Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 14

บทที ่ 3

ทันตกรรมรากเทียม

(Dental Implantation)

Dental Implant คือ สิง่ ทีน


่ ำามาปรับสภาพในช่องปาก เพือ
่ ให้เหมาะสมกับการใส่ฟัน

อาจทำาได้โดย การฝั งในกระดูก ฝั งลงในรากฟั น หรือฝั งลงใต้เหงือก

คุณสมบัติเบือ
้ งต้นของวัสดุทีใ่ ช้ทำา Implant

ทำาจากสารทีไ่ ม่มีชีวิต
มีความเข้ากันได้ทางชีวภาพกับร่างกาย
สามารถควบคุมรูปร่างให้เป็ นไปตามทีต
่ ้องการได้

ชนิดต่าง ๆ ของ Implant

Endodontic pin
Subperiosteum implant
Endosseous implant
Intra-mucosal implant

ความหนาแน่นของกระดูกในระดับต่าง ๆ
Dense compact bone (D-1) เป็ นกระดูกที ่ มีความหนาแน่นมาก มักพบได้ที ่

ขากรรไกรล่างด้านหน้า (anterior mandible) ถ้าฝั งรากเทียมบริเวณนี ้ จะต้องใช้

เวลาในการเกิด bone remodeling ประมาณ 5 เดือน

Dense to thick porous compact and coarse trabeculae


bone (D-2)

ประกอบด้วย dense to porous compact bone อยู่ด้านนอก และ

coarse trabeculae bone ด้านใน พบมากทีบ


่ ริเวณส่วนหน้าและส่วนหลัง

ของกระดูกขากรรไกรล่าง มักนิยมฝั งรากเทียมลงในกระดูกประเภทนี ้ จะใช้เวลาใน

การเกิด bone remodeling ประมาณ 4 เดือน

Porous compact and fine trabeculae bone (D-3) ประกอบด้วย

thinner porous compact bone และ fine trabeculae bone พบ

ได้ทีบ
่ ริเวณ ด้านติดริมฝี ปากของกระดูกขากรรไกรบน และบริเวณสันเหงือกล่าง ถ้าฝั งราก

เทียมบริเวณนีจ
้ ะใช้เวลาในการเกิด bone remodeling ประมาณ 6 เดือน

Fine trabeculae bone (D-4) มีความหนาแน่นของกระดูกบางมาก พบมากที ่

posterior of maxilla ถ้าฝั งรากเทียมบริเวณนีใ้ ช้เวลาในการหายของกระดูก

ประมาณ 5 เดือน

การประเมินกระดูกในการฝั งรากเทียม (available bone) จะพิจารณาจาก


ความกว้างของกระดูกรอบรากฟั น (width) ควรมีเหลือล้อมรอบรากเทียมอย่างน้อย 0.5
– 1 mm.
ความสูงของกระดูก (height) วัดจาก crest of edentulous ridge ไปถึง

ตำาแหน่งสำาคัญทีฝ
่ ั งลงไปไม่ได้ เช่น ในขากรรไกรล่างด้านหลังเป็ น mandibular canal
ในขากรรไกรล่างด้าน หน้าเป็ น inferior border ของกระดูกขากรรไกรล่าง ขากรรไกร

บนด้านหลังเป็ น maxillary sinus ในขากรรไกรบนด้านหน้าเป็ น maxillary


nasal nares โดยพิจารณาจากภาพถ่ายรังสี panoramic เป็ นเกณฑ์

ความยาวของบริเวณทีจ
่ ะฝั งรากเทียม (length) เป็ นความยาวทีว
่ ัดในแนว mesio –
distal
ความเอียง เป็ นมุมทีว
่ ัดระหว่างความเอียงของรากฟั นกับ occlusal plane
สัดส่วนระหว่าง crown-implant body เป็ นความสูงของ crown วัดจาก

incisal edge ไปถึง crest ของกระดูกสันเหงือกปกติ ค่าไม่ควรมากกว่า 1 ถ้าค่านี ้

มาก แสดงว่ารากเทียมมีขนาดสัน
้ กว่า crown และการรับแรงจะด้อยลง

สิง่ ทีค
่ วรประเมินก่อนการฝั งรากเทียม

Dental History
Clinical examination
Radiographic view

Periapical film
OPG
Occlusal film
Lateral cephalogram
Computed tomography (CT) scan

4. Study cast

5. Photograph

Endosseous implant

คือ รากเทียมทีฝ
่ ั งลึกลงไปในกระดูกแทนรากฟั นธรรมชาติ และเป็ นหลักยึดสำาหรับรองรับ

abutment ของฟั นปลอมต่อไป

แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ

1. Blade plate form implants มีลักษณะแบน บางในแนว bucco –


lingual ปั จจุบันลดความนิยมการใช้ไปแล้ว

2. Root form implants รูปร่างเหมือนรากฟั น มี 3 ชนิด

2.1 Cylinder หรือ press fit root form มีรูปร่างตรงทรงกระบอก ไม่เป็ น

เกลียวจะฝั งลงในกระดูกทีก
่ รอแต่งไว้โดยใช้แรงกด หรือดันเข้าไป

2.2 Screw root form รูปร่างเป็ นเกลียว ทำาให้ยึดติดกับกระดูกได้ดีขึน



2.3 Combination มีลักษณะทีเ่ ป็ น cylinder และ screw อยู่ในอันเดียวกัน

Screw or cylinder implant

ส่วนต่าง ๆ ของรากเทียมชนิดนีป
้ ระกอบด้วย

Implant body เป็ นส่วนทีฝ


่ ั งลงในกระดูก

First stage cover screw ใช้สำาหรับปิ ดด้านบนของ implant body เพือ


ป้องกันกระดูกหรือเนือ
้ เยือ
่ อ่อนเข้าไปในรากเทียม

Second stage permucosal extension


Abutment เป็ นส่วนทีอ
่ ยู่ต่อจาก Implant body ใช้รองรับฟั นปลอม

Hygiene cover screw ใช้ปิดส่วนบนของ abutment ในระหว่างรอการใส่ฟัน

เพือ
่ ป้องกัน debris และ calculus
Transfer coping ใช้สำาหรับลงไปบน implant body ก่อนทีจ่ ะพิมพ์ปาก เพือ
่ ให้

ได้ตำาแหน่งทีแ
่ น่นอนของรากเทียม

Implant analog ใช้เป็ นตัวแทน implant body โดยใส่ลงไปใน impression


Coping ใช้เป็ นส่วนเชือ
่ มต่อระหว่าง abutment และฟั นปลอม

Coping screw หรือ prosthesis screw ใช้ยึดฟั นปลอมหรือ supra-


structure ให้ติดแน่นกับ abutment

ขัน
้ ตอนสำาคัญในการฝั งรากเทียมร่วมกับการใส่ฟัน

Examination and treatment planning


Explanation and consent form
Surgical guide, radiographic examination
Implant insertion
Healing period (osteointegration)
Uncovering
Prosthesis
Recall

หลักการพืน
้ ฐานในการผ่าตัดฝั งรากเทียม

Sterility and aseptic technic


Good access
Direct visualization
Gentle handling
Trained dental assistants
Experienced surgeon

การผ่าตัดฝั งรากเทียมชนิด screw implant หรือ cylinder implant

รายละเอียดทีจ
่ ะกล่าวต่อไปนีเ้ ป็ นการฝั งรากเทียมในระบบ branemark

Incision
ให้ลง incision ค่อนมาทางด้าน buccal เล็กน้อย เปิ ด mucoperiosteum
flap

Locating the implant receptor site

วาง surgical stent ลงบนสันเหงือก เพือ


่ หาตำาแหน่งทีจ
่ ะฝั งรากเทียมตามทีว
่ างแผนไว้

Preparign the receptor site

เริม
่ ใช้ guide drill กรอนำาลงไปก่อน จากนัน
้ ใช้ twist drill กรอจนถึงความลึก

เท่ากับความยาวของรากเทียมทีจ
่ ะฝั ง ในขณะทำาการกรอกระดูกต้องมีการพ่นนำา
้ ทัง้

internal และ external irrigation ถ้าต้องมีการฝั งตำาแหน่งรากเทียมใกล้ ๆ กัน

ควรกรอตำาแหน่งทีอ
่ ยู่กึง่ กลางก่อนแล้วนำา direction indicator ใส่ไว้ในช่องทีเ่ จาะรูไว้

แล้วเริม
่ กรอตำาแหน่งทีอ
่ ยู่ distal ต่อไปโดยอาศัยแนวขนานกับ direction indicator
เป็ นเกณฑ์

ใช้ pilot drill กรอเพือ


่ ขยายขอบบนของช่องกระดูกทีก
่ รอไว้ก่อน และใช้ twist drill
ขนาดใหญ่กรอลงไปจนได้ความลึกเท่าความยาวของรากเทียมทีจ
่ ะฝั ง

ใช้ countersink กรอเพือ


่ เตรียมขอบกระดูกด้านบน เพือ
่ ให้รากเทียมคงยึดอยู่กับส่วน

ของ cortical plate ส่วนบน และช่วยรองรับ cover screw ทีจ


่ ะปิ ดบนตัวราก

เทียมได้ดีขึน

ใช้ slow speed contraangle handpiece กับ titanium tap เพือ


เตรียมช่องกระดูกให้เป็ นเกลียวรองรับรากเทียมต่อไป
ไม่ควรดูดเลือดออกจากช่องกระดูกทีเ่ ตรียมไว้ นำารากเทียมมาใส่ในช่องกระดูกนี ้ โดยใช้

slow speed handpiece ในช่วงแรกไม่ควรจะฉีดพ่นนำา


้ จนกว่า horizontal
canal ของรากเทียมเข้าไปจนถูกตำาแหน่งดีแล้ว

เมือ
่ ฝั งรากเทียมเสร็จให้ใช้ fixture wrench ขันบนรากเทียมอีกครัง้ เพือ
่ ทำาให้แน่น นำา

fixture mount บนรากเทียมออกให้หมด แล้วปิ ดด้านบนของรากเทียมแต่ละอันด้วย

cover screw ควรปิ ดให้แนบสนิทกับรากเทียม เพือ


่ ป้องกันไม่ให้มีการเจริญของเนือ
้ เยือ

เข้าไปในรากเทียม

Final closing

เย็บแผลปิ ดให้สนิทด้วยวิธี horizontal mattress ใช้ silk 3-0 ทัง้ นีไ้ ม่ควรให้ฝีเย็บ

วางอยู่บน cover screw โดยตรง นัดผู้ป่วยกลับมาตัดไหมอีก 1 สัปดาห์ และไม่ควร

ให้ผู้ป่วยใส่ฟันบริเวณนีอ
้ ย่างน้อย 2 สัปดาห์

Immediate implant

คือ รากเทียมทีใ่ ส่แทนรากฟั นธรรมชาติ โดยจะฝั งลงในกระดูกทันทีหลังจากถอนฟั นออกไป

ข้อบ่งใช้

ฟั นต้องไม่มีรอยโรคปลายราก
ฟั นต้องไม่มีการติดเชือ

ฟั นซีน
่ ัน
้ ต้องไม่มีสภาวะของโรคปริทันต์ร่วมด้วย
รูปร่างของ immediate implant จะมี 2 ลักษณะ คือ แบบ taper และ แบบ

thread

ความยาวของ implant ทีจ


่ ะฝั งจะต้องมีความยาวเพียงพอทีจ
่ ะทำาให้เกิด bone
anchorage มากทีส
่ ุด และจะต้องมีอัตราส่วนระหว่าง crown กับ implant ที ่

เหมาะสม

การฝั ง implant ในบางกรณีขนาดของ implant body มีขนาดไม่พอเหมาะกับ

กระดูกเบ้าฟั นทีถ
่ ูกถอนไป จะใช้ bone graft เข้าไปใส่ในเบ้าฟั นจนเต็มช่องว่าง

ในบางกรณีจะใช้ osteotom ขยายเบ้าฟั นโดยใช้แรงจากมือทันตแพทย์ร่วมกับ mallet


ขยายเบ้าฟั น เริม
่ จากขนาดเล็กไปหาขนาดใหญ่ นิยมใช้ในบริเวณทีก
่ ระดูกไม่หนาแน่น วิธีนี ้

จะได้ receptor site ทีม


่ ีขนาดเหมาะสมกับ implant body ทีจ
่ ะใส่ลงไป

นอกจากนีย
้ ังแบ่ง immediate implant ได้เป็ น 2 แบบ ตามขัน
้ ตอน คือ

One stage คือ การใส่ implant และ prosthesis ใน visit เดียวกัน

Two stage คือ การใส่ implant ทันทีหลังถอนฟั น แล้ว ทิง้ ระยะเวลาเพือ


่ รอให้มี

การหายของแผลและมีการยึดติดรากเทียมกับกระดูกอย่างสมบูรณ์ โดยมีระยะเวลา 4 – 6
เดือน แล้วจึงมาใส่ Prothesis ใน visit ต่อไป

ข้อดี

- ลดขัน
้ ตอนการทำางาน
- สามารถรักษารูปร่างเหงือกบริเวณทีถ
่ ูกถอนไปได้ดี

ข้อเสีย

- ทันตแพทย์ผู้ทำาจะต้องมีความชำานาญทางด้านนีอ
้ ย่างมาก

ภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดฝั งรากเทียม

Hemorrahage & Hematoma

ควรป้องกันไม่ให้มีเลือดออกมากหลังการผ่าตัด โดยจัดการห้ามเลือดหลังผ่าตัดให้เสร็จสิน

การรักษา

- ประคบด้วยความเย็นข้างแก้มหลังผ่าตัดทันที

ควรให้ยาปฎิชีวนะป้องกันการติดเชือ
้ ซำา

Edema

ควรระลึกไว้เสมอว่า จะต้องผ่าตัดด้วยความระมัดระวังและนุ่มนวล
เมือ
่ เกิดอาการบวมอาจทำาให้แผลแยกตามมาได้

ควรรอให้มี granulation tissue formation และ reepithelization และมี

การหายของแผลแบบ secondary healing

Early infection

อาการแสดงคือ ปวด บวม มีหนอง


ควรตัดไหมออกเพือ
่ ให้มีการระบาย ล้างแผลทุกวัน
ถ้ามีไข้ควรให้ยาปฎิชีวนะด้วย
รอให้มีการหายของแผลแบบ secondary healing

Wound margin dehiscence, mucosal perforation

เกิดจากการเย็บแผลตึงเกินไป เลือดไหลเวียนไม่สะดวก ทำาให้ขอบแผลตายและแยกออกจาก


กัน

ควรล้างแผลให้สะอาดด้วย H2 O 2 และทาด้วย antibiotic paste


ให้ผู้ป่วยล้างแผลทุกวันด้วย chlorhexidine mouth wash
ถ้ามีส่วนของ mucosal ทีแ
่ ยกจากกันเผยให้เห็นรากเทียมในช่วงทีเ่ ป็ น primary
healing ควรเย็บแผ่นเหงือกใหม่ เพือ
่ ป้องกันไม่ให้เกิด peri-implant boneloss

Surgical emphysema

สาเหตุ

- ใช้หัว hand piece ทีข


่ ับเคลือ
่ นด้วยลม

เย็บแผลไม่ดีพอ

อาการ - มีการบวมทันที คลำาดูมีเสียงกรอบแกรบ

การรักษา - ใช้การประคบด้วยความเย็น

Implant mobility

สาเหตุ - มีการติดเชือ
้ ทำาให้รากเทียมยึดแน่นกับกระดูก
การรักษา - แก้ไขโดยนำารากเทียมออกเพือ
่ ไม่ให้เกิดการละลายของกระดูกต่อไป

ข้อสอบท้ายบท

1. ความหนาแน่นของกระดูกบริเวณสันเหงือกทีจ
่ ะฝั งรากเทียมมีอิทธิพลต่อสิง่ ต่อไปนี ้

ยกเว้นข้อใด

Implant design
Surgical approach
Healing time
Initial progressive bone loading
Biocompatible implant surface

2. ความกว้างของกระดูก (bucco – lingual) ทีจ


่ ะรับการฝั งรากเทียมชนิด

endosseous implant ในขากรรไกรล่าง ควรหนาอย่างน้อยเท่าใด

5 มิลลิเมตร

6 มิลลิเมตร

7 มิลลิเมตร

8 มิลลิเมตร

9 มิลลิเมตร

3. วิธีการหาความกว้างและความสูงของสันเหงือกเพือ
่ เตรียมการสำาหรับการฝั งรากเทียม

วิธีใดเป็ นวิธีทีด
่ ีทีส
่ ุด
OPG in combination with metal position marker
OPG with occlusal view
Lateral cephalometric
Computer tomography
Bone mapping

4. การฝั งรากเทียมชนิด screw implant ในขากรรไกรล่าง ควรให้มี safety


zone อยู่เหนือ inferior alveolar canal อย่างน้อยประมาณเท่าใด จึงจะ

ปลอดภัยทีส
่ ุด

1 มิลลิเมตร

1 – 1.5 มิลลิเมตร

1 – 2 มิลลิเมตร

2 มิลลิเมตร

2.5 มิลลิเมตร

5. ในการผ่าตัดเพือ
่ ฝั งรากเทียม เพือ
่ ให้เกิดผลดีทีส
่ ุดควรมีองค์ประกอบดังนี ้ ยกเว้นข้อใด

Sterile operating conditions


Low torque, low speed handpiece
Internal & external irrigation
Intermittent drilling technique
Avoidance of excessive force during preparation

เอกสารอ้างอิง

Babbush CA. : Surgical Atlas of Dental Implant


Technique. W.B. Saunder Company Philadelphia, London.
Toronto 1980.
Cranin A.N. Oral Implantology Springfield III Charles C.
Thomas. Publisher 1970.
Driskell TD : History of implants J.Calif Dent Assoc 1987;
15: 16-25.
Mckinney R.V. : Endosteal dental implants. Mosby year
book, Inc St5.Louis 1991.
Misch CE. : Contemporary implant dentistry. Mosby year
book : 1993.
Schroeder A., Sutter F., Buser D., Krekeler G. : Oral
Implantology Thieme Medical Publishers, Inc. New York
1996.
Spiekermann H. : Implantology Thieme Medical Publishers,
Inc. Stuttgart 1995.

You might also like