภาพอาหาร มีเมนู และชองเปดแคบ

ภาพที่ 5 แบบจําลองรานอาหารกลุม ที่ 3 (C) ดานขวาประกอบดวย มีอุปกรณประกอบ มีตัวอยางอาหารแสดง


มีสิ่งปดลอมอาณาเขตรานและขนาดรานใหญ
9

ทายสุดทําการวิเคราะหผลหาคาความแตกตางของคาเฉลี่ยการทดสอบปจจัยในการออกแบบที่มีผลตอการรับรู
ประเด็นดานประเภทราน ระดับราคาและรสชาติอาหารอรอยในครั้งที่ 2 เพื่อทดสอบการศึกษาการรับรูของบุคคลทั่วไปทีม่ ตี อ
ประเภทอาหาร ระดับราคาและรสชาติของอาหารของหนารานที่แตกตางกันโดยปจจัยตาง ๆ วาเปนอยางไรบาง

ผลการวิจัย
ผลของการศึกษาขอมูลตามขั้นตอนแยกตามประเด็นการรับรูทั้ง 3 คือการรับรูประเภทอาหาร ระดับราคาแพง และ
รสชาติของอาหารอรอย พบวาประเด็นแรกในการศึกษา คือปจจัยที่สงผลตอการรับรูประเภทอาหารที่มีระดับการรับรูในระดับสูง
ไดแก การมีภาพอาหาร การเห็นกระบวนการและวัตถุดิบในการประกอบอาหาร การมีตวั อยางอาหารแสดงและการใหแสงแบบ
จุดและการมีเมนูอาหารหนาราน ประเด็นที่สองในการศึกษา คือปจจัยที่สงผลตอการรับรูระดับราคาทีม่ ีระดับการรับรูในระดับ
ปานกลางไดแก การมีตัวอยางอาหารแสดง การใหแสงแบบจุด รานใหมและเกาอี้นั่งแบบโซฟา ประเด็นสุดทายในการศึกษา
คือปจจัยทีส่ งผลตอการรับรูรสชาติอาหารอรอย ที่มีระดับการรับรูปานกลางไดแก การมีภาพกราฟกภายในราน การมีภาพ
อาหารและตัวอยางอาหารแสดง การใหแสงแบบจุดและการเห็นกระบวนการในการประกอบอาหา ซึ่งการรับรูของบุคคลทั่วไป
ในทั้ง 3 ประเด็นเปนไปในทิศทางเดียวกัน ดังแสดงผลการทดสอบการรับรูดวยกราฟดานลางนี้ ดังภาพที่ 6

ภาพที่ 6 กราฟแสดงผลการทดสอบการรับรูใ นขั้นตอนแรก

จากการวิเคราะหผลการทดสอบในขั้นที่ 2 ตอการรับรูในประเด็นทั้ง 3 อีกครั้งหนึ่ พบวา ปจจัยทั้งหมดที่ทําการศึกษา


ในครั้งนี้สงผลตอการรับรูไดชดั เจน สามารถสรุปแยกตามประเด็นทั้ง 3 เรียงลําดับตามระดับการรับรู ประเด็นลําดับที1่ ปจจัย
ที่สงผลตอการรับรูประเภทอาหารที่มีระดับการรับรูสูงสุด ไดแกปจจัยกลุม ทีม่ ีตัวอยางอาหาร เกาอี้นั่งแบบโซฟาและการ
มองเห็นอุปกรณในการประกอบอาหารมีคาเฉลีย่ 4.7 และกลุมมีภาพกราฟก การมีเมนู ภาพอาหารภายในรานมีคาเฉลีย่ 4.5
ประเด็นลําดับที่ 2 ปจจัยที่สงผลตอการรับรูรสชาติอาหารอรอยที่มีระดับการรับรูปานกลาง ไดแกปจจัยเดียวกันกับประเด็น
10

ลําดับที่ 1 คือกลุม ทีม่ ีตัวอยางอาหาร เกาอี้นั่งแบบโซฟาและการมองเห็นอุปกรณในการประกอบอาหารมีคาเฉลีย่ 3.94 และ


กลุม มีภาพกราฟก การมีเมนู ภาพอาหารภายในรานมีคาเฉลีย่ 3.2 และประเด็นลําดับสุดทาย ปจจัยที่สงผลตอการรับรูระดับ
ราคาที่มีระดับการรับรูปานกลาง ไดแกกลุม ที่มตี วั อยางอาหาร รานขนาดใหญและเกาอี้นั่งแบบโซฟามีคาเฉลีย่ 3.01 ดังตาราง
ที่ 3 แสดงคาเฉลีย่ การทดสอบปจจัยในการออกแบบที่มีผลตอการรับรูประเด็นดานประเภทราน ระดับราคาและรสชาติอาหาร
อรอยขั้นตอนที่ 2 และการแสดงผลการทดสอบการรับรูดวยกราฟดานลาง ดังภาพที่ 7

รายละเอียด คาเฉลีย่
การรับรู SD.
การรับรูประเภทรานอาหารของปจจัยกลุม A 2.37 2.57563
การรับรูประเภทรานอาหารของปจจัยกลุม B 4.5 1.58260
การรับรูประเภทรานอาหารของปจจัยกลุม C 4.7 .64807
การรับรูระดับราคาของปจจัยกลุม A 1.3 3.55895
การรับรูระดับราคาของปจจัยกลุม B 2.26 3.23086
การรับรูระดับราคาของปจจัยกลุม C 3.01 2.47075
การรับรูรสชาติอาหารอรอยของปจจัยกลุม A 2 3.04911
การรับรูรสชาติอาหารอรอยของปจจัยกลุม B 3.2 2.88338
การรับรูรสชาติอาหารอรอยของปจจัยกลุม C 3.94 1.75810
รวม (n ) 30 คน
ตารางที่ 3 คาเฉลี่ยการทดสอบปจจัยในการออกแบบทีม่ ีผลตอการรับรูประเด็นดานประเภทราน ระดับราคาและรสชาติอาหารอรอย ขั้นตอนที่2
11

ภาพที่ 7 กราฟแสดงผลการทดสอบการรับรูข ั้นตอนที่ 2

ผลการวิเคราะหความแตกตางของคาเฉลีย่ การทดสอบปจจัยในการออกแบบที่มีผลตอการรับรูประเด็นดานประเภท
ราน ระดับราคาและรสชาติอาหารอรอยในครั้งที่ 2 เพื่อทดสอบการศึกษาการรับรูของบุคคลทั่วไปที่มตี อประเภทอาหาร ระดับ
ราคาและรสชาติของอาหารของหนารานที่แตกตางกันโดยปจจัยตางๆ พบวาปจจัยสวนบุคคลที่แตกตางกันบางประเด็น
กอใหเกิดความแตกตางของการรับรู อาทิเชน สถานภาพของบุคคลทีเ่ ปนคนโสด คนที่แตงงานแลวและคนที่หยารางจะมีความ
แตกตางของคาเฉลีย่ การทดสอบปจจัยในกลุมทีม่ ีกราฟก มีภาพอาหาร มีเมนู และชองเปดแคบ ในการออกแบบจะมีผลตอการ
รับรูประเภทของรานอาหาร ที่ระดับนัยสําคัญ .05 ระดับการศึกษาที่แตกตางกันจะมีความแตกตางของคาเฉลีย่ การทดสอบ
ปจจัยในกลุมทีม่ ีกราฟก มีภาพอาหาร มีเมนู และชองเปดแคบ การออกแบบจะมีผลตอการรับรูประเภทของรานอาหารดวย
เชนกันที่ระดับนัยสําคัญ .05 และอาชีพที่แตกตางกันจะมีความแตกตางของคาเฉลีย่ การทดสอบปจจัยในกลุมที่มีแสงจุด
มองเห็นวัตถุดิบ มองเห็นกระบวนการ มีที่นั่งดานหนาราน รานใหม และภายในรานมีความสวางมากกวาดานนอกราน การ
ออกแบบจะมีผลตอการรับรูรสชาติอาหารอรอยที่ระดับนัยสําคัญ.05
12

สรุปและอภิปรายผล
จากผลสรุปขางตนสามารถนําไปสูการเสนอแนะแนวทางการออกแบบรูปลักษณรานอาหารที่สื่อถึงประเภท,ระดับ
ราคา และรสชาติของอาหารไดดังกลาวขางตน นั่นคือ การออกแบบที่ตองการใหคนทั่วไปมีการรับรูประเภทอาหาร และรับรูวา
รสชาติอาหารอรอยนั้น ควรมีการออกแบบรูปลักษณรานอาหารที่มีภาพกราฟก มีเมนูอาหาร มีตัวอยางอาหารและภาพอาหาร
ภายในราน และสามารถมองเห็นอุปกรณในการประกอบอาหารได สวนการออกแบบรูปลักษณรานอาหารที่ตองการใหคนทั่วไป
มีการรับรูวาระดับราคาแพง ควรออกแบบใหมีตัวอยางอาหาร มีรา นขนาดใหญและเกาอี้นั่งเปนแบบโซฟา

ขอเสนอแนะจากการวิจัย
จากผลการวิจยั เบื้องตน อาจนําไปสูการออกแบบรานอาหารที่สื่อถึงรูปลักษณประเภทอื่น ๆนอกจากปจจัยที่สงผลตอ
การรับรูขางตน เชน ภาพลักษณ (Image) การจัดวางองคประกอบของรานดานสถาปตยกรรม รูปแบบสภาพแวดลอมรานคา
เพื่อมุงวัตถุประสงคของการรับรูและการใชประโยชนอื่นๆตอไป

ขอจํากัดของงานวิจัย
เนื่องดวยงานวิจยั นี้ที่เปนสวนหนึง่ ของการศึกษาในรายวิชาเรียน มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการสรางเครื่องมือในการ
วิจัยระดับเบื้องตน จํานวนกลุมตัวอยางของงานวิจัยจึงมีขนาดเล็กกวาความเปนจริงทําใหไมสามารถนําผลการทดสอบสูก าร
อางอิงไปยังกลุม ประชากรได ดังนั้นเครื่องมือทีส่ รางขึ้นนี้จะตองไดรับการพัฒนาใหมคี วามสมบูรณยิ่งขึ้นในโอกาสตอไป
13

บรรณานุกรม

วิมลสิทธิ์ หรยางกูร. 2541. พฤติกรรมมนุษยกับสภาพแวดลอม : มูลฐานทางพฤติกรรมเพื่อการออกแบบและ


วางแผนการรับรูสภาพแวดลอม พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพ : โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
G J F Smets and C J Overbeeke, “Expressing tastes in packages” Design Studies : Delft University of Technology,
Faculty of Industrial Design Engineering, Vol 16 No 3 July 1995, 349-365.
Linda Grote and David Wang.1954. ”Architectural research methods” New York:Print in the United tates of
America.
Susanne Stoll-Kleemann. Barriers to nature conservation in Germany: A model explaining opposition to protected
areas, Journal of Environmental Psychology, 2001 Academic Press

You might also like