No Child Left Behind

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

RERU Academic Series

No Child Left Behind : พรบ. มาตรฐานการศึกษาแห่ งอเมริกา


ประเทศนีจ้ ะไม่ มเี ด็กนักเรียนคนไหนตํ่ากว่ ามาตรฐานอีกต่ อไป

สัญชัย ฮามคําไพ * 1 0

No Child Left Behind เป็ นแนวคิดของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาแห่งชาติที่

เริ่ มในสมัยรัฐบาลประธานาธิบดี จอร์ จ ดับเบิ ้ลยู บุช ในช่วงปี 2002 โดยมีสาระสําคัญที่


เน้ นด้ วยมาตรฐานกลางของนักเรี ยนในโรงเรี ยนรัฐบาล โดยกระทรวงศึกษาธิการได้ ประกาศ
แนวทางการบริ หารงานตาม พรบ. นี ้ไว้ 4 แนวทางหลัก ดังนี ้

1. Stronger Accountability for Results การเน้ นมาตรฐานที่วัดจากผลลัพธ์


ภายใต้ กรอบของ พรบ. ที่รัฐบาลต่างๆจะต้ องทํางานร่วมกันเพื่อปิ ดกันช่
้ องว่างทางการศึกษาไม่ให้ มีเด็กคน
ใดในโรงเรี ยนที่ถกู ทอดทิ ้งทางการเรี ยน และต้ องมุง่ ให้ เกิดศักยภาพทางวิชาการ ผลลัพธ์ทางวิชาการต้ องสามารถวัด
ได้ อย่างเป็ นรูปธรรม เช่น รายงานประจําปี ทีเ่ สนอต่อมลรัฐ หรื อ เอกสารรายงานทีเ่ ขตพื ้นทีก่ ารศึกษาเสนอต่อ
ผู้ปกครอง และชุมชน อันเป็ นตัวชี ้วัดทีบ่ ง่ บอกความก้ าวหน้ าของมลรัฐและโรงเรี ยนในสังกัด นอกจากนี ้ยังกําหนด
มาตรฐานสําหรับโรงเรี ยนทีไ่ ม่ผา่ นมาตรฐานความก้ าวหน้ า โดยการทีโ่ รงเรี ยนจะต้ องมีการบริ การทางวิชาการเสริ ม
จากการสอนหลัก เช่น การติวพิเศษ หรื อการสอนเพิม่ หลังเลิกเรี ยน เป็ นต้ น หากภายในระยะเวลา 5 ปี ทีพ่ บว่า
โรงเรี ยนใดไม่สามารถพัฒนาคุณภาพเกินมาตรฐาน ทางมลรัฐก็จะเข้ ามาจัดการโรงเรี ยนนันใหม่
้ เอง

1
* สัญชัย ฮามคําไพ อาจารย์สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ภาควิชามนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏร้ อยเอ็ด ศึกษาต่อในโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรระหว่างปี การศึกษา 2551-2555 ปั จจุบนั ศึกษาระดับปริ ญญาเอก สาขาวิชา
ภาษาอังกฤษ (Ph.D. in English) ที่มหาวิทยาลัย Texas A&M University-Commerce, USA. (E-mail shamcumpai@leo.tamu-commerce.edu)
RERU Academic Series

2. More Freedom for State and Community การให้ อส


ิ ระแก่ มลรัฐและชุมชน
พรบ.นี ้ได้ นาํ มาซึง่ อิสระทางการบริ หารจัดการงบประมาณจากรัฐบาลทีค่ ล่องตัวมากขึ ้น โดยเขตพื ้นทีท่ าง
การศึกษาในแต่ละมลรัฐสามารถถ่ายโอนงบประมาณได้ โดยอํานาจพิจารณาภายในเขต ซึง่ ภายในงบประมาณ 50%
นี ้ ถือเป็ นอิสระของการจัดการโดยในกรอบงบประมาณนี ้จะมีแผนงบต่างๆ ได้ แก่ แผนงบพัฒนาคุณภาพครู แผนงบ
เทคโนโลยีการศึกษา แผนงบนวัตกรรมการศึกษาและแผนงบสถานศึกษาปลอดยาเสพติด ซึง่ การปรับแปลงวงเงิน
งบประมาณในแต่ละแผนนันสามารถกระทํ
้ าได้ เอง ซึง่ อิสระ
ทางการจัดการงบประมาณของแต่ละโรงเรี ยนนัน้ ทําให้ สามารถ
ตอบสนองความต้ องงการเฉพาะด้ านได้ เช่น การจัดจ้ างง
บุคลากร การขึ ้นค่าตอบแทน การพัฒนาฝึ กอบรมและการพัฒนา
วิชาชีพครู เป็ นต้ น
3. Proven Educational Methods การเป็ นระเบียบวิธี
ทางการศึกษาที่เป็ นรูปธรรม
พรบ. นี ้ให้ ความสนใจในโปรแกรมทางการศึกษาและ
การปฏิบตั ิที่เน้ นรูปธรรมภายใต้ การวิจยั เชิงวิทยาศาสตร์ โดย
งบประมาณรัฐบาลกลางจะต้ องนําไปใช้ เพือ่ การตอบสนอง
โปรแกรมการสอนทีม่ งุ่ พัฒนาการเรี ยนรู้ และศักยภาพของ
ประธานาธิบดีจอร์ ช บุช แถลงนโยบายมาตรฐาน
นักเรี ยน ยกตัวอย่างเช่น ในวิชาการอ่านสําหรับเด็กช่วงชัน้
การศึกษา No Child Left Behind
ประถมศึกษา พรบ.นี ้จะเน้ นการเรี ยนการสอนด้ านการอ่านที่
คิดค้ นโปรแกรมทีใ่ ช้ การวิจยั เป็ นฐาน เช่น โครงการ Reading First ในช่วงชันที
้ ่ 1 และ Early Reading First ในช่วง
ชันอนุ
้ บาล ซึง่ การทีโ่ รงเรี ยนจะเสนองบประมาณเพือ่ พัฒนาการเรี ยนการสอนนัน้ จะต้ องมีการนําเสนอข้ อวิจยั การ
เรี ยนการสอนทีเ่ ป็ นรูปธรรม ชี ้วัดการใช้ งบประมาณได้ ชดั เจน
4. More Choice for parent การมีทางเลือกหลากหลายให้ แก่ ผ้ ป
ู กครอง
ภายใต้ กรอบของ พรบ.อันนี ้ บรรดาผู้ปกครองทีม่ ลี กู เรี ยนอยูใ่ นโรงเรี ยนทีต่ า่ํ กว่าเกณฑ์มาตรฐานสามารถมี
ทางเลือกใหม่ๆได้ โดยหากว่าโรงเรี ยนใดทีไ่ ม่ผา่ นการประเมิน 2 ปี ต่อเนือ่ ง ผู้ปกครองสามารถโอนย้ ายเด็กไปเรี ยนที่
อืน่ ทีด่ กี ว่าได้ โดยเขตพื ้นทีก่ ารศึกษาจะต้ องรับผิดชอบในการจัดการรถรับส่งนักเรี ยนให้ โดยใช้ เงินงบประมาณ
การศึกษาทีเ่ ขตรับจัดสรร สําหรับระดับนักเรี ยนหากพบว่าเด็กไม่ผา่ นเกณฑ์ประเมิน 3 ปี ต่อเนื่อง และมาจาก
ครอบครัวรายได้ น้อย เด็กมีสทิ ธิ์จะได้ รับการสสนับสนุนทางการศึกษาฟรี ได้ แก่ การสอนเสริ มหลังหลังเลิกเรี ยน การ
กวดวิชาพิเศษ และการเรี ยนพิเศษช่วงปิ ดภาคเรี ยน โดยถือเป็ นสิทธิของนักเรี ยนที่โรงเรี ยนจะต้ องเป็ นผู้ตอบสนอง
RERU Academic Series
ความต้ องการนี ้ และนอกจากนี ้หากโรงเรี ยนในเขตที่มีอาชญากรรมสูง หรื อนักเรี ยนตกอยูใ่ นภาวะถูกคุกคาม
ผู้ปกครองสามารถโอนย้ ายนักเรี ยนออกไปอยูโ่ รงเรี ยนอืน่ ได้

มาตรฐานที่วัดและทดสอบได้
นโยบายการศึกษาภายใต้ กรอบ พรบ . No Child Left Behind ที่มงุ่ คุณภาพการศึกษาที่เป็ น

รูปธรรม ดังนันแล้
้ ว การทดสอบต่างๆจึงเป็ นปั จจัยสําคัญในการชี ้วัด ในด้ านทักษะภาษาในเชิงการอ่านการเขียน หรื อ
Literacy การมองนิยามของทักษะจะมุง่ เน้ นความรู้ ที่สงั เกตได้ ในเชิงรู ปธรรม โดยสามารถวัดได้ โดยเครื่ องมือทดสอบ

ทักษะภาษาและพร้ อมๆกันนี ้จากพื ้นฐานความเชื่อทางวิทยาศาสตร์ ทเ่ี น้ นรูปธรรมจึงทําให้ เกิดผลสืบเนือ่ งทาง


เจตนารมณ์ของกฎหมายที่มีนโยบายและมาตรการต่างๆที่มององค์ความรู้วา่ เป็ นสิง่ ที่ต้องสามารถจับต้ องและวัดได้
จริ ง ถึงระดับความรู้ความสารถ และรวมถึงการมองทักษะของ Literacy ว่าเป็ นดัชนีที่สามารถชี ้วัดความสามารถของ
บุคคลในการอ่านและเขียน
ผลกระทบของการให้ ความสําคัญด้ านการทดสอบ คือ การทําให้ โรงเรี ยนต้ องเร่งการพัฒนา
เครื่ องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเป็ นจํานวนมาก โดยในโรงเรี ยนประถม Kemp Elementary School ในมลรัฐ
โอไฮโอ กล่าวว่า ภายใต้ นโยบายของ พรบ. มาตรฐานการศึกษานี ้ นักเรี ยนตังแต่
้ ระดับอนุบาล – ป.2 จะต้ องถูก
ทดสอบโดยแบบทดสอบมาตรฐานมากถึง 433 ชุด โดยในระดับอนุบาลการทดสอบกับเด็กจะต้ องกระทําแบบตัวต่อ
ตัวซึง่ ใช้ เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง 1 คน ซึง่ เป็ นแบบทดสอบทีม่ คี วามซับซ้ อนและใช้ เวลานานมาก และตังแต่
้ ปี 2002
้ น้ ป. 3 – ม.2 จะต้ องมีการทดสอบมาตรฐานกลางในรายวิชาการอ่านและคณิตศาสตร์ เป็ นประจําทุกสิ ้น
นักเรี ยนตังชั
ปี การศึกษา เพือ่ เป็ นการประเมินมาตรฐานการระดับผู้เรี ยนและระดับโรงเรี ยน และหน่วยงานทดสอบมาตรฐาน
การศึกษาก็เข้ ามามีความสําคัญต่อระบบการทดสอบการศึกษามากขึ ้น และทําให้ ครูจะต้ องเตรี ยมการสอนเพื่อ
เตรี ยมความพร้ อมให้ นกั เรี ยนเข้ าสู้กระบวนการสอบวัดมาตรฐานกลาง นอกจากนี ้ยังต้ องใช้ บคุ ลากรจัดสอบจํานวน
มาก ทําให้ อนาคตของเด็กขึ ้นอยูท่ ี่การสอบวัดมาตรฐานกลางเป็ นสําคัญ

อ้ างอิง
Lindquist, Julie & Seitz, David. The Elements of Literacy. Pearson Education, Inc, 2009.

You might also like