ระบบนิเวศป่าชายเลน

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 4

ระบบนิ เวศป่ าชายเลน

ระบบนิ เวศวิทยาที่เกิดขึ้นในป่ าชายเลนนั้ น


เป็ นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ท่ีมีต่อกัน
ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม พืชพรรณธรรมชาติ
ชนิ ดต่าง ๆ เมื่อได้รบ
ั แสงจากดวงอาทิตย์ เพื่อใช้ใน
การสังเคราะห์แสงจะทำาให้เกิดอินทรียวัตถุและการ
เจริญเติบโต กลายเป็ นผ้้ผลิต (producers) ของระบบ
ส่วนต่าง ๆ ของต้นไม้ นอกเหนื อจากมนุ ษย์นำาไปใช้
ประโยชน์จะร่วงหล่นทับถมในนำ้าและในดิน ในที่สุดก็
จะกลายเป็ นแร่ธาตุของพวกจุลชีวัน เช่น แบคทีเรีย
เชื้ อรา แพลงก์ตอน ตลอดจนสัตว์เล็ก ๆ หน้าดินที่
เรียกกลุ่มนี้ ว่า ผ้บ
้ ริโภคของระบบ (detritus
consumers) พวกจุลชีวันเหล่านี้ จะเจริญเติบโตกลาย
เป็ นแหล่งอาหารของสัตว์น้ ำาเล็ก ๆ อื่น ๆ และสัตว์
เล็ก ๆ เหล่านี้ จะเจริญเติบโตเป็ นอาหารของพวกกุ้ง
ป้ และปลาขนาดใหญ่ข้ ึนตามลำาดับของอาหาร
(tropic levels) นอกจากนี้ ใบไม้ท่ีตกหล่นโคนต้น
อาจเป็ นอาหารโดยตรงของสัตว์น้ ำา (litter feeding)
ก็ได้ ซึ่งทั้งหมดจะเกิดเป็ นห่วงโซ่อาหารขึ้น ในระบบ
นิ เวศป่ าชายเลน และโดยธรรมชาติแล้วจะมีความ
สมดุลในตัวของมันเอง แต่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิด
ขึ้นในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ งก็จะเป็ นผลทำาให้ระบบ
ความสัมพันธ์น้ ี ถ้กทำาลายลง จนเกิดเป็ นผลเสียขึ้นได้
เช่น ถ้าหากพื้ นที่ป่าชายเลนถ้กบุกรุกทำาลาย จำานวน
สัตว์น้ ำาก็จะลดลงตามไปด้วยตลอดจนอาจเกิดการเน่า
เสียของนำ้าตามมา

พบว่า ป้ทะเล (scylla serrata) จัดเป็ นสัตว์


นำ้าเศรษฐกิจที่มีความสำาคัญในบริเวณป่ าเลนจังหวัด
ระนอง เพราะการจับป้ทะเลเป็ นอาชีพที่สามารถทำา
รายได้ดีแก่ชาวประมงพื้ นบ้าน จำานวน 70 คน ใน 4
หม่้บ้านที่อาศัยอย่้บริเวณป่ าชายเลน โดยสามารถจับ
ขายได้ละประมาณ 109 ตัน ซึ่งในจำานวนนี้ พบว่าร้อย
ละ 46 หรือประมาณ 50 ตัน เป็ นป้ทะเลที่มีขนาด
เล็กกว่า 10 ซม. ในขณะที่ประมาณร้อยละ 42 จะมี
ขนาดใหญ่กว่า 10 ซม. โดยไม่ร่วมป้ตัวเมียที่มีไข่
ส่วนป้ทะเลตัวเมียที่มีไข่ ขนาด 10 - 11.5 ซม. จับ
ได้ประมาณ
ร้อยละ 12

ทางด้านสิ่งแวดล้อมป่ าชายเลน มีความ


สำาคัญในด้านการอนุ รก
ั ษ์พื้นที่ชายฝั ่ งทะเลโดยเฉพาะ
ช่วยลดภาระนำ้าเสียและยังช่วยทำาให้เกิดการงอกของ
แผ่นดินขยายออกไปส่้ทะเลอีกด้วย ความสำาคัญของ
ป่ าชายเลนด้านการอนุ รก
ั ษ์พื้นที่ชายฝั ่ งทะเลนั้ น
ไพโรจน์ (2534) สรุปไว้ดังนี้

ก) ป่ าชายเลนเป็ นฉากกำาบังภัยธรรมชาติ
เพื่อป้ องกันลมพายุมรสุมต่อการ
พังทลายของดินที่อย่้บริเวณชายฝั ่ งทะเล
ข) ป่ าชายเลนช่วยป้ องกันสิ่งแวดล้อมเป็ น
พิษ รากของต้นไม้ในป่ าชายเลนที่งอกออกมาเหนื อ
พื้ นดิน จะทำาหน้าที่คล้ายตะแกรงธรรมชาติ คอยกลัน

กรองสิ่งปฏิก้ลต่าง ๆ ที่มากับกระแสนำ้า ทำาให้น้ ำาใน
แม่น้ ำา ลำาคลอง และชายฝั ่ งทะเลสะอาดขึ้น

ค) ป่ าชายเลนช่วยทำาให้พนดิ ื้ นบริเวณ
ชายฝั ่ งทะเลงอกขยายออกไปในทะเล รากของต้นไม้
ในป่ าชายเลน นอกจากจะช่วยป้ องกันสิ่งแวดล้อม
เป็ นพิษแล้ว ยังช่วยทำาให้ตะกอนที่แขวนลอยมากับ
นำ้าทับถมเกิดเป็ นแผ่นดินงอกใหม่ เมื่อระยะเวลา
นาน ก็จะขยายออกไปในทะเลเกิดเป็ นหาดเลน อัน
เหมาะสมแก่การเกิดของพันธ์ไุ ม้ป่าชายเลน จากการ
สำารวจของกรมป่ าไม้ในปี 2528 พบว่ามีหาดเลนงอก
ใหม่ประมาณ 62,906 ไร่ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช
เพชรบุรแ
ี ละจังหวัดอื่น ๆ

You might also like