Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 20

เอกสารประกอบเวทีสาธารณะ

ตอชะตาแมน้ําโขง สายน้ําแหงชีวต

ณ สามพันโบก จังหวัดอุบลราชธานี
14 ธันวาคม 2552

ยอนรอยเขือ
่ นบานกุม:
ภัยคุกคามวิถีชุมชนและนิเวศลุมน้ําโขง

รวมจัดโดย
สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ
คณะอนุกรรมาธิการศึกษา และตรวจสอบโครงการไฟฟาพลังน้ําเขื่อนบานกุม วุฒิสภา
คณะอนุกรรมาธิการทรัพยากรน้ํา วุฒิสภา
ศูนยวิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
กลุมคนฮักน้ําของ, เครือขายชุมชนริมแมน้ําโขง, มูลนิธิพิทักษธรรมชาติเพื่อชีวิต
มูลนิธิประชาสังคม, มูลนิธิฟนฟูชีวิตและธรรมชาติ

1
1. สถานะของโครงการเขื่อนบานกุมในปจจุบัน ทั้งฝงไทย และสปป.ลาว

โครงการเขื่อนบานกุม รัฐบาลไทยและรัฐบาลสปป.ลาว ไดลงนามในบันทึกความเขาใจเพื่อศึกษา


ความเปนไปไดของโครงการ เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2551 จากนั้นรัฐบาลสปป.ลาว ไดลงนามในบันทึก
ความเขาใจเพื่อศึกษาความเปนไปไดโครงการเขื่อนบานกุมกับ บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลล็อปเมนต
จํากัด (มหาชน) และบริษัทเอเชียคอรป โฮลดิ้ง จํากัด (Asiacorp Holdings Ltd.) ในวันที่ 25 มีนาคม
2551 เชนกัน แตในสวนของรัฐบาลไทยนัน้ จนถึงปจจุบันยังไมไดมอบหมายใหบริษัทเอกชนรายใด
ทําการศึกษาความเปนไปไดของโครงการเขื่อนบานกุม อยางเปนทางการ คงมีเพียงรายงานการศึกษา
ความเหมาะสมและสิ่งแวดลอมเบื้องตน ที่ดําเนินการศึกษาโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ
พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ซึ่งศึกษาแลวเสร็จในเดือนมีนาคม 2551 เทานั้น

รายงานการศึกษาความเหมาะสมและสิ่งแวดลอมเบื้องตน เขื่อนบานกุม ของ พพ. นั้น มีมูลคา


การลงทุน 95,348 ลานบาท กําลังการผลิตติดตั้ง 1,872 เมกะวัตต โดยมีกําลังการผลิตพึ่งได 375.68 เม
กะวัตต หรือประมาณ 20% ของกําลังการผลิตติดตั้ง นอกจากนั้นเขื่อนบานกุมจะทําใหเกิดพื้นที่น้ําทวม
98,806 ไร โดยเปนพื้นที่เกษตรริมน้ําโขง 13,858 ไร และสงผลกระทบตออาชีพประมงของชุมชนฝงไทย
30 หมูบาน1 ทางฝงลาวประมาณ 18 หมูบาน2 รายงานฉบับระบุวาจะจายคาชดเชยใหกับที่ดินและพื้นที่
เพาะปลูกริมฝง โขงราคาไรละ 12,000 บาท และใหทุนเลี้ยงปลาในกระชังครัวเรือนละ 160,000 บาท เพื่อ
ชดเชยอาชีพประมง

รายงานการศึกษาฯเขื่อนบานกุม ไดคํานวณผลประโยชนในดานตางๆไว ไดแก รายไดจากการ


ขายไฟฟาไฟฟา 14,181 ลานบาท, ดานคมนาคมทางน้ํา 135 ลานบาท, ดานประมง 270 ลานบาท, ลด
คารบอนไดออกไซด 5.49 ลานตัน/ป หรือลดการนําเขาน้ํามันเตา 24,168 ลานบาท/ป, สามารถพัฒนา
โครงการสูบน้ําดวยไฟฟา 17 โครงการ ทั้งฝงไทยและลาว ในพื้นที่ 56,600 ไร

สถานะของเขื่อนบานกุมในประเทศสปป.ลาว
ขาวความเคลือ่ นไหวของบริษัทอิตาเลียนไทยและบริษัทเอเชียคอรปฯที่ดําเนินการในประเทศ
สปป.ลาวนั้น ไมเปนที่เปดเผยมากนัก ซึ่งบริษัทฯทั้งสองยังคงดําเนินการสํารวจออกแบบอยางตอเนื่อง
หากแตขอมูลการออกแบบเขื่อนบานกุมนั้น ไดถูกเผยแพรโดยเจาหนาที่ของรัฐบาลสปป.ลาว ในการ
ประชุม Regional consultation on MRC’s Hydropower Programme โดย Mr.Viraphonh Viravong,

1
บานกุม, คันทาเกวียน, ทุงนาเมือง, ปากลา, ผาชัน, บานนอย, สําโรง, ปากหวยมวง, คําจาว, จอมปลวกสูง, ปากกะหลาง, สองคอน, คันพะ
ลาน, ดอนงิ้ว, บุงแซะ, ปากแซง, นาทราย, นาหินโงน, ลาดหญาคา, นาแวง, บุงของ, นาเมือง, หนองวิไล, บานเหนือ, นาสนาม, แกง
เกลี้ยง, อุบมุง, หวยยาง, บุงซวย, บุงเขียว
2
Ban Koum Noy, Ban Tha Kouian, Ban Keng-Gnaphe,t Ban Khan Soum Sao, Ban Mae Keua, Ban Khon Kene, Ban Don
Khieo, Ban Taphan, Ban Pak Se Nouan, Ban Hinkhok, Ban Phahang, Ban Nakho, Ban Thaphe, Ban Na Pak Soun, Ban
Nongdeum, Ban Thadua, Ban Sabouxai, Ban Na Pho

2
Director General; Department of Electricity, Ministry of Energy & Mines เมื่อวันที่ 25-27 กันยายน
2551 ที่กรุงเวียงจันทนวา เขื่อนบานกุมจะมีกําลังติดตั้งรวม 2,330 MW ซึ่งมากกวาที่ พพ.ไดออกแบบไว
ถึง 458 เมกะวัตต และตามกําหนดระยะเวลาศึกษา 30 เดือนนั้น บริษัทอิตาเลียนไทยฯ ตองดําเนินการให
แลวเสร็จภายในปลายป 2553

2. ประเด็นปญหาตอโครงการเขื่อนไฟฟาบานกุม

2.1 ความไม โ ปร ง ใสและขาดธรรมาภิบาล ในการพัฒนาโครงการเขื่อนบานกุม มีประเด็นพิจารณา 3


ประเด็นไดแก
2.1.1 การเสนอโครงการเขื่อนบานกุมโดยกระทรวงตางประเทศ ไมมีโปรงใส และอาจขัด
ตอรัฐธรรมนูญพ.ศ. 2550 มาตรา 573 และ 1904 ทั้งในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงแนวเขตแดนระหวาง
ประเทศ และการทําสัญญาระหวางประเทศ เสนอขออนุมัติรางบันทึกความเขาใจ (MoU) เรื่องความ
รวมมือในการพัฒนาพลังงานไฟฟาระหวางไทย-ลาว ซึง่ ไดเสนอเปนเรื่องดวนที่สุด ลงวันที่ 10 มีนาคม
พ.ศ. 2551 มีเนื้อความที่จะรวมมือกับรัฐบาลสปป.ลาว ในการศึกษาความเปนไปไดโครงการเขื่อนบานกุม
และเสนอใหบริษัท อิตาเลียน-ไทย ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) และบริษัท เอเชียคอรป โฮลดิ้ง จํากัด
ดําเนินการศึกษาความเปนไปไดของการพัฒนาโครงการไฟฟาเขื่อนบานกุม
ทั้งนี้ ตามขั้นตอนปกติของการเสนอโครงการดานพลังงานที่ผานมา จะตองผานคณะอนุกรรมการ
ประสานความรวมมือดานพลังงานไฟฟาระหวางไทยกับประเทศเพื่อนบาน และไดรับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.)กอน แตการเสนอวาระเรื่องโครงการเขื่อนบานกุม และ
รางบันทึกความเขาใจ โดยกระทรวงตางประเทศนั้น กลับมิไดผานการพิจารณาของ กพช. กอนหนาวันที่
11 มีนาคม 2551 แตอยางใด และตามรายงานการศึกษาความเหมาะสมและสิ่งแวดลอมเบื้องตนฯ
โครงการเขื่อนบานกุม ไดระบุไวชัดเจนวา การลงนาม MoU นั้น ตองดําเนินการตามรัฐธรรมนูญ มาตรา
57 และ 190 กอน

3
มาตรา 57 บุคคลยอมมีสิทธิไดรับขอมูล คําชี้แจง และเหตุผลจากหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ่น
กอนการอนุญาตหรือการดําเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต หรือสวนได
เสียสําคัญอื่นใดที่เกี่ยวกับตนหรือชุมชนทองถิ่น และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนตอหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อนําไปประกอบการพิจารณา
ในเรื่องดังกลาว...
4
มาตรา 190 หนังสือสัญญาใดมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย หรือเขตพื้นที่นอกอาณาเขตซึ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอํานาจ
ตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมายระหวางประเทศ หรือจะตองออกพระราชบัญญัติเพื่อใหการเปนไปตามหนังสือสัญญา หรือมีผลกระทบ
ตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอยางกวางขวาง หรือมีผลผูกพันดานการคา การลงทุน หรืองบประมาณของประเทศอยาง
มีนัยสําคัญ ตองไดรับความเห็นชอบของรัฐสภา...กอนดําเนินการเพื่อทําหนังสือสัญญากับนานาประเทศหรือองคการระหวางประเทศตาม
วรรคสอง คณะรัฐมนตรีตองใหขอมูลและจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน และตองชี้แจงตอรัฐสภาเกี่ยวกับหนังสือสัญญานั้น ใน
การนี้ ใหคณะรัฐมนตรีเสนอกรอบการเจรจาตอรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบดวย...

3
2.1.2 การไมเปดเผยขอมูล รายงานฉบับสมบูรณ “รายงานการศึกษากอนการศึกษาความ
เหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการฝายบานกุมและโครงการฝายปากชม” ซึ่งศึกษาโดย
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน แลวเสร็จมาตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2551

2.1.3 การดํา เนินการของ กระทรวงการตา งประเทศ อาจกอใหเ กิดการเอื้อ ประโยชน


ใหกับบริษัทเอกชน5 โดยเห็นไดจากการดําเนินการตางๆดังนี้
 ราง MOU ไดระบุชื่อบริษัทที่ใหดําเนินการศึกษาไดแก บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอป
เมนต จํา กัด (มหาชน) และบริษัท Asiacorp Holdings Ltd. โดยยัง ไมป รากฏวา มีขั้น ตอนการ
ประกาศใหเ อกชนเข า ร ว มเสนอโครงการและไดผ า นการคัด เลือ กแลว อย า งถู ก ตอ งตามขั้ น ตอนของ
กฎหมายที่เกี่ยวของ
 ราง MOU ขอ 3 ระบุวา เมื่อการศึกษาความเปนไปไดแลวเสร็จ ใหรัฐบาลทั้งสองประเทศ
พิจารณาตกลงตอไป ซึ่งหมายความวา เปนการรางโดยจงใจที่จะไมปฏิบัติตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ
(เชน มาตรา 57 67 และ 190 ) และกฎหมายสิ่งแวดลอมพ.ศ. 2535
 ในขณะที่ ยังไมมีมติครม.มอบหมายใหเอกชนรายใดดําเนินการอยางเปนทางการนั้น
แตในขาวสารนิเทศของ กระทรวงการตางประเทศ ที่เผยแพรทางเว็ปไซดในวันที่ 28 มีนาคม 2551 ได
ระบุชื่อบริษัท บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด(มหาชน) และบริษัท Asiacorp Holdings Ltd.
เปนบริษัทที่เขามาดําเนินการศึกษาไวอยางชัดเจน
 ถึงแมวาตอมา ในขาวสารนิเทศของ กระทรวงการตางประเทศ วันที่ 14 สิงหาคม 2551
จะใหเหตุผลวาเปนความตกลงเบื้องตนระหวางนายกรัฐมนตรีทั้งสองฝาย ในโอกาสที่นายกรัฐมนตรีไทย
ไปเยือนประเทศลาวเมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ 2551 และบริษทั เอกชนที่เขามาศึกษาเปนผูรับภาระ
คาใชจายทั้งหมด ไมมีขอผูกพันใดๆ รวมทั้งหากตัดสินใจพัฒนาโครงการในภายหลังก็จะตองดําเนินการ
ตามขอกฎหมายของประเทศไทยนั้น ยิ่งสะทอนการกระทําที่เอื้อประโยชนใหกับบริษัทเอกชน กลาวคือ
(1) กระทรวงการตางประเทศ ผลักภาระความรับผิดชอบของการเลือกภาคเอกชนไปใหแก
ส.ป.ป.ลาว
(2) การยอมรับขอเสนอของฝายส.ป.ป.ลาวใหบริษัททัง้ สองมาทําการศึกษา และสรุ ป ว า เป น
การศึ ก ษาโดยไม มี ข อ ผู ก พั น ใดๆนั้ น ยั ง ไม อ าจจะพิ สู จ น ไ ด จนกว า กระทรวงการต า งประเทศ จะ
ได เ ป ด เผยบั น ทึ ก ความเข า ใจที่ รั ฐ บาลส.ป.ป.ลาว ลงนามกั บ บริ ษั ท ทั้ ง สองแห ง นี้ แ ล ว เท า นั้ น
(3) กระทรวงการตางประเทศ ไมสามารถปฏิเสธไดวา การที่บริษัทเอกชนทั้งสองแหงได
สิทธิเขามาศึกษาโครงการกอนนั้น เปนการเอื้อประโยชนโดยตรง และสรางความไมเทาเทียมกันใน
การแขงขันประมูลโครงการเขื่อนบานกุม ในอนาคต กับบริษทั เอกชนรายอื่นๆซึ่งไมไดสิทธิดําเนิน
การศึกษา ตาม MOU ที่ลงนามเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2551
5
เอกสารอางอิง (1) ราง MOU โดยกระทรวงการตางประเทศ, (2) ขาวสารนิเทศของ กต วันที่ 28 มีนาคม 2551, (3) ขาวสารนิเทศของ กต
วันที่ 14 สิงหาคม 2551

4
(4) กระทรวงการตางประเทศ หลีกเลี่ยงที่จะไมปฏิบตั ติ ามขอกฎหมายดานการมีสวนรวมของ
ประชาชนโดยเฉพาะที่กําหนดใน รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2551 มาตรา 57 และ 67 การชี้แจงของ กระทรวง
การตางประเทศ วาเมื่อตัดสินใจแลว จึงจะปฏิบัตติ ามขอกฎหมายเหลานี้ จะสรางปญหายุงยากตามมา
อีกนานับประการ

2.2 รายงานการประเมินดานสิ่งแวดลอมเบื้องตน ไดประเมินมูลคาทางเศรษฐกิจที่ชมุ ชนของ


ชุมชนในพื้นที่ที่จะไดรบั ผลกระทบจากเขื่อนบานกุม ไมสอดคลองกับความเปนจริง สงผลให
รายงานการศึกษาความเหมาะสมเบื้องตนโครงการเขือ่ นบานกุม ไดสรุปไปในทิศทางวาโครงการมีความ
เหมาะสมและคุมคาการลงทุน ขณะที่การศึกษาเบื้องตนของหนวยงานในระดับทองถิ่น ไดแสดงมูลคา
เศรษฐกิจเบื้องตนจากแมน้ําโขง ที่แตกตางจากการศึกษาของ พพ. ไวอยางชัดเจน กลาวคือ
เศรษฐกิจสําคัญของชุมชนในพื้นที่ที่จะไดรับผลกระทบจากเขื่อนบานกุม คือ การประกอบอาชีพ
ประมงและการทําการเกษตรริมตลิ่งแมน้ําโขงในฤดูแลง ในป 2550 6 ชาวบานมีรายไดจากการทําประมง
อยูระหวาง 25,000–50,000 บาทตอป ขณะที่รายไดจากการปลูกพืชริมตลิ่งแมนา้ํ โขงอยูระหวาง 25,000–
85,000 บาทตอป และชาวบานยังมีรายไดจากทรัพยากรธรรมชาติอนื่ ๆ อีกประมาณ 1,000–10,000 บาท
ตอป รวมรายไดของชาวบานที่ไดจากทรัพยากรธรรมชาติอยูที่ประมาณ 50,000–150,000 ตอป จากการ
คํานวณมูลคาการซื้อปลาของกองทุนปลาบานผาชัน พบวาเพียงหมูบานเดียวมีมูลคาการซื้อปลารวม
ประมาณ 1.6 ลานบาท ในพื้นที่อางเก็บน้ําของเขื่อนบานกุมมีชุมชนตั้งอยูตลอดริมฝงแมน้ําโขง ทั้งฝงไทย
และสปป.ลาวรวม 59 หมูบาน (ฝงไทย 30 หมูบาน และฝงสปป.ลาว 29 หมูบาน) ซึ่งหากมีการประเมิน
มูลคาเศรษฐกิจจริงแลว ยอมมีมูลคามากมายมหาศาลเกินกวาที่จะชดเชยหรือทดแทนคืนใหกับประชาชน
ได ที่สําคัญยิง่ กวานั้นคือ ความไมคุมทุนของโครงการ หากมีการนํามูลคาทางเศรษฐกิจของชุมชนมา
คํานวณเปนตนทุนสวนหนึ่งของโครงการ ขอมูลดังกลาวนี้ ชี้ใหเห็นวา ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งสัมพันธกับ
ระบบนิเวศของแมน้ําโขงนั้นคือ รากฐานเศรษฐกิจของชุมชน ทั้งในดานการยังชีพและรายไดที่เปนตัวเงิน
ของชุมชนริมฝงแมน้ําโขง การประเมินมูลคาทางเศรษฐกิจจริงจึงเปนประเด็นสําคัญอยางยิ่งที่จะตองมี
การศึกษาในประเด็นนี้อยางละเอียดรอบดาน

2.3 โครงการเขื่อนบานกุมไมปรากฏในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย(PDP 2550)


แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทยระยะ 15 ปฉบับนีเ้ ริ่มใชเมื่อป 2550 และจะสิ้นสุดป
2564 ไดระบุไวชัดเจนจนถึงป 2560 วาจะรับซื้อไฟฟาตางประเทศจากโครงการใดบาง สวนในชวงทาย
ระยะของแผน (2561-2564) มีการระบุไวเพียงเฉพาะชนิดของเชื้อเพลิงและขนาด (กําลังผลิตติดตั้ง) ของ
โครงการเทานั้น ยิ่งไปกวานั้นฝายไทยเอง ก็มีความตองการที่จะเลือ่ นการเจรจาการรับซื้อไฟฟาจาก
โครงการเขื่อนในลาวอยางนอย 6 โครงการออกไปอีก 1-2 ป เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจของไทยถดถอย
ตามการถดถอยของเศรษฐกิจโลก ทําใหความตองการการใชไฟฟาต่าํ กวาที่ประมาณการ เห็นไดจาก

6
รวบรวมขอมูลโดยชาวบานจาก 6 หมูบาน ในเขตอําเภอโพธิ์ชัย จังหวัดอุบลราชธานี ภายใตการสนับสนุนจากโครงการฟนฟูความ
หลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศนพื้นที่ชายฝงแมน้ําโขง มูลนิธิพิทักษธรรมชาติเพื่อชีวิต, 2551

5
ตัวเลขความตองการการใชไฟฟาสูงสุดจริงของป 2550 ต่ํากวาตัวเลขความตองการการใชไฟฟาสูงสุด
ประมาณการถึง 1,300 เมกะวัตต ขอเท็จจริงที่วานี้บงชี้วา โครงการเขื่อนบานกุมไมนาจะมีความจําเปนตอ
การพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาของไทยแตประการใด

2.4 โครงการเขื่อนบานกุม ไมมีความคุมคาดานการลงทุน


ดร.เดชรัต สุขกําเนิด นักวิชาการดานพลังงานจากมูลนิธินโยบายสุขภาวะ เปรียบเทียบไวอยาง
ชัดเจนในเรื่องนี้ไววา เขื่อนบานกุมมีกําลังผลิตพึ่งไดเพียง 375.7 เมกะวัตต ซึ่งเทียบเทา 20% ของกําลัง
ผลิตติดตั้งที่ 1,872 เมกะวัตต ตองลงทุนสูงถึง 95,348 ลานบาท หากเปรียบเทียบกับกําลังผลิตที่พึ่งไดใน
ระดับเดียวกัน (375.7 เมกะวัตต) เมื่อผลิตไฟฟาโดยกาซธรรมชาติ และพลังงานชีวมวล ลงทุนเพียง
11,049.4 และ 27,800.3 ลานบาทตามลําดับ ซึ่งหมายความวา ไฟฟาที่ไดจากโครงการเขื่อนบานกุมนั้น
ไมคุมคากับการลงทุน
ตาราง เปรียบเทียบคาใชจา ยในการลงทุนผลิตไฟฟาของสามทางเลือก
รายการ เขื่อนบานกุม กาซธรรมชาติ ชีวมวล
กําลังผลิตติดตั้ง (เมกะวัตต) 1,872.0 442.0 500.9
กําลังผลิตพึ่งได (เมกะวัตต) 375.7 375.7 375.7
เงินลงทุน (ลานบาท) 95,348.0 11,049.4 27,800.3
เงินลงทุนตอกําลังการผลิตพึ่งได 253.8 29.4 74.0
(ลานบาท/เมกะวัตต)
ที่มา: เดชรัต สุขกําเนิด เขื่อนบานกุม: ฤาจะเดินตามรอยเขาพระวิหาร7

นอกจากนี้ ดร.เดชรัต สุขกําเนิด ไดเสนอแนวทางการพัฒนาแผนผลิตไฟฟาทางเลือก ซึ่ง


ประกอบดวยองคประกอบสําคัญคือ การปรับคาพยากรณ, การจัดการดานความตองการใชไฟฟา (DSM),
การเพิ่มการใชพลังงานหมุนเวียน โรงไฟฟาชีวมวล และการเพิ่มการผลิตพลังงานไฟฟา-ความรอนรวม
ซึ่งจะรองรับการใชไฟฟาไปจนถึงป 2564 โดยไมตองสรางเขื่อนบานกุม, โรงไฟฟาถานหิน หรือโรงไฟฟา
นิวเคลียรดวย

2.5 ผลกระทบตอนระบบนิเวศแมน้ําโขง
เปนที่ยืนยันในทางวิชาการแลววา วงจรการอพยพและวางไขของปลาในแมน้ําโขงและแมน้ําสาขา
เปนไปตามวัฎจักรการขึ้นลงของระดับน้าํ ในแมน้ําโขง ปลาเศรษฐกิจราคาดีลวนเปนปลาที่มีการอพยพยาย
ถิ่นทั้งสิ้น พันธุปลาหลากหลายชนิดตางอาศัยระบบนิเวศที่แตกตางกันถึง 20 ระบบนิเวศยอย8 เปนทั้ง
แหลงวางไข/อนุบาลลูกออน, แหลงอาหาร และที่อยูอาศัย/หลบซอนศัตรู การปดกั้นแมน้ําโขงโดยเขื่อน

7
เผยแพรในคอลัมน “พลังงานนารู” นิตยสารโลกสีเขียว ปที่ 17 ฉบับที่ 100 กันยายน-ตุลาคม 2551
8
มูลนิธิพิทักษธรรมชาติเพื่อชีวิต, อางแลว

6
เทากับการตัดขาดวัฎจักรของระบบนิเวศแมน้ําโขง และทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําและอัตราการ
ไหลของแมน้ําโขงดานเหนือเขื่อนและทายเขื่อน การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศแมน้ําโขงที่สําคัญเชน
2.5.1 การเปลี่ยนแปลงดานอุทกวิทยา โครงการเขื่อนบานกุม ถึงแมจะเปนเขือ่ นที่ถูกออกแบบ
ใหเปนเขื่อนแบบ run-of-river ซึ่งทําใหดูเหมือนวาจะไมจะสงผลกระทบตออุทกวิทยาแมน้ําโขง แต
บทเรียนจากการสรางเขื่อนมานวาน เขือ่ นตาเฉาซานและเขื่อนจินฮง ซึ่งเปนเขื่อนแบบ run-of-river
เชนกันนั้น ไดชี้ใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงดานนิเวศวิทยาและอุทกวิทยาของแมน้ําโขงดานทายน้ําอยาง
รุนแรง ตลอดระยะเวลากวา 15 ปที่ผานมาหลังการเปดใชงานเขื่อนมานวานในป 2536
2.5.2 เขื่อนบานกุมจะทําลายระบบนิเวศวังน้ําลึก หรือวังปลา โดยเฉพาะวังน้าํ ลึกทั้งหมดที่อยู
เหนือเขื่อน โดยปกติในชวงฤดูน้ําลดปลาจะอาศัยอยูในวังน้ําลึกทีท่ าํ หนาที่เปนทีพ่ ักอาศัย ขยายพันธุและ
การเติบโตของปลาวัยออน ปลาและสัตวน้ําเหลานี้จะอพยพออกจากวังน้ําลึกไปสูใ นแมน้ําตอนบน ลําน้ํา
สาขาและที่ราบลุมน้ําทวมถึงในชวงฤดูน้ําหลากถัดมา อางเก็บน้ําจะเปลี่ยนระบบนิเวศวังน้ําลึกจากสภาพ
น้ําไหลเปนสภาพน้ํานิ่งตลอดทั้งปและมีความลึกเพิ่มขึ้น เชน วังน้าํ ลึกในแมน้ําโขง9 ระหวางบานผาชัน
อําเภอโพธิ์ไทร ถึง บานดงนา อําเภอศรีเมืองใหม จ.อุบลราชธานี มีวังน้ําลึกที่มีความลึกเกินกวา 20 เมตร
จํานวน 12 แหง และวังน้ําลึกที่มีความลึกมากที่สุดคือบริเวณเวินเรือคาง มีความลึกมากถึง 84 เมตร
คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (MRC) ไดศึกษาในเรื่องวังน้ําลึก ซึ่งไดมีขอเสนอที่สําคัญคือ การ
พัฒนาโครงการใดๆ บนแมน้ําโขง ตองผนวกการศึกษาผลกระทบตอวังน้ําลึกในแมน้ําโขงทั้งระบบ ใน
การศึกษาผลกระทบดานสิง่ แวดลอม (EIA) และผลกระทบทางสังคม (SIA) เพื่อประกอบการตัดสินใจกอน
การพัฒนาโครงการ10
2.5.3 ผลตอการอพยพของปลา และความสมบูรณดานการประมง ทั้งนี้รายงานสรุปของกลุม
ผูเชี่ยวชาญอิสระ11 ระบุวาความสมบูรณดานการประมงในเขตลุมน้ําโขงตอนกลางและตอนลาง มีผลผลิต
ประมาณ 1.9-2.5 ลานตัน มีมูลคามากกวา 3 พันลานเหรียญสหรัฐฯตอป ซึ่งถือวาเปนลุมน้ําที่มคี วามอุดม
สมบูรณดานการประมงมากที่สุดในโลก นอกจากนี้ปลาที่จับไดในลุมน้ําโขงตอนลาง มากกวา 70% ตอง
พึ่งพาการอพยพเปนระยะทางไกลในแมน้ําโขง ดังนั้นการสรางเขื่อนบนแมน้ําโขงจะสงผลกระทบตอความ
สมบูรณดานการประมงโดยตรง และผลกระทบรุนแรงกวาการสรางเขือ่ นบนแมน้ําสาขาของแมน้ําโขง12
นอกจากนี้ยังมีการสํารวจพันธุปลาในพื้นที่หลายแหงของแมน้ําโขงและแมน้ําสาขา ที่บงชี้ถึงความสมบูรณ
ของพันธุปลาและการอพยพของปลา ไดแก

9
การสํารวจวังน้ําลึกในแมน้ําโขง โดย มูลนิธิฟนฟูชีวิตและธรรมชาติ เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2551 วังน้ําลึกทั้ง 12 แหงไดแก สุดเขตบาน
ผาชันทิศเหนือ (20 ม.), ทาน้ําบานผาชัน (29 ม.), เวินยางเดี่ยว (66 ม.), เวินเรือคาง (84 ม.), เวินผักหนาม (48 ม.), เวินหวยบอน (47
ม.), เวินขี้เจีย (33 ม.), ปากหวยลาน (35 ม.), เวินเผาะ (41 ม.), เวินขาม (ปากหวยไร) (20 ม.), เวินกุม (23 ม.), ทาเรือบานดงนา (22 ม.)
10
Deep pools as dry season fish habitats in the Mekong River Basin, น. 15 ขอ 1 และ 5, อางแลว
11
Examining the barrier effects of mainstream dams to fish migration in the Mekong, with an integrated perspective to the design
of mitigation measures, Conclusions from an independent Expert Group Meeting Vientiane, Lao PDR 22-23 September 2008
จาก http://www.mrcmekong.org/download/programmes/hydropower/presentations/Consultation%20Presentation%20(final%2025%20Sep%2008).pdf
12
Impacts of mainstream dams on fisheries and mitigation options - Current status of knowledge by Chris Barlow, Fisheries
Programme, Mekong River Commission

7
Baran และ Ratner ระบุวา ในบริเวณสี่พนั ดอนซึ่งเปนที่ตั้งของเขื่อนดอนสะโฮงนั้น มีพันธุปลา
ตางๆ มากกวา 201 ชนิด บางชนิดพบเฉพาะถิ่นหรือใกลสูญพันธุ เชน ปลาสะอี (Mekongina
erythrospila) และ ปลาเอินตาแดง (Probarbus jullieni) และพื้นที่นี้ยงั เปนสวนหนึง่ ของถิ่นอาศัยของ
ปลาโลมาอิระวดี (Orcaella brevirostris) เชนกัน และรายงานดังกลาวยังชี้วา อัตราการอพยพของปลาใน
บางพื้นที่ของแมน้ําโขง อาจมีสูงถึง 30 ตันตอชัว่ โมง13
รายงานการสํารวจพันธุปลาในแมน้ํามูน โดยงานวิจัยไทบาน14 พบวา กอนการสรางเขื่อนปากมูน
ในแมน้ํามูนมีพันธุปลา 265 ชนิด แตหลังการสรางเขื่อนพบพันธุปลาธรรมชาติเพียง 45 ชนิด ปลาที่
หายไปสวนใหญ เปนปลาที่อพยพจากแมน้ําโขง เมื่อมีการทดลองเปดประตูเขื่อนปากมูน พบพันธุปลา
กลับมา 156 ชนิด เปนปลาธรรมชาติ 148 ชนิด และปลาตางถิ่น 8 ชนิด ในจํานวนทั้งหมดนี้เปนปลา
อพยพจากแมน้ําโขง 123 ชนิด ซึ่งรวมถึงปลาหายากและใกลจะสูญพันธุเชน ปลาบึก
การสํารวจพันธุปลาเบื้องตนในแมน้ําโขง บริเวณอําเภอปากชม อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย โดย
โครงการแมน้ําเพื่อชีวิต พบปลาในแมน้ําโขงรวม 177 ชนิด
การสํารวจขอมูลเบื้องตนของนักศึกษามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 15 พบวา ชาวบานรูจักและจับ
ปลาไดไมนอยกวา 110-150 ชนิด
ดร. ชวลิต วิทยานนท นักวิชาการดานประมง ระบุวาการสรางเขื่อนแมน้ําโขงสายหลักจะตัดวงจร
การอพยพของปลาในแมน้ําโขง โดยเฉพาะกลุมปลาที่มีเสนทางการอพยพเปนระยะทางไกล จะคอยๆ สูญ
พันธุไปจากแมน้ําโขง เชน ปลาบึก ปลาซวย ปลาเอิน ปลาสะอี ปลาแข ปลาหวา ปลาคูน ปลาเคา ปลาขบ
ฯลฯ และยังระบุวาผลกระทบดานการประมงจากเขื่อนกั้นลําน้ําโขงนาจะมีระดับความรุนแรงมากกวา
ผลกระทบดานการประมงของเขื่อนปากมูน ถึง 500-1,000 เทา16

3. สรุปขอมูลโครงการเขื่อนบานกุม 17
3.1 ขอมูลดานเทคนิคโครงการเขื่อนบานกุม ไดแก
1. ติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาด 1,872 เมกะวัตต และมีกําลังการผลิตพึ่งได 375.68 เมกะวัตต
(ประมาณ 20% ของกําลังผลิตติดตั้ง)
2. มีระดับเก็บกักสูงสุดที่ 115 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง (ม.รทก.)
3. เกิดอางเก็บน้ํายาว 110 กิโลเมตร มีความจุขนาด 2,111 ลาน ลูกบาศกเมตร

13
The Don Sahong Dam and Mekong Fisheries in A Science Brief from the WorldFish Center by Eric Baran and Blake Ratner,
June 2007
14
แมมูน "การกลับมาของคนหาปลา", งานวิจัยไทบาน, 2545
15
การสํารวจเบื้องตน “วาดวยการเกษตรริมโขงและการทําประมง บานปากกะหลาง และบานสองคอน อําเภอโพธิ์ชัย จังหวัดอุบลราชธานี,
คณะนักศึกษาสาขาการพัฒนาสังคม (ชั้นปที่ 3) คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (กรกฎาคม-สิงหาคม 2551)
16
คําบรรยายในการประชุมเวทีสาธารณะ “ผลกระทบจากโครงการเขื่อนบานกุม” ณ หองประชุมอําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี จัดโดย
คณะกรรมาธิการสวัสดิการสังคมและความมั่นคงของมนุษย สภาผูแทนราษฎร วันที่ 27 กันยายน 2551
17
“รายงานกอนรายงานความเหมาะสมและรายงานสิ่งแวดลอมเบื้องตน ของโครงการไฟฟาพลังน้ําฝายปากชมและฝายบานกุม” กรมพัฒนา
พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน, มีนาคม 2551 ศึกษาโดย บริษัทปญญา คอนซัลแตนท จํากัด และบริษัทแมคโคร
คอนซัลแตนท จํากัด

8
4. มีพื้นที่น้ําทวม 98,806 ไร จําแนกเปนพื้นที่น้ําทวมตลิง่ ฝงประเทศไทย 5,490 ไรและตลิ่งฝง
ประเทศลาว 8,368 ไร
5. ติดตั้งประตูระบายน้ําจํานวน 22 บาน ขนาด กวาง 20 เมตร สูง 25.50 เมตร
6. ชองเดินเรือ 2 ชอง ขนาด กวาง 20 เมตร ยาว 200 เมตร และชองทางปลาผาน (Fish way)
หรือบันไดปลาโจน
7. พลังงานไฟฟาสุทธิเฉลี่ยปละ 8,012.17 ลานหนวยและพลังงานไฟฟาพึ่งไดสุทธิเฉลี่ยปละ
3,078.74 ลานหนวย
8. ตนทุนโครงการรวม 95,348 ลานบาท และตนทุนโครงการเมื่อรวมเงินเฟอและดอกเบี้ยรวม
120,390 ลานบาท
9. ตนทุนพลังงานไฟฟา 1.37 บาทตอหนวย (คิดจาก พลังงานไฟฟาสุทธิเฉลีย่ ปละ 8,012.17
ลานหนวย)
3.2 รายงานการศึกษาฯเขื่อนบานกุม ไดคํานวนผลประโยชนในดานตางๆไวดังนี้
1. รายไดจากการขายไฟฟาไฟฟา 14,181 ลานบาท (จากพลังงานไฟฟาสุทธิปล ะ 8,012.17
ลานหนวย)
2. ดานคมนาคมทางน้ํา 135 ลานบาท
3. ดานประมง 270 ลานบาท
4. ลดคารบอนไดออกไซด 5.49 ลานตัน/ป หรือ ลดการนําเขาน้ํามันเตา 24,168 ลานบาท/ป
5. สามารถพัฒนาโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา 17 โครงการ ทั้งฝงไทยและลาว ในพื้นที่ 56,600 ไร
ดวยงบประมาณลงทุนรวม 422.842 ลานบาท
ภาพที่ 1 แผนที่แสดงหมูบ านดานเหนือและดานใต ของเขื่อนบานกุม

9
3.3 รายงานการศึกษาฯไดสรุปผลกระทบและแนวทางการลดปญหาผลกระทบไว ตามตารางนี้
ผลกระทบ แนวทางการลดปญหาผลกระทบ
1. น้ําทวมหมูบาน 4 หมูบานจํานวน 239 ครัวเรือน กอสรางคันปองกันน้ําทวม โดยไมตอง
 ไทยมี 1 หมูบานคือ บานคันทาเกวียน อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี อพยพบานเรือนในไทยและลาว
จํานวน 29 หลังคาเรือน
 ลาวมี 3 หมูบา น คือ บานกุมนอย บานคําตื้อ บานคันทุงไชย
จํานวน 44 , 93 , 73 หลังคาเรือนตามลําดับ
2. เวนคืนพื้นที่หัวงานเขื่อน ที่บานทาลง และบานกุมนอย ชดเชยคาที่ดนิ และบานเรือน
3. พื้นที่น้ําทวมตลิ่งแมน้ําโขง ซึ่งเปนพื้นที่เกษตรกรรมริมแมน้ําโขง รวม ชดเชยคาที่ดนิ และพื้นที่เพาะปลูก
13,858 ไร ซึ่งเปนพื้นที่ปลูกพืชระยะสั้นในฤดูแลง เพื่อเปน อาหาร (12,000 บาท/ไร)
การทอผาและรายไดของชุมชน แบงเปน ตลิ่งฝงไทยจํานวน 5,490 ไร
และตลิ่งฝงลาว สปป.ลาวจํานวน 8,368 ไร
4. อาชีพประมงของชุมชนดานเหนือเขื่อน ซึ่งมีรายไดหลักจากการ ชดเชยคาเสียโอกาสในการทํากิน
ประมง เชน เทียบเทาการลงทุนเปลี่ยนอาชีพเปน
 ไทย เชน บานคันทาเกวียน, ปากลา, ดงนา, ผาชัน, สําโรง, ปาก เลี้ยงปลาในกระชัง (160,000 บาท/
หวยมวง, สองคอน, คันพะลาน, ดอนงิ้ว, บุงแซะ, ปากแซง, นา ครัวเรือน)
ทราย, นาหินโงน, ลาดหญาคา, นาแวง, บุงของ, นาเมือง, หนอง
วิไล, บานเหนือ, นาสนาม, แกงเกลี้ยง, อุบมุง, หวยยาง, บุงซวย,
บุงเขียว
 ลาว เชน บานกุมนอย, คําตื้อ, คันกกมวง, คันทุงไซย, ปากหวย
เดื่อ, หาดสะโน, แสนพัน
5. น้ําทวมเขตอุทยานแหงชาติผาแตม รวมพื้นที่ กอนเริ่มโครงการ ตองขอเพิกถอนพื้นที่อุทยานแหงชาติกอน
480 ไร
6. การปดกั้นการอพยพของปลาในแมน้ําโขง สรางบันไดปลาโจน และเพาะพันธุปลาที่ผานไมได นํามา
ปลอยทั้งเหนือเขื่อนและใตเขื่อน
7. ผลกระทบดานอาชีพประมงดานใตเขือ่ น เชน บานทาลง, บานตามุย, ไมระบุในการศึกษาฯ
บานกุม, บานเวินบึก อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี
8. ผลกระทบดานการสูญเสียระบบนิเวศและแหลงทองเที่ยวของ จ.อุบลราชธานี เชน ไมระบุในการศึกษาฯ
ผาชัน, แกงสามพันโบก, แกงสะเลกอน-ดอนใหญ, หาดสลึง, หาดบานปากแซง, วัง
ปลา ฯลฯ รวมทั้ง เถาวัลยยักษ และน้ําตกแสงจันทร(น้ําตกลอดรู) ในเขตอุทยาน
แหงชาติผาแตม
9. ผลกระทบดานการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําและอัตราการไหลของแมน้ําโขงดานเหนือ ไมระบุในการศึกษาฯ
เขื่อนและทายเขื่อน
10. ผลกระทบตอระบบนิเวศแมน้ําโขงโดยรวม นอกพื้นที่โครงการเขื่อนบานกุม ไมระบุในการศึกษาฯ

10
3.4 รายงานการศึกษาฯ ไดเสนอแนวทางการบริหารโครงการ 3 แนวทาง ไดแก
1. การจัดตั้งคณะกรรมการรวม (Joint Committee)
2. การจัดตั้งบริษัทรวมทุนระหวางประเทศสองประเทศ (Holding company) เพื่อใหสัมปทานแก
บริษัทผูดําเนินการ
3. รัฐบาลทั้งสองประเทศดําเนินการโครงการโดยตรง โดยจัดตั้งบริษัทรวมทุนเพื่อดําเนินการเอง
(Joint Operating Committee)
รายงานการศึกษาระบุวา ขัน้ ตอนการจัดตั้งคณะกรรมการรวมตามรูปแบบที่ 1 สามารถทําไดทนั ที
แตในกรณีมีการทํา MoU ตองดําเนินการรัฐธรรมนูญมาตรา 57 และ 190 กอน

ภาพที่ 2 ภาพตัดขวางแมน้ําโขง แสดงขอบเขตพื้นที่น้ําทวม และผลกระทบตอการจับปลา


และการปลูกพืชริมตลิง่ แมน้ําโขง

4. ลําดับเหตุการณ เขื่อนบานกุม

ป 2548 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน(พพ.) ไดวาจางบริษัท ปญญา คอนซัลแตนท


จํากัด และบริษัท มหานคร คอนซัลแตนท ของไทย ใหศึกษาศักยภาพการกอสรางเขื่อนไฟฟาพลังน้ําแบบ
ขั้นบันไดในแมน้ําโขง

11
ป 2550 พพ. ไดวาจาง บริษัท ปญญา คอนซัลแตนท จํากัด และบริษัท แมคโคร คอนซัลแตนท ใหจัดทํา
“รายงานกอนรายงานความเหมาะสมและรายงานสิ่งแวดลอมเบื้องตน” ของโครงการเขื่อนขั้นบันไดแมน้ํา
โขง 2 แหงบริเวณชายแดนไทย-ลาว คือ เขื่อนปากชม (ใกลกับเขื่อนผามองในแผนดั้งเดิม) และเขื่อนบาน
กุม โดยเรียกชื่อโครงการใหมวา โครงการไฟฟาพลังน้ําฝายปากชม และ โครงการไฟฟาพลังน้ําฝายบาน
กุม ซึ่งถูกออกแบบใหเปนเขื่อนไฟฟาแบบมีน้ําไหลผานตลอดป (run-of-river)

29 กพ – 1 มีค 2551 นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เดินทางเยือน สปป.ลาว ไดมีการหารือกับ


รัฐบาลสปป.ลาว เรื่องเขื่อนบานกุม ซึ่งไดระบุชื่อ บมจ. อิตาเลียนไทย และบริษัท Asia Corp. ใหศึกษา
ความเปนไปไดของโครงการ
ที่มา: http://www.boi.go.th/thai/how/press_releases_detail.asp?id=2473 เขาถึงเมื่อ 26 สิงหาคม 2551

3 มีนาคม 2551 นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี กลาวในรายการสนทนาประสาสมัคร ในเรื่องเขื่อน


บานกุมสรุปสาระสําคัญคือ จะรวมมือกับลาวทําเขื่อนกัน้ น้ําโขง ยกแมน้ํา ขึ้นมา 18 เมตร ถอยหลังไป
110 กิโลเมตร ภายใต ความตกลงซื้อไฟฟาจากสปป.ลาวจํานวน 7,000 เมกะวัตต

10 มีนาคม 2551 กระทรวงการตางประเทศ (โดย กรมเอเชียตะวันออก) เสนอรางบันทึกความเขาใจเรื่อง


ความรวมมือในการพัฒนาพลังงานไฟฟาระหวางไทย - ลาว (โครงการเขื่อนบานกุม) ให ครม.อนุมัติ โดย
มีสาระสําคัญคือ (1) ระบุให บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลล็อปเมนต จํากัด (มหาชน) และบริษัท Asiacorp
Holdings Ltd. ใหทําการศึกษาความเปนไปได เนื่องจากทั้งสองฝายพิจารณาเห็นวาภาคเอกชนมีความ
พรอมดานเงินทุนและความคลองตัวสูงจากการที่ไดมีการพัฒนาโครงการไฟฟาใน สปป.ลาวมาแลวหลาย
โครงการดวยความสําเร็จอยางดี, (2) บริษัททั้งสองแหงจะรับผิดชอบคาใชจายในการศึกษาทั้งหมด,
(3) รัฐบาลทั้งสองประเทศจะมอบหมายใหหนวยงานภาครัฐของทั้งสองประเทศรวมมือกัน ในการกํากับ
ดูแลและประสานงานกับบริษัท, (4) ผลการศึกษา รายงานใหรัฐบาลของทั้งสองประเทศเพื่อพิจารณาตกลง
ตอไป (ที่มา หนังสือ กต 1303/556 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2551)

11 มีนาคม 2551 ครม.มีมติอนุมัติ รางบันทึกความเขาใจฯ ตามที่กระทรวงการตางประเทศเสนอ โดยให


ปรับปรุงถอยคําดังนี้
 ใหเปลี่ยนชื่อ บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลล็อปเมนต จํากัด (มหาชน) และบริษัท Asiacorp
Holdings Ltd. เปน ภาคเอกชน
 เปลี่ยนถอยคําในขอ 3 จากเดิม “จึงใหรายงานรัฐบาลของทั้งสองประเทศเพื่อพิจารณาตกลง
ตอไป” เปน “จึงใหรายงานรัฐบาลของทั้งสองประเทศเพื่อพิจารณาดําเนินการภายใตระเบียบและ
ขอกฎหมายภายในของทั้งสองประเทศตอไป”

12
25 มีค 2551 นายนพดล ปทมะ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ เปนผูแทนรัฐบาลไทยลงนาม
บันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหง สปป.ลาว เรื่อง ความรวมมือใน
การพัฒนาพลังงานไฟฟาระหวางไทย-ลาว โดยฝายลาวมีนายทองลุน สีสุลิด รองนายกรัฐมนตรีและ
รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สปป.ลาว เปนผูลงนามในนามรัฐบาล สปป.ลาว การลงนาม
บันทึกความเขาใจฯ ระบุใหภาคเอกชนศึกษาความเปนไปได
ในวันเดียวกัน นายทองลุน สีสุลิด รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สปป.
ลาว เปนผูลงนามในนามรัฐบาล สปป.ลาว ในบันทึกความเขาใจการศึกษาโครงการเขื่อนบานกุม กับ
บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลล็อปเมนต จํากัด (มหาชน) และบริษัท Asiacorp Holdings Ltd. โดยมี
ระยะเวลาศึกษา 30 เดือนนับตั้งแตวันลงนาม

26 มีนาคม 2551 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานและกลุมบริษทั ที่ปรึกษา จัดการ


สัมมนา โครงการไฟฟาพลังน้ําฝายปากชมและฝายบานกุม เพื่อชี้แจงรายละเอียดและแนวทางการ
ดําเนินงานโครงการใหแกหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชนและกลุมบริษทั ดานการลงทุน ที่ โรงแรม
เดอะทวิน ทาวเวอร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

27 มีนาคม 2551 กระทรวงการตางประเทศ นําเสนอขาวภาษาอังกฤษ เรื่องการลงนามบันทึกความ


เขาใจฯ เมื่อวันที่ 25 มีนาคมที่ผานมา และไดระบุชื่อบริษัททีเ่ ขามาทําการศึกษาความเปนไปไดคือ
Italian-Thai Development Company and Asia Corp.
ที่มา: http://www.thaigov.go.th/pageconfig/webindex/frame.asp?id=53 เขาถึงเมื่อ 26 สิงหาคม 2551

28 มีนาคม 2551 กระทรวงการตางประเทศ นําเสนอขาวภาษาไทย เรื่อง การลงนามบันทึกความเขา


ใจความรวมมือในการพัฒนาพลังงานไฟฟาระหวางไทย-ลาวฯ เมื่อวันที่ 25 มีนาคม และไดระบุชื่อบริษัทที่
เขามาทําการศึกษาความเปนไปไดคือ บริษัท Italian-Thai Development และ Asia Corp.
ที่มา: http://www.thaigov.go.th/pageconfig/webindex/frame.asp?id=53 เขาถึงเมื่อ 26 สิงหาคม 2551

25 พฤษภาคม 2551 นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี กลาวในรายการสนทนาประสาสมัคร ในเรื่อง


เขื่อนบานกุมสรุปสาระสําคัญคือ
“บัดนี้เราตัดสินใจแลวครับ เราจะทํา Levee ขวางแมนา้ํ โขง ไทยกับลาวจะทํา 3 จุด จะมีที่บานกุม จะมีที่
โพนพิสัย แลวก็จะมีที่อีกแหงหนึ่ง ผมนึกชื่อไมออก 3 ชื่อครับ จะมีนี่กัน สูงไมมากครับสูง 18 เมตรตรง
บานกุมตรงโนนลาวตรงนี้ไทย เปนตัวเหมือนกับคราวฝายแมว 18 เมตร สูง 18 เมตรจะทําใหน้ําจากสัน
เขื่อนถอยหลังไปยาวที่จะเต็มลําแมน้ําโขง เต็มตลอดครับ 110 กิโลเมตร ฝายแมวกั้นลงไปก็ถอยยาวไป
ปลูกหอมปลูกกระเทียมหมดกั้นลงไป คือขางบนถอยลงมา น้ําไหลตะแคง น้ําแมน้ําโขงไหลลงเสมอไมมี
ไหลขึ้น เพราะฉะนั้นใส Check Dam ลงไปปบทีบ่ านกุม ถอยหลัง 110 กิโลเมตร ทางลาวบอกวาทวม
หมูบานลาว 7 หมูบาน แตชางมันเถอะ ทางไทยทวม 2 ลาวทวม 7 นายกรัฐมนตรีลาวบอกตกลง 7 กับ 2

13
ทวม แตเราไดใชน้ําแนนอน น้ําจะอยูถอยหลังไป 110 กิโลเมตร นี่อันแรกครับ อันที่สองจะอยูที่โพนพิสัย
ก็จะถอยบาง อันนี้ตัวเลขยังไมมา ก็จะถอย สุดทายนี้อยูตอนกอนจะถึงเลย”
“รัฐบาลนี้จะเปนคนทํา แลวลงมือเซ็นสัญญากับลาวไปแลว ตอไปจะเซ็นอีกเสนหนึ่ง จะเซ็นที่ตรงกับโพน
พิสัย แลวจะเซ็นอีกอันหนึ่งที่ตรงเหนือหนองคายขึ้นมา เรื่องอยางนี้เปนเรื่องที่วาถาไมคิดไมกลาตัดสินใจ
ก็ไมมีวันไดทํา แตรัฐบาลนีค้ ิดและตัดสินใจ แลวจะลงมือทํา”

10 สิงหาคม พ.ศ. 2551 นายพานิช พงศพิโรดม อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน


โดยไดชี้แจงในประเด็นของการดําเนินการของทั้งสองบริษัท ผานหนังสือพิมพมติชน วา
“รัฐบาลไทย โดยกระทรวงการตางประเทศ ไดมีการลงนามใน MOU ระหวาง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ
ตางประเทศ ของ สปป.ลาว และไทย เรือ่ งความรวมมือในการพัฒนาพลังงานไฟฟาระหวาง 2 ประเทศ
เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2551 โดยจะสนับสนุนใหภาคเอกชนดําเนินการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ
ไฟฟาพลังน้ําฝายบานกุม ซึ่งใน MOU ดังกลาว ไมไดมีการมอบหมายใหเอกชนรายใด เปนผูดําเนินการ
ศึกษาโครงการฯ”

11 สิงหาคม 2551 รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน ชี้แจงตอคณะอนุ


กรรมาธิการทรัพยากรน้ํา ประจําวุฒิสภา เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2551 สรุปประเด็นสําคัญไดแก
 ปจจุบัน รัฐบาลสปป.ลาวไดมอบหมายใหบริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลล็อปเมนต จํากัด (มหาชน)
เปนภาคเอกชนผูศึกษาความเปนไดของโครงการ สวนในกรณีของรัฐบาลไทยยังไมไดมอบหมาย
ใหเอกชนรายใดทําการศึกษาความเปนไปได
 พพ. ยุติการดําเนินการในโครงการเขื่อนบานกุมไวกอน เพื่อใหเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรี และ
ยังมิไดเปดเผยรายงานการศึกษาฯ ใหแกผูใด ดวยเกรงวาจะเกิดความไดเปรียบ/เสียเปรียบกัน
ระหวางเอกชนที่จะเขามาดําเนินการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ
 โครงการเขื่อนบานกุมยังมิไดระบุเขาเปนโครงการในแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาของการ
ไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (หรือ PDP2008)
 หากบริษัทอิตาเลียนไทย ดีเวลล็อปเมนต จํากัด (มหาชน) ดําเนินการ “สํารวจพื้นที่ สํารวจลําน้าํ
และปกหมุดระดับน้ํา สอบถามประชาชน และเริ่มเจรจาตอรองเกี่ยวกับคาชดเชยกับประชาชน
ผูรับผลกระทบ” ดังกลาวจริง ก็ถือเปนการดําเนินการโดยพลการ

14 สิงหาคม 2551 นายเตช บุญนาค รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ตอบกระทูถามสดของสภา


ผูแทนราษฎร เรื่องโครงการไฟฟาพลังน้ําฝายบานกุม สรุปสาระสําคัญไดแก

14
 การลงนามบันทึกความเขาใจฯกับรัฐบาลลาว ยังมิไดตัดสินใจวาจะดําเนินโครงการไฟฟาพลังน้ํา
ฝายบานกุมหรือไม การมอบหมายใหภาคเอกชนเขามาทําการศึกษาความเปนไปไดนั้น
ภาคเอกชนจะเปนผูรับภาระคาใชจายทั้งหมด และไมมีเงื่อนไข
 หากรัฐบาลตัดสินใจดําเนินการก็จะตองปฏิบัตติ ามกฎหมายของไทยที่เกี่ยวของไดแก รัฐธรรมนูญ
มาตรา 57, 67, 190 , กฎหมายสิ่งแวดลอม 2535 และกฎหมายวาดวยการใหเอกชนเขารวมงาน
หรือดําเนินการในกิจการของรัฐ 2535 รวมทั้งความตกลงระหวางประเทศเกี่ยวกับการใชแมน้ํา
โขง
 การสนับสนุนให บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลล็อปเมนต จํากัด (มหาชน) และบริษทั Asiacorp
Holdings Ltd. เขามาทําการศึกษา เปนขอเสนอของรัฐบาลสปป.ลาว ซึ่งรัฐบาลไทยไมขัดของ
เพราะรัฐบาลมีนโยบายสงเสริมใหเอกชนไทยเขาไปลงทุนในประเทศเพื่อนบาน และพิจารณาเห็น
วา มิไดมีเงื่อนไขผูกพันรัฐบาล ทั้งในดานงบประมาณและการดําเนินโครงการในระยะตอไป
ที่มา ขาวสารนิเทศ กรมสารนิเทศ กระทรวงการตางประเทศ ที่ 422/2551 วันที่ 14 สิงหาคม 2551

15 สิงหาคม 2551 สภาองคการบริหารสวนจังหวัดอุบลราชธานี เปดประชุมสมัยสามัญ สมัยที่สอง


ประจําป 2551 ครั้งที่ 4 โดยมีเจาหนาที่จากสํานักงานพลังงานภูมิภาคที่ 7 อุบลราชธานี ในฐานะตัวแทน
ของ กระทรวงพลังงาน เขาชี้แจงกรณีการกอสรางฝายขั้นบันไดแมน้ําโขง วาขณะนี้การดําเนินการใดๆ
เปนหนาที่ของกระทรวงการตางประเทศที่จะดําเนินการตอวาจะใหหนวยงานใดดําเนินการ หลังจากได
เจรจาทําขอตกลงกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) เปนที่เรียบรอยแลว ในสวน
สปป.ลาว ไดใหบริษัทเอกชนของไทย 2 บริษัท ศึกษาความเปนไปไดกอนเสนอใหรัฐบาลลาวพิจารณา
สวนรัฐบาลไทยยังไมไดมอบหมายหรือคัดเลือกเอกชนรายใดมาทําการศึกษาแตอยางใด ตองรอให
กระทรวงการตางประเทศหนวยงานเดียวที่จะเปนผูสั่งการตอ
ที่มา: http://www.ubon.go.th/news/detail.php?id=1059 เขาถึงเมื่อ 26 สิงหาคม 2551

21 สิงหาคม 2551 การศึกษาดูงาน ของคณะอนุกรรมาธิการศึกษาตรวจสอบโครงการไฟฟาพลังน้ําเขื่อน


บานกุม จังหวัดอุบลราชธานี โดยไดรับมอบหมายจากคณะกรรมาธิการศึกษา ตรวจสอบเรื่องการทุจริต
และเสริมสรางธรรมาภิบาล วุฒิสภา และไดเชิญผูแทนสวนราชการทีเ่ กี่ยวของรวมประชุม ณ ศูนย
ศิลปวัฒนธรรมกาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ในที่ประชุมมีประเด็นเกี่ยวกับมติครม.
และการดําเนินการของบริษัทอิตาเลียนไทย คือ
นายชวน ศิรินันทพร ผูวา ราชการจังหวัดอุบลราชธานี ระบุวาปลายเดือนมิถุนายน มีตัวแทนจากบริษัทอิ
ตาเลียนไทย พรอมดวยมติครม.11 มีนาคม มาขอใหทางจังหวัดชวยประสานไปยังอําเภอและหนวยงาน
ตางๆ เพื่ออํานวยความสะดวกในการศึกษาสํารวจ ซึ่งทางผูวาฯไดทว งติงกลับไปวา ตามขั้นตอนปกติ
กระทรวงเจาของเรื่องคือกระทรวงพลังงานจะตองแจงมาอยางเปนทางการ และจังหวัดไดทําจดหมายถาม
ความชัดเจนในกรณีดังกลาวตอกระทรวงพลังงาน เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2551 (หนังสือสํานักงานจังหวัด
อุบลราชธานี ที่ อบ.0016.3/15466) แตจนถึงวันนี้ ทางจังหวัดก็ยังไมไดรับคําตอบจากกระทรวงพลังงาน

15
นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอํานวยการสํานักพัฒนาพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ
พลังงาน กลาววา ปจจุบันกรมฯไดหยุดการศึกษาโครงการเรื่องฝายบานกุมทั้งหมด ตั้งแตมีมติครม.เมื่อ 11
มีนาคม มอบหมายใหเอกชนศึกษาความเปนไปได และปจจุบันรัฐบาลยังไมไดมอบหมายใหบริษัทใด เปนผู
ทําการศึกษา ในสวนของพพ. จะรอคําสั่งจากกระทรวงในเรื่องบทบาทหนาที่สําหรับโครงการนี้อยางเปน
ทางการ แตจะยังคงศึกษาความเปนไปไดตอ สําหรับโครงการฝายปากชม และไดตั้งขอสังเกตุตอมติครม. ที่
มอบหมายใหเอกชนเปนผูศ ึกษานั้น อาจเกิดการบิดเบือนตัวเลขดานผลกระทบ หรือดานคาลงทุนหรือการ
แบงผลประโยชน รวมทั้งตองดูในเรื่องความถูกตองกับระเบียบพัสดุการจัดซื้อจัดจางดวย เพื่อปองกันความ
ผูกพันตอเนื่องระหวางบริษทั ที่กําลังเขามาศึกษาความเปนไปไดในขณะนี้ กับการไดรับสัมปทานในอนาคต

21 สิงหาคม 2551 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน มีหนังสือตอบกลับจังหวัด


อุบลราชธานี (ที่ พน.0506/42005) ยืนยันวา มติครม.เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2551 ใหภาคเอกชนเปนผู
ศึกษาความเปนไปได(Feasibility) ซึ่งรวมถึงผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับ EIA ดวย ดังนั้น พพ. จึงไมได
เปนผูดําเนินการศึกษาตอในโครงการนี้

22 สิงหาคม 2551 นายเตช บุนนาค รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ตอบกระทูของนาย


ประสาร มฤคพิทักษ ส.ว.สรรหา ถามกระทูดวนตอนายกรัฐมนตรีเรือ่ งโครงการสรางฝายกั้นแมน้ําโขงที่
ชายแดนไทย-ลาว แทนนายกฯวา บริษทั อิตัลไทย และเอเชียคอรปโฮลดิ้ง ที่เขามาศึกษาความเปนไปได
นั้น รัฐบาลสปป.ลาวเปนผูเ สนอ เพราะเคยลงทุนในลาวหลายโครงการ และประสบความสําเร็จ จึงไดรับ
ความนาเชื่อถือ โดยไมมีเงื่อนไขผูกพัน ขณะนี้รัฐบาลไทยและลาวยังไมไดตัดสินใจวาจะสรางฝายบานกุม
หรือไม หากปรากฏวาโครงการเปนไปได รัฐบาลทั้งสองประเทศจึงจะตัดสินใจ วาจะพัฒนาโครงการ
หรือไม และรูปแบบใดตามกฎหมายรัฐธรรมนูญทุกประการ
ที่มา: มติชนรายวัน 23 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ปที่ 31 ฉบับที่ 11123
ผูวาราชการจังหวัดอุบลราชธานี ไดมีจดหมายตอบกลับไปยังบริษัท อิตาเลียนไทยฯ ลงวันที่ 22
สิงหาคม 2551 มีสาระสําคัญคือ
“...เนื่องจากทางจังหวัดยังไมไดรับแจงการดําเนินการตามโครงการดังกลาว จากหนวยงานของ
ทางราชการ จึงไมสามารถพิจารณาไดวา บริษัท อิตาเลียนไทยฯ คือ ภาคเอกชน ที่ไดรับมอบหมายให
ศึกษาความเปนไปได ตาม มติ ครม. 11 มีนาคม 2551 ดังนั้นเพื่อไมไหเกิดความสับสนของประชาชนใน
พื้นที่ จึงขอความรวมมือบริษัท อิตาเลียนไทยฯ ชะลอการสํารวจดานธรณีวิทยาออกไปกอน จนกวา
จังหวัดจะไดรับแจงจากหนวยงานที่รับผิดชอบตอไป...”

24 สิงหาคม 2551 นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี กลาวในรายการสนทนาประสาสมัคร ในเรื่อง


เขื่อนบานกุมสรุปสาระสําคัญคือ
“เราจะทํา ตกลงกันแลวนะ ลาวกับไทยตกลงจะทําเหมือนฝายกลางแมน้ํา ถาจีนทําได เราก็ทําได ยกขึ้น
มา 18 เมตร นั่นแสดงวาแถวนั้นฝงสูง ขึ้นมาแลว จะยกน้ําขึ้นมาจากที่เคยเปน 18 เมตร แลวถอยหลังลง

16
ไป 110 เมตร นี่เทากับแมน้ําโขงจะเก็บน้ําไว แลวเราอยางไร เราก็ปลอยเลย ปลอยเปนทอ จํานวน 10
กวาทอ ลงไปก็ทําไฟ น้ําแมน้ําโขงก็จะลงไปเหมือนเคย แลวน้ําที่จะเก็บอยู จะไดเขามาใชบานเรา คิดแลว
ครับ ทําแลว ตกลงไหม ตกลงกันแลวครับ 2 ประเทศ เซ็น MOU กันเรียบรอยแลว เทานั้นครับ ตกลงกัน
เรียบรอยแลวทั้ง 2 ฝาย ก็จะดําเนินการ ถาสําเร็จเรียบรอย ก็จะลองทํา ไมเรียก Dam เรียกวาเปนเหมือน
ลีวี่ (levee) เหมือนกับการกั้นน้ําไว”

5. วิถีชิวิตชุมชนริมฝงโขง (เกษตรกรรม และประมง)

5.1 วิถีชีวติ ชุมชนริมแมนา้ํ โขง บริเวณอางเก็บน้ําเหนือเขื่อนบานกุม 18


ชาวบานในชุมชนริมแมน้ําโขงบริเวณที่อยูในเขตเก็บกักน้ําในโครงการเขื่อนบานกุม สวนใหญ
ดํารงชีวิตดวยการทําประมง และทําการเกษตรริมน้ําโขง ชาวบานไดสั่งสมความรูทั้งที่มีตอระบบนิเวศน
แมน้ําโขง วิธกี ารทําการประมงและการเกษตรริมฝงแมน้ําโขง โดยสรุปไดแก
5.1.1 ความรูข องชุมชนตอระบบนิเวศแมน้ําโขง ชาวบานไดจําแนกระบบนิเวศนแมน้ําโขง
ออกเปน 20 ระบบยอย ไดแก บุง, โบก, แกง, แกง, กอง, เวิน, หู, ตาดหิน, หาด, ดอน, ถ้ํา, ผา, คัน, คอน
, คอนหิน, หินขัน, พุง, ซง. โมย และหวย ระบบนิเวศนยอยทั้งหมดนี้ ลวนเกี่ยวของกับวัฏจักรวงจรชีวติ
ของปลาและสัตวน้ําอื่นๆ ไดแก
 แหลงวางไข และอนุบาลลูกออน ไดแก บุง, หาด, แกง, หวย, ถ้ํา, เวิน, แกง, คอน
 แหลงอาหาร ไดแก บุง, เวิน, กอง, ซง, หวย, พุง, แกง, โบก, เวิน, ตาดหิน
 แหลงที่อยูอาศัย/ที่พัก, ที่หลบซอนศัตรู/หลบน้ําเชี่ยว ไดแก แกง, แกง, เวิน, หวย, พุง, กอง, หู,
บุง
 ปลายังอาศัยอยูบริเวณน้ําลึก (วังปลา) ในแมน้ําโขงหรือตามโขดหิน
5.1.2 ความรูด านการประมง การรวบรวมความรูดานการประมง พบวาชาวบานระบุชื่อชนิดปลา
ที่รูจัก และมีความรูเกี่ยวกับถิ่นที่อยูอาศัย, การวางไข, ชนิดและแหลงอาหาร, ฤดูกาลวางไข และชวงเวลา
การอพยพ โดยชาวบานจอมปลวกสูงรูจกั ชนิดปลาสูงสุด 99 ชนิด รองลงมาคือ บานนาทรายและบาน
สําโรง จํานวน 75 และ 74 ชนิด นอกจากนี้ผลการสํารวจขอมูลเบื้องตนของนักศึกษามหาวิทยาลัย
อุบลราชธานี 19 พบวา ชาวบานรูจักและจับปลาไดไมนอยกวา 110-150 ชนิด
จากขอมูลบัญชีการซื้อขายปลาของกองทุนปลาบานผาชันพบวา เดือนที่สามารถจับปลาไดมากที่
ในรอบป อยูในชวงตั้งแตเดือนตุลาคมไปจนถึงปลายฤดูแลง ราวเดือนตุลาคม-พฤษภาคม เปนชวงที่

18
เรียบเรียงจากขอมูลที่รวบรวมขึ้นโดยชาวบานจาก 6 หมูบาน ไดแก บานผาชัน, บานปากหวยมวง, บานนาทราย, บานปากกะหลาง, บาน
สําโรง และบานจอมปลวกสูง อําเภอโพธิ์ชัย จังหวัดอุบลราชธานี ภายใตการสนับสนุนจากโครงการฟนฟูความหลากหลายทางชีวภาพของ
ระบบนิเวศนพื้นที่ชายฝงแมน้ําโขง มูลนิธิพิทักษธรรมชาติเพื่อชีวิต, 2551
19
การสํารวจเบื้องตน “วาดวยการเกษตรริมโขงและการทําประมง บานปากกะหลาง และบานสองคอน อําเภอโพธิ์ชัย จังหวัดอุบลราชธานี,
คณะนักศึกษาสาขาการพัฒนาสังคม (ชั้นปที่ 3) คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (กรกฎาคม-สิงหาคม 2551)

17
ชาวบานสามารถจับปลาไดมากที่สุด โดยเฉพาะปลาเศรษฐกิจในกลุม ปลาหนัง สวนกลุมปลาเกล็ดสามารถ
จับไดมากในชวงฤดูแลงถึงตนฤดูฝนราวเดือนมีนาคม – พฤษภาคม
เครื่องมือจับปลา ที่ชาวบานใชใน 6 หมูบานมีมากถึง 25 ชนิด ไดแก มองไหล มองปู มองซํา
มองเชือก มองเพลิน เบ็ดเผียก เบ็ดซิด เบ็ดคัน เบ็ดซํา จั่น ซอนตัก ซอนลอง สวิง แยง ลอบกุง
ลอบปลา ตุมลาน ตุมปลากด แห ไซ อวน จิบ ฉมวก โตง สะดุง
บานจอมปลวกสูงมีจํานวนชนิดเครื่องมือมากที่สุด คือ 16 ชนิด เครื่องมือสวนใหญใชจับปลาตาม
ระบบนิเวศนยอยในแมน้ําโขง อาทิ มองไหล/มองซําใชบริเวณเวิน หนาผา, มองปูใชริมฝงแมน้ําโขง, เบ็ด
คันใชริมฝง เวิน หู กอง ตาด ชอนตักใชบริเวณหู, โตงใชในลําน้ําโขง เปนตน มีเพียงบางชนิดที่ใชตาม
หนองน้ํา เชน สวิง, แยง และบริเวณริมฝงหรือลําหวย เชน ลอบดักกุง, ตุมลาน, จิบ
5.1.3 การเกษตรริมฝงแมน้ําโขง พืชเศรษฐกิจที่ชาวบานนิยมปลูกขายไดแก ขาวโพด ถั่วลิสง
มันเทศ ฝาย และพืชทีป่ ลูกทั้งเพื่อขายและกิน เชน หอมแดง กระเทียม ผักกาด ผักชีลาว ถัว่ ฝกยาว โดย
การเพาะปลูกจะเริ่มขึ้นหลังน้ําโขงลดราวเดือนตุลาคม ในชวงเดือนแรกที่น้ําเริ่มลด ชาวบานจะปลูกพืชที่
ไมตองการน้ํามากไวบนที่สงู กอนพืชชนิดอื่น เชน ถั่วลิสง ขาวโพด สวนบริเวณทีน่ ้ําลดลงมาเรื่อยๆ นั้น
จะปลูกพืชทีต่ อ งการดินชุมน้ําและมีความอุดมสมบูรณของดิน (ดินตะกอน) มาก ไดแก หอมแดง
กระเทียม และพืชสวนครัวตางๆ
การเพาะปลูกพืชในแตละปอาจมีเนื้อที่และลักษณะแตกตางกันออกไป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับตะกอนทีถ่ กู
น้ําพัดพามา เชน บางปมีตะกอนนอย พื้นที่ริมตลิ่งจะมีแตหิน เพาะปลูกไดนอย แตถาปใดมีตะกอนมาก
ดินจะอุดมสมบูรณ สามารถทําการเกษตรไดผลดี การทําเกษตรริมตลิ่งแมน้ําโขงจึงไมตองใสปุย และไมใช
สารเคมี เพราะการปลูกพืชผสมผสานกันชวยลดความเสี่ยงเรื่องแมลง 20
5.2 มูลคาทางเศรษฐกิจของการประมงและการเกษตรริมฝงโขง
ขอมูลจากชาวบานบางรายในบานปากกะหลาง, ปากหวยมวง และผาชัน มีรายไดจากการทํา
ประมงโดยประมาณอยูระหวาง 25,000-50,000 บาทตอป โดยปลาหนังเปนปลาเศรษฐกิจซึ่งมีราคารับซื้อ
สูงกวา ระหวาง 100-170 บาท/กิโลกรัม ขณะที่ปลาเกล็ดราคาอยูระหวาง 40-100 บาท/กิโลกรัม ทั้งนี้
ขึ้นกับขนาดและชนิดของปลา
มูลคาการซื้อปลาเฉพาะจากกองทุนปลาบานผาชันเพียงแหงเดียว 21 พบวา ในป 2550 มีมูลคา
รวมตลอดทั้งปอยูที่ 398,000 บาท ซึ่งในบานผาชันยังมีการรับซื้อปลาในลักษณะเดียวกับบานผาชันอีก 4
ราน และในหมูบานตามแนวริมน้ําโขงอื่นๆ ก็ลวนมีรานรับซื้อปลาจากชาวบานอยางนอย 1 รานในทุก
หมูบาน เมื่อคํานวณโดยประมาณการวาตลอดริมน้ําโขงในพื้นที่อางเก็บน้ําของเขื่อนบานกุม ซึ่งมี
ประมาณ 30 หมูบาน มูลคาซื้อขายปลาเพียงปเดียวจะสูงถึง 12 ลานบาท มูลคาดังกลาวนี้ ไมนับรวมปลา
ที่ชาวบานนํามาเปนอาหารในแตละวัน รวมถึงการนํามาทําเปนปลาราไวกินและขาย

20
รายงานการสํารวจเบื้องตน “วาดวยการเกษตรริมโขงและการทําประมง บานปากกะหลาง และบานสองคอน อําเภอโพธิ์ชยั จังหวัด
อุบลราชธานี, คณะนักศึกษาสาขาการพัฒนาสังคม (ชั้นปที่ 3) คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (กรกฎาคม-สิงหาคม 2551)
21
การวิเคราะหจากบัญชีซื้อขายปลา บานผาชัน โดย โครงการฟนฟูนิเวศวิทยาในอินโดจีนและพมา (TERRA)

18
มูลคาการซื้อ ปลาของกองทุนปลาบานผาชันป 2550
บาท 58,876
60,000
48,912 46,991
50,000 41,151 43,254
37,288 33,349
40,000 31,813
30,000 19,880 21,484
20,000 9,711
10,000 5,476

-
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

ปริมาณซื้อ ปลาของกองทุนปลาบานผาชันป 2550


กิโลกรัม
700 619.5
569.6 570.9
600 546.4
490.7 468
500
369.9 394.7
400
296.3
300 243.4
200 142.1
59.1
100
0
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

สําหรับน้ําหนักปลาที่มีการซื้อขายรวมทัง้ ปในป 2550 เทากับ 4,879 กิโลกรัม และชวงที่มีการซือ้


ขายปลามาก ซึ่งเปนชวงทีช่ าวบานจับปลาไดมาก แบงเปน 2 ชวง คือ เดือนตุลาคม-มกราคม และเดือน
มีนาคม-พฤษภาคม อยางไรก็ตาม จากกราฟจะเห็นไดวาชาวบานไดจับปลาขายไดเกือบตลอดทั้งป
การปลูกพืชผักริมฝงแมน้ําโขง จะสรางรายไดโดยประมาณระหวาง 25,000-85,000 บาทตอป
และชาวบานยังมีรายไดจากการขุดแมลงขาย เชน จิ้งหรีด, จิ้งกุง มีรายไดระหวาง 1,000-10,000 บาทตอ
ป
กลาวไดวาแหลงรายไดจากการหาปลา, การทําเกษตรริมโขง และจากทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ
คือแหลงรายไดหลัก ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศนแมนา้ํ โขง จะนําไปสูการสูญเสีย
ฐานเศรษฐกิจหลักของชุมชนริมฝงแมน้ําโขงมากมายมหาศาล หากรัฐบาลกอสรางเขื่อนบานกุมกั้นแมน้ํา
โขง

19
ภาพ สวนมันเทศ บนหาดทรายแมน้ําโขง ในฤดูแลง ที่บานสองคอน อ.โพธิ์ไทร จ.อุบลราชธานี

ภาพการทําประมงของชาวบานผาชัน อ.โพธิ์ไทร จ.อุบลราชธานี

-------------------------------------------------

20

You might also like