Download as pdf
Download as pdf
You are on page 1of 4

Techno logy

Management
คุณวิบุญ ตั้งวโรดมนุกูล
PhD Candidate, School of Mechanical and Manufacturing Engineering,

Micromachining
The University of New South Wales, Australia
e-mail: viboon@student.unsw.edu.au

Technologies
ตอนที่ 1
ในกระบวนการผลิตแห่งศตวรรษที่ 21
ในกระบวนการตัดวัสดุ เป้าหมายหลักไม่ใช่เพียงแค่ตอ้ งการให้เนือ้ วัสดุหลุดออกจากกัน
ด้วยแรงทางกลหรือทางความร้อน หากแต่ความแม่นยำและคุณภาพของรอยตัด ยังเป็น
ปัจจัยสำคัญที่จะช่วยเพิ่มสัดส่วนของคุณภาพงานต่อระยะเวลาที่ใช้ในการผลิตให้สูงขึ้น
ปัจจัยเหล่านีย้ งิ่ มีความสำคัญมากขึน้ โดยเฉพาะการผลิตชิน้ ส่วนขนาดเล็กทีร่ อยตัดขนาด
เท่าเส้นผมอาจดูวา่ ใหญ่เกินไป

กระบวนการตัดวัสดุแบบดั้งเดิมที่เราคุ้นเคย เช่น
การกลึง เจาะ กัด ไส ด้วยเครื่องมือกลต่าง ๆ นั้น ถือได้ว่า
เป็นกระบวนการที่ใช้กันมาหลายร้อยปี หากจะว่าไป ก็มีมา
แต่ยุคหินที่มนุษย์เราสร้างเครื่องมือล่าสัตว์ด้วยหิน เครื่องมือ
กลเหล่านี้ถูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในช่วงที่เกิด

June-July 2010, Vol.37 No.211 079 <<<


Techno Production
logy

สงครามครั้งใหญ่ อาวุธ รถถัง ปืนใหญ่ ต่าง เทคโนโลยีในแต่ละช่วงเวลา และในศต-


ถูกผลิตออกมาให้ทันใช้งาน จึงเกิดการวิจัย วรรษที่ 21 นี้ แนวคิดของการพัฒนาซึ่งเน้น
และพั ฒ นาทั้ ง ในด้ า นของเทคโนโลยี วิ ศ ว- ที่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ควบคู่ไปกับเทค-
กรรม และการแปรรูปวัสดุ เพื่อให้เกิดความเร็ว โนโลยีที่ถูกพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว สิ่งของ
และความแม่นยำในการผลิตเพิ่มขึ้น สอด- เครื่องมือ เครื่องใช้ต่าง ๆ หากไม่ทำให้เล็ก
คล้องกับปริมาณและคุณภาพที่ต้องการ ลงก็ทำให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อ
ในปัจจุบันนี้ กระบวนการตัดเฉือน ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่เพิ่ม
ด้วยเครื่องมือกลทั่ว ๆ ไป ในสเกลขนาดใหญ่ ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ดั ง นั้ น การผลิ ต ระดั บ
หรือเรียกว่า Macro-Machining อาจกล่าวได้ ไมครอนและที่ต่ำกว่าไมครอน คือ กระบวน-
ว่า เดินมาถึงจุดอิ่มตัว คือ อัตราการกัดเนื้อ การผลิตที่ไม่อาจปฏิเสธได้อีกต่อไปสำหรับ
วัสดุอาจไม่สามารถพัฒนาให้มีความเร็วมาก อุตสาหกรรมในศตวรรษที่ 21
ไปกว่านี้ และ/หรือ คุณภาพผิวชิ้นงานอาจไม่ เนื่องจากรายละเอียดที่น่าสนใจ และ
สามารถทำให้้เรียบมากไปกว่านี้อย่างมีนัย- ความหลากหลายของเทคโนโลยีการตัดวัสดุ
สำคัญ แต่จะไปให้ความสำคัญกับความง่าย ในระดับไมครอนมีค่อนข้างมาก บทความใน
ในการผลิ ต และลดเวลาในส่ ว นอื่ น ๆ ของ ชุดนี้จะขอนำเสนอเป็นตอน ๆ โดยจะเน้นที่
กระบวนการผลิตแทน เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ หลักการเบื้องต้นและแนวทางในการประยุกต์
เข้ามาร่วมในการผลิตในลักษณะ CIM หรือ ใช้กระบวนการตัดวัสดุในระดับไมครอนด้วย
Computer Integrated Manufacturing ซึ่ง กรรมวิ ธี ต่ า ง ๆ เช่ น กระบวนการตั ด ด้ ว ย
รวมถึงการตรวจสอบสภาพของเครื่องมือตัด เครื่ อ งมื อ กล กระบวนการตั ด ด้ ว ยไฟฟ้ า
แบบ Real Time ให้สอดคล้องกับแนวคิดของ กระบวนการตัดด้วยเลเซอร์ และการใช้น้ำ
การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน แรงดันสูงผสมผงกัดกร่อน (abrasive water-
นอกจากนี้ ก ารพั ฒ นาเครื่ อ งจั ก ร jet micro machining) เป็นต้น สำหรับกระ-
หลายแกน (multi-axis machine) ยังช่วยลด บวนการเจียระไนและการขัดเงา (grinding/
และกำจั ด เวลาสู ญ เปล่ า จากการเปลี่ ย น lapping/polishing processes) รวมไปถึง
ตำแหน่งยึดจับชิ้นงานได้เป็นอย่างมาก การ การขัดด้วยกรรมวิธีทางเคมีและทางกล หรือ
พั ฒ นาในด้ า นวั ส ดุ ส ำหรั บ เครื่ อ งมื อ ตั ด Chemical Mechanical Polishing (CMP) ซึ่ง
เทคโนโลยีในการเคลือบผิว และการออกแบบ ถือว่าเป็นกระบวนการเตรียมผิวงานขั้นสุด-
รูปร่างของเครื่องมือตัดที่เหมาะสม ก็สามารถ ท้ายที่นิยมในอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนที่
ช่วยให้ประสิทธิภาพการตัดและอายุการใช้ ต้องการความเที่ยงตรงและคุณภาพผิวงานที่
งานของเครื่ อ งมื อ ตั ด เพิ่ ม ขึ้ น ได้ อี ก ทางหนึ่ ง สู ง กว่ า ปกติ รายละเอี ย ดของกระบวนการ
หากแต่การเอาเนื้อวัสดุงานออกในปริมาณที่ เหล่านี้จะขอกล่าวในโอกาสถัดไป เนื่องจากมี
น้อยมาก ๆ สำหรับการขึ้นรูปชิ้นส่วนขนาด ประเด็นที่น่าสนใจอยู่ไม่น้อยทั้งส่วนของหลัก
เล็กที่ต้องการความเที่ยงตรงในการตัดวัสดุใน การ ความซับซ้อนของกระบวนการและการ
ระดับที่สูง เป็นข้อจำกัดที่กระบวนการแบบ ประยุกต์ใช้ที่มีความหลากหลายค่อนข้างมาก
Macro-Machining ไม่สามารถข้ามผ่านไปได้ สำหรั บ บทความในตอนที่ 1 นี้ จะขอนำ
การตั ด วั ส ดุ ที่ อ ยู่ ใ นระดั บ สเกลที่ เสนอกระบวนการตัดวัสดุระดับไมครอนด้วย
เล็กลง คือ อยู่ในระดับไมครอน (เล็กกว่า เครื่องมือกลขนาดเล็กเป็นอันดับแรก
0.1 mm) ไปจนถึงระดับนาโนนั้น (micro/ กระบวนการตัดวัสดุแบบดั้งเดิมที่ใช้
nano-machining) เริ่มมีการศึกษากันอย่าง เครื่องมือกลในการเฉือนเนื้อวัสดุออกยังคง
เป็นระบบและขยายวงกว้างมากขึ้นในช่วง เป็ น กระบวนการหลั ก ที่ นิ ย มใช้ ใ นวงกว้ า ง
ปลายปี พ.ศ.2513 โดยความสำคั ญ ของ เนื่องจากค่าใช้จ่ายในส่วนของเครื่องมือ การ
เทคโนโลยี ก ารตั ด วั ส ดุ ที่ ร ะดั บ ไมครอนนี้ ใช้งาน และการบำรุงรักษา อยู่ในระดับที่ต่ำ
สะท้อนออกมาอย่างชัดเจนมากขึ้นเรื่อย ๆ กว่ากระบวนการตัดวัสดุระดับไมครอนแบบ
ผ่านสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา ซึ่งมีขนาดที่ อื่น ๆ หลักการของการตัดวัสดุนั้นจะพิจารณา
เล็กลง แต่ความซับซ้อนกลับมีมากขึ้น เช่น เช่นเดียวกับการตัดวัสดุในระดับสเกลใหญ่
คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ จอพลาสมา ทั่วไป คือ เมื่อคมตัดวิ่งเข้าเฉือนเนื้องานออก
Solar Cells อุปกรณ์ทางการแพทย์ นาฬิกา ความเค้น แรงเสียดทาน และความร้อนที่เกิด
ข้ อ มื อ หุ่ น ยนต์ ไปจนถึ ง ของเล่ น เด็ ก ขึ้นที่หน้าสัมผัสมีปริมาณที่มาก เว้นเสียแต่ว่า
สิ่งของเหล่านี้ถูกผลิตและพัฒนาขึ้นตาม การเปลี่ ย นรู ป ทางกลของวั ส ดุ จ ะเกิ ด ขึ้ น ที่

>>> 080 June-July 2010, Vol.37 No.211


Production Techno
logy

เครื่ อ งมื อ ตั ด มากกว่ า ที่ ชิ้ น งาน ที่ เ ป็ น เช่ น นี้ เสมอกว่าระบบลม โดยเฉพาะที่ความเร็วรอบ
เพราะเครื่องมือตัดที่ใช้มีขนาดเล็กมาก เพื่อ สูง ๆ เช่นเดียวกับกระบวนการตัดวัสดุด้วย
จุดประสงค์ในการตัดหรือกัดเนื้อวัสดุออกใน เครื่องมือกลทั่วไป แม้ว่าการใช้ความเร็วใน
ปริมาณที่น้อยมาก การตัดวัสดุที่กินเนื้องาน การตัดที่สูงจะทำให้งานเสร็จเร็วขึ้น แต่อัตรา
มากเกินไป สำหรับเครื่องมือตัดขนาดเล็กซึ่งมี การสึ ก หรอของเครื่ อ งมื อ ตั ด ก็ สู ง ขึ้ น ตามไป
ขนาดเส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลางไม่ กี่ มิ ล ลิ เ มตรไป ด้วย นี่เป็นข้อเสียจุดหนึ่งของกระบวนการตัด
จนถึงประมาณ 0.1 มิลลิเมตร หรือเล็กกว่า มี แบบที่ใช้เครื่องมือตัดสัมผัสกับชิ้นงานโดยตรง
ผลทำให้เครื่องมือตัดเกิดการเปลี่ยนรูป เช่น หรือ Contact Machining
บิด หรือ งอ ในระหว่างการตัดวัสดุ และอาจ
ถึงกับแตกหักในที่สุด ดังนั้นอัตราการกัดเนื้อ

วัสดุออกจึงน้อยมากเมื่อเทียบกับกระบวนการ
ในสเกลขนาดใหญ่ทั่วไป
ในการที่จะเพิ่มความเร็วในการกัด
เนื้อวัสดุออกนั้น ความเร็วรอบของการหมุน
เครื่องมือตัด หรือความเร็วรอบของหัว Spindle
นั้น จะต้องเร็วมากกว่าปกติเพื่อให้สอดคล้อง
กับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเครื่องมือตัด
และอัตราป้อนที่ใช้ โดยเครื่องมือตัดที่ใช้ยิ่ง
เล็กลงมาก ความเร็วในการหมุนต้องเพิ่มมาก
ขึ้ น ตามสั ด ส่ ว นที่ เ หมาะสม ในปั จ จุ บั น หั ว
Spindle นั้น มีทั้งแบบที่ใช้ไฟฟ้า (electric-
driven motor) และใช้แรงดันลม (air-driven
turbine) ความเร็วปกติสำหรับกระบวนการตัด
งานในระดับไมครอน หรือ Micromachining
นั้นจะอยู่ที่ 40,000 ถึง 160,000 รอบต่อนาที
สำหรับหัว Spindle ความเร็วสูงบางชนิดอาจ
หมุนด้วยความเร็วสูงกว่า 350,000 รอบต่อ
นาที โดยหลักการของหัว Spindle ที่ขับด้วย ▲ รูปที่ 1 หัว Spindle ความเร็วรอบสูง สำหรับงาน Micromachining
แรงดันลมนั้น จะใช้แรงดันลมเป่าใบพัดที่อยู่ ่ยงตรงสูงในระดับที่น้อยกว่า 1 ไมครอน (NSK America Corp.)
ที่ให้ความเที
ภายในเพื่อหมุนเครื่องมือตัดด้วยความเร็วสูง
ข้อดี คือ การใช้ระบบขับเคลื่อนด้วยลมนี้ จะ
ป้องกันฝุ่นและเศษวัสดุงานเข้ามาติดในชุด
Bearings โดยแรงดั น ลมที่ ใ ช้ ใ นการขั บ หั ว
spindle อยู่ที่ราว 80 ถึง 90 psi และหากใช้
แรงดันลมที่สูงมากขึ้น จะช่วยเพิ่มความเร็วใน
การหมุนของหัว Spindle ให้มากขึ้นตามไป
ด้ ว ย สำหรั บ หั ว Spindle ที่ ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ย
มอเตอร์นั้น จะใช้มอเตอร์ไฟฟ้าขับแกนหมุน
แทนที่จะใช้ใบพัดเช่นเดียวกับแบบที่ใช้แรง
ดันลม แต่เนื่องจากการขับมอเตอร์ให้หมุน
ด้วยความเร็วรอบที่สูงนั้น จะเกิดความร้อนขึ้น ▲ รูปที่ 2 เครื่องมือตัดสำหรับงาน Micromachining (http://www.metamasa.com/)
มาก การใช้หัว Spindle แบบที่ใช้มอเตอร์
ไฟฟ้ า จึ ง ต้ อ งมี ร ะบบระบายความร้ อ นที่

เหมาะสม เนื่องจากความร้อนที่เกิดขึ้นนั้นมี ในการทดสอบความเที่ยงตรงของหัว
มากพอที่จะแพร่ไปยังเครื่องมือตัดทำให้เกิด Spindle นั้น จะเป็นไปตามมาตรฐาน ISO
การขยายตัว และนำไปสู่ความคลาดเคลื่อน 230-3 ISO 230-7 และ ANSI/ASME B89.3.4,
ในกระบวนการตัดได้ B5.54 และ B5.57 โดยการทดสอบจะวัดการ
อย่างไรก็ตาม การเลือกใช้หัว spindle ส่ายของการหมุนทั้งในแนวแกน X Y และ Z ที่
แบบที่ใช้ไฟฟ้า จะให้แรงบิดที่ค่อนข้างสม่ำ- ความเร็วรอบที่ใช้งาน ในมุมของวัสดุงานนั้น

June-July 2010, Vol.37 No.211 081 <<<


Techno Production
logy

▲ รูปที่ 3 การวัด Errors ของการหมุน Spindle ในแนวแกน X Y และ Z (Lion Precision)

การตัด กัด หรือ เจาะ ด้วยเครื่องมือกลขนาด บวนการตัดวัสดุที่ต่างไปจากแบบเดิม โดย


เล็กนั้น อาจมีค่าใช้จ่ายที่ถูก แต่ความเค้นที่ เปลี่ยนจาก Contact Machining มาเป็นแบบ
ตกค้างบนผิวชิ้นงาน และความร้อนที่เกิดขึ้น Non-Contact Machining ซึ่งกระบวนการตัด
ในระหว่างการตัด อาจส่งผลให้เกิดรอยแตก แบบไม่สัมผัสผิวชิ้นงานนั้น นอกจากจะช่วย
ขนาดเล็ ก ขึ้ น ที่ ผิ ว และภายใต้ ผิ ว งานได้ ซึ่ ง ลดข้ อ จำกั ด ของเครื่ อ งมื อ ตั ด ที่ ไ ม่ ส ามารถ
ความเสียหายเช่นนี้ถือว่า ไม่สามารถยอมรับ ทำให้มีขนาดเล็กมาก ในราคาที่เหมาะสมได้
ได้ในการผลิตชิ้นส่วนที่อาศัยคุณสมบัติและ แล้ว ยังช่วยลดผลที่ไม่สามารถควบคุมได้ใน
ความต่ อ เนื่ อ งของวั ส ดุ ง านเป็ น สำคั ญ เช่ น กระบวนการตัดแบบสัมผัสชิ้นงานได้อีกด้วย
อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เครื่ อ งมื อ ทางการ เช่น การสั่นสะเทือนในระหว่างการตัด ความ
แพทย์ และชิ้นส่วนขนาดเล็กที่ต้องการความ ไม่สม่ำเสมอของรอยตัด เนื่องจากการสึกหรอ
เที่ยงตรงและคุณภาพผิวงานที่สูง เพราะรอย ของคมตัด และการบิดตัว หรือการเปลี่ยนรูป
แตก หรือความไม่ต่อเนื่องในเนื้อวัสดุที่อาจดู ของเครื่องมือตัด ซึ่งกระบวนการแบบ Non-
ว่าเล็ก หรือมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า แต่นั่น Contact Machining หรื อ ที่ จั ด อยู่ ใ นกลุ่ ม
หมายถึง ความเสียหายขนาดใหญ่ของวัสดุ Non-Conventional Machining นั่น ถือเป็น
งานในระดับไมครอน ทางเลือกที่น่าสนใจในกระบวนการตัดวัสดุ
เนื่ อ งจากคุ ณ ภาพรอยตั ด ที่ ไ ด้ แ ละ ระดับไมครอน
รอยแตกเล็ก ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้กระ- ในฉบับต่อไปจะขอกล่าวถึง กระบวน-
บวนการตัดวัสดุแบบ Contact Machining การตัดด้วยไฟฟ้า โดย Electrical Discharge
รวมไปถึงการสึกหรอของคมตัดที่สูงมาก เมื่อ Machining หรื อ EDM ในงาน Microma-
ใช้ตัดวัสดุที่ยากแก่การตัด เช่น เซรามิก วัสดุ chining ซึ่ ง ถื อ เป็ น กระบวนการผลิ ต ที่ มี

ผสม หรือ เหล็กที่ผ่านการชุบแข็ง กระบวน- ความนิยมในอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ และงานที่


การตั ด ด้ ว ยเครื่ อ งมื อ กลที่ เ รี ย กได้ ว่ า เป็ น ต้องการความแม่นยำ และคุณภาพผิวชิ้นงาน
กระบวนการตัดวัสดุแบบดั้งเดิม (conven- ในระดับที่ค่อนข้างสูง
tional machining) นั้น ไม่สามารถให้คุณภาพ
รอยตั ด ภายในระยะเวลา และค่ า ใช้ จ่ า ยที่
เหมาะสมได้ จากข้อจำกัดนี้ จึงนำมาสู่กระ- อ่านต่อฉบับหน้า

>>> 082 June-July 2010, Vol.37 No.211

You might also like