Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

บทความวัฒนธรรม

Cultural Resource Management

การจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม หรือในประเทศยุโรปเรียกวาการบริหารมรดกวัฒนธรรม คํานี้อาจหมายถึงการ


วางแผนงาน และการสงเสริมสนับสนุนใหมีการอนุรักษดูแลรักษา หรือการจัดการขอมูล สถานที่ พื้นที่ และการตรวจสอบเรื่อง
ราวในอดีตของชาติ หรือของกลุมชนเผาพันธุตางๆ หรือสิ่งที่เปนมรดกทางวัฒนธรรมของโลก การบริหารจัดการทรัพยากรทาง
วัฒนธรรมเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจากลัทธิชาตินิยมและพาณิชยนิยมของยุโรปในชวงศตวรรษที่ 16 การครอบครองดินแดนของชาวยุ
โรปในทวีปอเมริกา แอฟริกา ออสเตรเลีย และเอเชียเปนผลโดยตรงจากการขยายตัวของการคาในโลกเกา ตั้งแตศตวรรษที่
18 จนถึงศตวรรษที่ 20 ดินแดนที่ตกเปนอาณานิคมของชาวยุโรปเริ่มตระหนักวาอดีตและประวัติศาสตรของตนเองกําลังถูก
ทําลายลง และจะไมเหลือสิ่งใดไวใหลูกหลานของตนเอง
การสํารวจวัตถุโบราณอยางเปนทางการในยุคแรกๆในเครือจักรภพอังกฤษ กระทําโดยในมณฑลราชในประเทศ
อินเดียในป ค.ศ.1870 และตอมาก็ขยายการสํารวจในประเทศอังกฤษในทศวรรษ1880 ภายใตโครงการคุมครองรักษาสถานที่
สําคัญทางประวัติศาสตร การจัดการมรดกทางวัฒนธรรมในอังกฤษในปจจุบันนี้เกิดขึ้นภายใตกฎหมายคุมครองแหลงโบราณ
สถานและพื้นที่ประวัติศาสตรป ค.ศ.1979 ในกลุมประเทศสังคมนิยมหลายประเทศ พื้นที่ที่เปนสมบัติทางประวัติศาสตรจะอยู
ในการดูแลของเอกชน
อยางไรก็ตาม ในสหรัฐอเมริกา หลักเกณฑของการจับจองทรัพยสมบัติเปนของสวนตัวนั้นตองไดรับการอนุญาตจาก
รัฐ อยางไรก็ตาม พื้นที่ที่ถือวาเปนมรดกทางประวัติศาสตรซึ่งสมควรจะไดรับการคุมครอง ถูกจัดอยูในมาตรการเดียวกัน
ทรัพยากรและสิ่งมีชีวิตที่กําลังสูญพันธุ ความขัดแยงของกฎระเบียบนี้ชวยใหเกิดรูปแบบการอนุรักษและกิจกรรมทางดาน
ประวัติศาสตรในสหรัฐ ในป ค.ศ. 1966 สหรัฐไดออกกฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษคุมครองมรดกทางประวัติศาสตรของชาติ
และในป ค.ศ. 1974 ออกกฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษคุมครองแหลงประวัติศาสตรและโบราณคดี กฎหมายนี้ชวยยืนยันวารัฐ
บาลจะไมเขาไปเกี่ยวของกับการทําลายแหลงประวัติศาสตร หรือแหลงโบราณคดีซึ่งเปนของเอกชนที่ไดรับอนุญาตใหครอบ
ครองพื้นที่เหลานี้ไดตามกฎหมาย
หนวยงานที่ดูแลรักษาแหลงประวัติศาสตรของรัฐมีอยูในทุกมลรัฐ และทุกพื้นที่โดยอาศัยกฎหมายการอนุรักษคุม
ครองแหลงประวัติศาสตรของชาติเปนเกณฑในการทํางาน ทั้งในเรื่องการกําหนดวาพื้นที่ใดคือแหลงประวัติศาสตรที่ถูกทําลาย
การกําหนดวิธีการอนุรักษ และการเขาไปเก็บรวบรวมขอมูลในแหลงโบราณสถานตางๆกอนที่จะมีการถูกทําลาย อนุสรณสถาน
และพื้นที่ที่ไดรับคุมครองจากรัฐภายใตกฎหมายคุมครองแหลงโบราณคดีในป ค.ศ. 1979 ชวยใหเกิดการเอาผิดผูที่ทําลายหรือ
ขโมยหลักฐานทางโบราณคดี และชวยใหเกิดการขุดแตงโบราณสถาน การวิจัย และการวิเคราะหในเชิงวิทยาศาสตร
สิ่งสําคัญอีกประการหนึ่งของการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมในสหรัฐก็คือ เกิดการอนุรักษแหลงโบราณคดีอยาง
ตอเนื่อง และทําใหประชาชนมีสํานึกในการอนุรักษโดยอาศัยองคกรตางๆ เชน หนวยอุทยานแหงชาติ องคการปาไม และบริษัท
จัดการที่ดินอื่นๆ รูปแบบการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมดังกลาวนี้เกิดขึ้นเนื่องจากมีการจัดตั้งระบบการควบคุมในระดับ
รัฐซึ่งกระตุนใหมีกิจกรรมการอนุรักษคุมครองแหลงประวัติศาสตรและโบราณคดีอยางตอเนื่อง นอกจากนั้นยังไดทรัพยสมบัติที่
มีคากลับคืนมา การจัดการวัฒนธรรมยังรวมถึงการจัดทําขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับแหลงโบราณสถานและทรัพยากรทางวัฒน
ธรรมนั้นเพื่อเผยแพรใหความรูแกประชาชน ประเด็นนี้กําลังเปนสิ่งที่สําคัญมากขึ้นในปจจุบัน เนื่องจากการจักทําขอมูลเพื่อ
เผยแพรสาธารณะถือเปนการทําขอมูลเชิงประวัติศาสตร
การเริ่มตนสํารวจสมบัติทางประวัติศาสตรเกิดขึ้นในสมัยเรเนซอง เชน จิตรกรชื่อราฟาเอลในอิตาลี นักสะสมโบราณ
วัตถุอยางวิลเลียม แคมเดล, จอหน ออบรีย, และ วิลเลียม สตัคลีย ในอังกฤษ และนักสะสมคนอื่นๆในยุโรป รวมทั้งการศึกษา
โบราณวัตถุ โบราณสถานของนักวิชาการจํานวนมาก อยางไรก็ตามสาธารณะชนยังไมสนใจการอนุรักษเทาใดนัก เซอรวอล
เตอร สก็อตต เขียนนิยายเรื่อง The Antiquary ในป ค.ศ. 1815 นิยายเรื่องนี้เปนเรื่องเกี่ยวกับการอนุรักษวัตถุโบราณที่ชัดเจนที่
สุดในศตวรรษที่ 19 ใน ป ค.ศ.1846 มีการจัดตั้งสถาบันสมิธโซเนียนขึ้นในสหรัฐ ซึ่งไดรับรูปแบบมาจากยุโรป งานเก็บรวบ
รวมและอนุรักษวัตถุโบราณในระยะแรกของสถาบันนี้ คือการอนุรักษแหลงโบราณคดีในเขตตะวันอกของแมน้ํามิสซิสซิปป
สถาบันชาติพันธุวิทยากอตั้งในป ค.ศ. 1879 (ตอมาเปลี่ยนเปนสถาบันชาติพันธุวิทยาแหงอเมริกา) สถาบันนี้มีหนาที่บันทึก
รวบรวมขอมูลทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรมของชนพื้นเมืองในอเมริกา เชน วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีตางๆของชน
พื้นเมืองที่กําลังถูกทําลายลงไป
เมื่อสถาบันทางโบราณคดีแหงสหรัฐ และนักอนุรักษหลายคนออกมาทํางานเปนเวลา 10 ป และประกาศใหเขตเมือง
ปกอส ในรัฐนิวเม็กซิโกเปนแหลงคุมครองทางประวัติศาสตร ในป ค.ศ.1892 ประธานาธิบดีเบนจามิน แฮรริสันก็ออกกฎห
ทายอนุรักษแหลงโบราณคดีของชาติอยางเปนทางการ อุทยานแหงชาติเยลโลสโตนถูกตั้งขึ้นในป ค.ศ. 1872 การกอตั้งนี้คือ
จุดเริ่มตนของแนวคิดเรื่องการดูแลรักษาและคุมครอง มิใชเพียงแตเรื่องทรัพยากรธรรมชาติเทานั้น แตยังรวมถึงแหลงประวัติ
ศาสตรและโบราณคดี ซึ่งจะกลายเปนแหลงที่มีความสําคัญมากในศตวรรษที่ 20 เมื่อสิ้นสงครามโลกครั้งที่สองแลว รัฐบาลใน
มลรัฐตางๆก็พัฒนาวิธีการคุมครองและรักษาแหลงประวติศาสตรอยางเปนรูปธรรม
กฎหมายเกี่ยวกับโบราณวัตถุ-สถานของสหรัฐ กฎหมายแรกเกิดขึ้นในป ค.ศ.1906 และอีก 10 ปตอมาก็ถูกบรรจุให
เปนประเด็นหนึ่งของการหนาที่ของหนวยอุทยานแหงชาติ ซึ่งเขาไปจัดการเกี่ยวกับการใชที่ดิน กิจกรรมการอนุรักษและคุม
ครอง เกิดขึ้นอยางมากในชวงทศวรรษที่ 20 แตการทํางานของรัฐซึ่งไดรับผลกระทบจากสภาพเศรษฐกิจตกต่ําในชวงทศวรรษที่
30 ทําใหกิจกรรมการอนุรักษระส่ําระสายไปทั่วประเทศ โดยเฉพาะเมื่อมีกฎหมายคุมครองแหลงประวัติศาสตรออกมาในป
ค.ศ.1935 การทํางานตางๆที่เกี่ยวกับการคุมครองและอนุรักษ เชน การขุดแตง ปฏิสังขรณ และการเก็บรวบรวมขอมูล กิจ
กรรมเหลานี้จะถูกสนับสนุนโดยหนวยอุทยานแหงชาติภายใตโครงการอาคารอนุรักษ เพื่อชวยคุมครอง ปกปองรักษา ฟนฟู
แหลงสถาปตยกรรมที่มีคาของชาติ
หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองแลว ไดมีการกอตั้งกองทุนสําหรับการอนุรักษทางประวัติศาสตรขึ้นในป ค.ศ.1949
และในป ค.ศ.1953 เริ่มมีโครงการสํารวจพื้นที่ลุมน้ําของสถาบันสมิธโซเนียน ซึ่งนําไปสูการอนุรักษและเก็บขอมูลจากแหลง
โบราณคดีและประวัติศาสตรที่สําคัญ ในป ค.ศ.1960 มีกฎหมายเกี่ยวกับการฟนฟูแหลงน้ํา ซึ่งชวยใหโครงการสํารวจลุมน้ํา
เติบโตมากขึ้น และกระตุนใหเกิดกฎหมายอนุรักษทางประวัติศาสตรแหงชาติในป ค.ศ.1966 กฎหมายฉบับนี้เปนกฎหมายแรก
ที่ใหความสําคัยกับความรับผิดชอบของรัฐตอการทํางานดานทรัพยากรทางวัฒนธรรม และความรับผิดชอบตอการระดมทุน
เพื่อจัดการเกี่ยวกับทรัพยสมบัติของรัฐ กฎหมายสิ่งแวดลอมแหงชาติในป ค.ศ.1968 ทําใหเกิดการวางแผนเกี่ยวกับทรัพยากร
ทางวัฒนธรรมที่สงเสริมใหเอกชนและสังคมเขามามีสวนรวม ทั้งนี้รัฐตองเขามาควบคุมดูแลกอนที่จะมีการดําเนินงานตางๆ ใน
ป ค.ศ.1974 มีกฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษทางประวัติศาสตรและโบราณคดี กอใหเกิดการตั้งกองทุนเพื่อการวิจัยทางดาน
โบราณคดี
กฎหมายตางๆที่เกิดขึ้นชวยใหเกิดการปกปองคุมครองแหลงโบราณคดีและประวัติศาสตรภายใตการดูแลของรัฐ แต
กฎหมายเหลานี้ยังทําใหรัฐเขาไปยุงเกี่ยวกับกิจกรรมตางๆที่ดําเนินงานโดยองคกรอนุรักษที่มีอยูในทองถิ่น ซึ่งองคกรเหลานี้จะ
เลือกอาการเกาและสถานที่สําคัญๆเปนสถานที่ที่ตองไดรับการคุมครอง รายชื่อสถานที่ทั้งหลายที่ถูกขึ้นบัญชีไวจะถูกสงไปยัง
สภาที่ปรึกษาทางดานการอนุรักษในกระทรวงมหาดไทย เพื่อใหพิจารณาคัดเลือกวาสมควรจะเปนสถานที่ที่มีการอนุรักษหรือ
ไม หรือจะใหอยูในความดูแลของชาติหรือไม สถานที่ที่ถูกขึ้นทะเบียนจะไดรับการคุมครอง และปองกันมิใหผูใดเขามาทําลาย
นอกจากนั้น รัฐบาลทองถิ่นยังสามารถกําหนดสถานที่ที่สมควรมีการอนุรักษไดโดยอาศัยกฎหมายทองถิ่นควบคูไปกับกฎหมาย
แหงชาติ
การดําเนินงานอนุรักษของรัฐบาลทองถิ่นและรัฐบาลแหงชาติทําใหเกิดการนําเอกชนเขามาทํางาน เชน จางนัก
โบราณคดีเพื่อมาวางแผนการอนุรักษสถานที่สําคัญทางประวัติศาสตร ซึ่งเปนการทําใหนักโบราณคดีมีอาชีพ รวมทั้งนัก
ประวัติศาสตรทางสถาปตยกรรม และนักประวัติศาสตรทั่วไป รัฐบาลอาจจางนักวางแผนและผูเชี่ยวชาญในการอนุรักษมาก
ขึ้น ในบริษัทเอกชนที่มีหนวยงานที่ทํางานดานอนุรักษจะมีการจางผูเชี่ยวชาญจากสถาบันการศึกษาและพิพิธภัณฑตางๆมาก
มาย
หนวยงานที่ทํางานดานอนุรักษโดยตรง เชน องคการยูเนสโก จะมีการคัดเลือกสถานที่สําคัญๆใหเปนมรดกโลก ซึ่งทํา
ใหเกิดความพยายามที่จะอนุรักษสถานที่สําคัญทางประวัติศาสตรไปทั่วโลก สถานที่หลายแหงไดรับการดูแลจากองคการสห
ประชาติชาติและหนวยงานดานอนุรักษของชาติ ในป ค.ศ.1959 องคกรICCROMเกิดขึ้นในฐานะเปนสวนหนึ่งของยูเนสโก
โดยทําหนาที่อนุรักษและฟนฟูสมบัติทางวัฒนธรรม คณะกรรมการนานาชาติดานพิพิธภัณฑ หรือ ICOM และหนวยงานที่ดูแล
สถานที่สําคัญทางประวัติศาสตร หรือ ICOMOS คือหนวยงานเอกชนที่เขามาเผยแพรใหขอมูล ใหผูเชี่ยวชาญจากนานาชาติ
ไคอมเปนหนวยงานที่ทําใหเกิดการจับกุมผูลักลอบคาของเกา และยังทําหนาที่สํารวจวัตถุสิ่งของทางประวัติศาสตรเพื่อสงคืน
กลับประเทศเดิม
หนวยงานที่ชื่อ ICAHM เปนหนวยงานที่จัดการมรดกทางโบราณคดีนานาชาติ กอตั้งในป ค.ศ.1985 หนวยงานนี้ทํา
หนาที่วางแผนงานเกี่ยวกับการอนุรักษในระดับสากล อยางไรก็ตาม การจัดการดานทรัพยากรทางวัฒนธรรมจะมีความเขมขน
มากในระดับชาติ โดยเฉพาะในประเทศที่พัฒนาแลว หรือในประเทศที่มีประวัติศาสตรที่ยาวนานซึ่งบงบอกความเปนชาติพันธุ
ที่เขมแข็ง การทํางานดานในมิตินี้ทําใหการจัดการทางวัฒนธรรมเปนเรื่องทางการเมือง หรือเปนสัญลักษณที่บงบอกสถานะ
หรือชวยใหเกิดสัญลักษณใหมในสังคม
การตัดสินใจวาใครจะเขามาจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม หรือ จะใชวิธีใดในการจัดการ คือประเด็นที่นําไปสูการ
ตระหนักถึงเรื่องทางการเมืองที่เกี่ยวของกับทรัพยากรทางวัฒนธรรมซึ่งเริ่มมาตั้งแตหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ประเด็นเหลานี้
ยังคงถกเถียงกันเรื่อยมา แตเปนเรื่องที่วิพากษวิจารณกันมากในประเทศที่เคยตกเปนอาณานิคมของตะวันตก เชน ในดินแดน
อเมริกาใต ออสเตรเลีย และอเมริกาเหนือ ประเด็นหลักของการถกเถียงคือการควบคุมมรดกทางวัฒนธรรมของคนพื้นเมือง
การประเมินคุณคาของการอนุรักษ และการใชที่ดินที่เปนสถานที่ประวัติศาสตร แนวคิดการอนุรักษของชาวยุโรปถูกตั้งคําถาม
จากคนพื้นเมืองวาคุณคา ความหมายทางวัฒนธรรม ศาสนา การเมืองในสถานที่ทางประวัติศาสตรนั้นเปนของใคร
ในประเทศเม็กซิโก และลาตินอเมริกาหลายประเทศ พยายามที่จะพัฒนาอัตลักษณของชาติตนเองโดยการเนนให
เห็นความสําคัญของมรดกทางวัฒนธรรมทั้งที่มีอยูในดินแดนโลกเกาและโลกใหม ทั้งนี้เพื่อยืนยันวาคุณคาของคนพื้นเมืองและ
ชาวยุโรปที่อพยพมาที่หลังนั้นมีพอๆกัน อยางไรก็ตาม ในสหรัฐอเมริกา มีการแยกวัฒนธรรมของคนพื้นเมืองออกจากชาวยุ
โรป โดยอาศัยนโยบายเกี่ยวกับคนพื้นเมืองที่มีอยูในรัฐบาลทองถิ่นและรัฐบาลกลาง ในสังคมอเมริกันมักจะมีการหยิบยก
ประเด็นเกี่ยวกับชนพื้นเมืองขึ้นมากลาวถึงบอยๆ บางครั้ง ประวัติศาสตรของชนพื้นเมืองในสหรัฐจะแยกขาดจากประวัติ
ศาสตรของคนอเมริกันผิวขาว โดยมองขามการผสมผสานทางวัฒนธรรมที่เกิดขึ้น ประเด็นนี้กลายเปนขอขัดแยงเกี่ยวกับการ
เขาไปควบคุมดูแลทรัพยากรและมรดกทางวัฒนธรรมของคนพื้นเมือง
กฎหมายอิสรภาพในการนับถือศาสนาของคนพื้นเมืองในอเมริกา เกิดขึ้นใน ป ค.ศ.1978เปนกฎหมายที่ใหสิทธิแกคน
พื้นเมืองในการนับถือศาสนาของตัวเอง ถึงแมวาจะไมมีระเบียบขอบังคับเขียนไววาขอบเขตของสิทธิอยูตรงไหน กฎหมายนี้ก็
อนุญาตใหคนพื้นเมืองเขาไปใชสถานที่สําคัญทางประวัติศาสตรในการประกอบพิธีทางศาสนาได และยังทําใหเกิดทางสําหรับ
คนพื้นเมืองในการอนุรักษวัฒนธรรมของตนเอง ในป ค.ศ.1990 มีกฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองและเวนคืนที่ดินที่เปนสุสาน
ของคนพื้นเมืองในอเมริกา กฎหมายนี้ทําใหคนพื้นเมืองทั้งหลายมีสิทธิเขาไปใชสุสานของตนเองได และเปนการชวยใหคนพื้น
เมืองยังคงสืบทอดวัฒนธรรมของตนเอง
กฎหมายดังกลาวทําใหคนพื้นเมืองไดใชสุสานของบรรพบุรุษของตัวเอง และกลับเขาไปอยูในที่ดินของตัวเอง วัตถุสิ่ง
ของตางๆของคนพื้นเมืองอาจเก็บไวในพิพิธภัณฑ นอกจากนั้นยังอาจอยูในพื้นที่ นักวิชาการทองถิ่นอาจเขามาจัดการเก็บวัตถุ
ของคนพื้นเมืองไวในพิพิธภัณฑทองถิ่น กฎหมายเวนคืนที่ดินและสุสานของคนพื้นเมืองยังทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการครอบ
ครองสมบัติของรัฐบาลโดยสงคืนวัตถุตางๆใหคนพื้นเมืองดูแล การจัดการและการใหความหมายแกทรัพยากรทางวัฒนธรรม
ยังเปนสวนหนึ่งของลูกหลานของคนพื้นเมือง ซึ่งเขาไปจัดการมรดกของบรรพบุรุษ แนวโนมของการจัดการแบบนี้ยังคงเปนที่
ถกเถียง และเกี่ยวของกับการกระจายทุน และการสํารวจคนหาแนวทางใหมๆในการทํางานรวมกัน รวมทั้ง การใหความสําคัญ
กับกลุมชาติพันธุที่เปนสวนหนึ่งของประวัติศาสตรในทองถิ่นนั้น
อยางไรก็ตาม การเสนอภาพของประวัติศาสตรแตกตางจากการอนุรักษโบราณสถาน รัฐบาลกลางยังคงทําหนาที่ทั้ง
สองอยางนี้ และในขณะเดียวกัน รัฐเขาไปเกี่ยวของกับการควบคุมการเสนอภาพประวัติศาสตรตอสาธารณะดวย ทิศทางของ
การจัดการทางวัฒนธรรมจะตองคํานึงถึงประชาชนที่มีสวนเกี่ยวของกับประวัติศาสตรเหลานั้น ถึงแมวาหลักการทํางานดาน
อนุรักษและการคุมครองยังคงอยูในมือของรัฐก็ตาม พรรคการเมืองบางพรรคไดริเริ่มใหรัฐเขาไปจัดการอนุรักษทรัพยากร
ประวัติศาสตรในพื้นที่ของเอกชน แตสิ่งนี้ยังไมเกิดขึ้น เนื่องจากตองคํานึงถึงการกฎหมายเกี่ยวกับการครอบครองที่ดินสวนตัว
ดวย

แปลและเรียบเรียงโดย นฤพนธ ดวงวิเศษ จาก David Levinson, Melvin Ember (eds.) Encyclopedia of Anthropology.
Henry Holt and Company,New York .1996. pp.285-288.

You might also like