Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 7

การทดลองที่ 4.

1.การล้าคืออะไร เกิดจากสาเหตุใดได้บ้าง

การล้า คือ การที่กล้ามเนื้ อไม่สามารถทนต่อแรงกระต้้นได้ จึงมี

ประสิทธิภาพในการหดตัวลดลง

การล้าของกล้ามเนื้ อ (fatique of muscle) เกิดจากสาเหต้

1. เกิดที่ neuromuscular junction มีสาเหต้มาจาก การสร้าง Ach

ไม่ทันเพียงพอกับการทำางาน

2.เกิดที่ muscle มีสาเหต้มาจากการเก็บสะสมของ ATP และ CP ลดลง

PH ลดลงเนื่ องจากการสะสมของ lactic acid Glycogen, lipid, amino

acid ถูกใช้หมดไประบบไหลเวียนไม่สามารถนำา O2 ,nutrient มา

supply ที่กล้ามเนื้ อได้ทันต่อการใช้งาน

ถึงแม้ว่าจะเกิด fatique แต่การออกกำาลังกายอย่างหนั กจะมีผล

ทำาให้สภาพทางเคมีเปลี่ยนไปกล้ามเนื้ อจึงต้องปรับสภาพให้เข้าสู่ resting

stage เหมือนเมื่อก่อนออกกำาลังกายโดยต้องมี O2 มาชดเชยส่วนที่ถูก

ใช้ไป Lactic acid ที่สะสมกลับเป็ น pyruvic acid มีการสะสม

glycogen มีการสร้าง ATP และ CP 5). ตับช่วยเปลี่ยน lactic acid ที่

สะสมในกล้ามเนื้ อให้เป็ น glycogen ซึ่งต้องใช้ O2 เป็ นจำานวนมาก ภาย

หลังออกกำาลัง ร่างกายจึงต้องหายใจเอา O2 เข้าไปในร่างกายอย่างมาก

เพื่อทดแทนส่วนที่ขาดในขณะเกิด anaerobic contraction เรียกปริมาณ

O2 จำานวนนี้ ว่า O2 debt


2.จงเปรียบเทียบระยะเวลาที่ทำาให้เกิดการล้าจากการกระตุ้นที่เส้น

ประสาทครั้งที่ 1 และ 2 ว่าแตกต่างกันหรือไม่ เพราะเหตุใด

แตกต่างกัน

เวลาที่ทำาให้เกิดการล้าของการกระต้้นที่เส้นประสาทครั้งที่ 1 ที่ได้จาก

การทดลองคือ 1 นาที 2 วินาที

เวลาที่ทำาให้เกิดการล้าของการกระต้้นที่เส้นประสาทครั้งที่ 2 ที่ได้จาก

การทดลองคือ 24.25 วินาที

เวลาที่เกิดจากการล้าทั้งสองครั้งแตกต่างกัน เนื่ องจากการล้าจาก

การกระต้้นครั้งที่ 1 เมื่อเกิดการล้าแล้วจะทำาให้การกระต้้นครั้งต่อๆไป

เกิดการล้าได้เร็วกว่าครั้งแรก เนื่ องจากกล้ามเนื้ อที่ถูกกระต้้นจะมีแรงตึง

ของกล้ามเนื้ อลดลงเรื่อยๆ คือไม่สามารถทนแรงกระต้้นได้ดีเท่าเดิม

เวลาที่ทำาให้เกิดการล้าที่วัดได้จึงลดลง

นส.ส้พิชญา วิฑูรย์พนาก้ล 5202220 และนายธนสาร พฤฒิสถาพร

3.ในการทดลองนี้ ตำาแหน่งของการล้าเกิดขึ้นที่ใด จากสาเหตุใด

ในการทดลองครั้งนี้ ตำาแหน่งของการเกิดการล้าเกิดขึ้นที่ Sciatic

nerve ซึ่งเกิดที่ Neuromuscular junction มีสาเหต้มาจากการสร้าง Ach

ไม่ทันกับการทำางาน
4.ถ้าในการทดลองนี้ ทำาการทดลองต่อ โดยการกระตุ้นอย่างต่อเนื่ อง

โดยตรงที่ Gastrocnemius Muscle การล้าจะเกิดขึ้นหรือไม่ ถ้าเกิดจะ

เกิดจากสาเหตุใด

เกิด เนื่ องจากการเก็บสะสมของ ATP และ CP ลดลง ทำาให้ PH

ลดลงเนื่ องจากการสะสมของ lactic acid และ Glycogen, lipid, amino

acid ถูกใช้หมดไป ระบบไหลเวียนไม่สามารถนำา O2 ,nutrient มา

supply ที่กล้ามเนื้ อได้ทัน

การทดลองที่ 4.6

1.Physiological Resting Length (Lo) คืออะไร

Physiological Resting Length (Lo) คือ ความยาวของกล้าม

เนื้ อที่เหมาะสมที่อยู่ในร่างกาย เป็ น

ความยาวที่ให้ action tension สูงส้ด ซึ่งจะมีความยาว sarcomere

เหมาะสม ทำาให้ think filament กับ thin filament จับกันได้ดี

2.จงอธิบายความหมายของ Active Passive และ Total Tension

Passive Tension คือ แรงตึงที่ได้จากการยิดของกล้ามเนื้ อ

Active Tension คือ การหดตัวของกล้ามเนื้ อที่ความยาวต่างๆ

เมื่อความยาวเพิ่มขึ้นอยู่ในช่วงที่ความยาวเหมาะสมยิ่งขึ้น กล้ามเนื้ อจะ


หดตัวได้ดีข้ ึน active tension จะสูงขึ้นจนถึง resting length กล้ามเนื้ อ

จะหดตัวได้ดีท่ีส้ด

Total Tension การรวมกันระหว่าง Passive Tension กับ Active

Tension

นส.ส้พิชญา วิฑูรย์พนาก้ล 5202220 และนายธนสาร พฤฒิสถาพร

3.เหตุใด Active Tension จึงมีค่าสูงสุดที่ Lo

ในขณะเกิด Active Tension จะเป็ นระยะที่ actin กับ myosin

อยู่ในระยะที่เหลื่อมกันพอดีโดย myosin เกาะกับ actin ได้ครบ 6


ตัวทำาให้กล้ามเนื้ อทำางานดีท่ีสุด หดตัวได้ดีท่ีสุด

4.จงอธิบายถึง Frank-Starling Law of the heart

Frank-Starling Law of the heart คือ ความสามารถของหัวใจใน

การเพิ่มแรงตึง (tension)ซึ่งวัดจากความดัน ขึ้นกับความยาว,ยืด โดย

ความยาวนี้ ขึ้นกับปริมาตรเลือดที่กลับเข้าสู่หัวใจในระยาเวลาการคลาย

ตัว (Diastolic volumn) โดยปกติหัวใจจะทำางานในช่วงขาขึ้นของ

Frank-Starling curve
การทดลองที่ 4.7

์ อง Curare
1.จงอธิบายกลไกการออกฤทธิข

Curare เป็ นสารที่ช่วยให้กล้ามเนื้ อเกิดการคลายตัว ซึ่งจะมี

โมเลก้ลคล้ายกับ Ach ที่เป็ นสารสื่อประสาทที่ปล่อยออกมาจาก

presynaptic neuron แล้วไปจับกับ nicotinic receptor ที่ motor end

plate ส่งผลให้ Na channel เปิ ดทำาให้เกิด Na influx เข้าสู่เซลล์ เกิด

depolarization เกิดเป็ น end plate potential และเกิด Action potential

ในที่ส้ด จากการที่ Curare มีค้ณสมบัติเป็ น antagonist ที่ nicotinic

receptor จะกั้น receptor ไม่ให้ ACh สามารถไปจับและออกฤทธิไ์ ด้

หรือทีเ่ รียกว่า competitive inhibition ผลที่เกิดขึ้นจากการใช้ยากล่้มนี้

คือ ACh ไม่สามารถกระต้้น motor endplate ได้ จึงเป็ นการขัดขวาง

กระบวนการหดตัวของกล้ามเนื้ อ ทำาให้แรงตึงตัว ลดลง กล้ามเนื้ อจึง

ไม่มีแรงและคลายหรือหย่อน มักให้ยากล่้มนี้ ในการผ่าตัด

์ อง Botulinum toxin และ


2.จงอธิบายกลไกการออกฤทธิข

Tetrodotoxin

Botulinum toxin ซึ่งเป็ นสารพิษที่สร้างโดยเชื้ อแบคทีเรีย

Clostridium botulinum ซึ่งเป็ นเชื้ อที่ทำาให้เกิดอาการอาหารเป็ นพิษ

หากปนเปื้ อนอยู่กับอาหารที่รบ
ั ประทานเข้าไป Botulinum toxin จะไป
์ ่ีบริเวณปลายประสาท โดยจะมีการขัดขวางไม่ให้ Ach
ออกฤทธิท

vesicle รวมกับ membrane ทำาให้ไม่เกิดการ

นส.สุพิชญา วิฑูรย์พนากุล 5202220

exocytosis ของ acetylcholine จากเส้นประสาทสู่กล้ามเนื้ อได้ ส่ง

ผลให้กล้ามเนื้ อในบริเวณดังกล่าว อ่อนตัวลงจนถึงเป็ นอัมพาต

Tetrodotoxin
เป็ นโรคจากอาหารเป็ นพิษอีกชนิ ดหนึ่ ง ซึ่งอาจก่อให้เกิดความ
ร้นแรงถึงกับชีวิตได้ โดยจะยับยั้งของประจ้โซเดียมที่ไหลเข้าเซลล์
(sodium channel blockade) ซึ่งเป็ นระยะ 0 (phase 0) ของขบวนการ
การเกิด depolization ของเซลล์ ทำาให้ไม่เกิดการ action potential ของ
เซลล์ จึงมีผลให้ขบวนการส่งต่อสัญญาณไฟฟ้ าของเซลล์ต่างๆสูญเสีย
ไป เซลล์ท่ีได้รบ
ั ผลกระทบจากสารพิษทั้ง 2 ชนิ ดมากคือ เซลล์กล้าม
เนื้ อและเซลล์ของระบบประสาท ทั้งประสาทสัง่ การ (motor nerve) และ
ประสาทรับความรู้สึก (sensory nerve) แต่เซลล์ส่งสัญญาณไฟฟ้ าใน
กล้ามเนื้ อหัวใจจะถูกกระทบต่อเมื่อมีสารพิษฯในขนาดที่สูงเท่านั้ น
ผลจากการยับยั้งสัญญาณไฟฟ้ านี้ ทำาให้มีอาการชา (paresthesia)
และอ่อนแรงของกล้ามเนื้ อทัว่
ร่างกาย ที่เป็ นอันตรายคือทำาให้กล้ามเนื้ อการหายใจอ่อนแรงเกิดภาวะ
หายใจล้มเหลวและเสียชีวิตได้
3.การอ่อนแรงของกล้ามเนื้ อในผู้ป่วย Myasthenia Gravis เกิดจาก

สาเหตุใด

Myasthenia gravis เป็ นโรคกล้ามเนื้ ออ่อนแรงชนิ ดหนึ่ ง การอ่อน

แรงของกล้ามเนื้ อเกิดจาก

1.ร่างกายสร้างสารแอนติบอดีท่ีต้านการทำางานของ acetylcholine

receptors ซึ่งอยู่ท่ีปลายประสาท ทำาให้สารสื่อประสาท acetylcholine ไม่

สามารถจับกับ receptor ได้ โดยจะพบว่า receptor ของผู้ป่วยจะน้อย

กว่าคนปกติถึงหนึ่ งในสาม ในขณะที่ Ach สามารถหลัง่ ออกมาได้ใน

ปริมาณปกติแต่ไม่สามารถทำางานได้เนื่ องจากโปรตีนตัวรับถูกทำาลายโดย

antibody ที่ร่างกายสร้างขึ้น จึงเกิดอาการกล้ามเนื้ ออ่อนแรงโดยทัว่ ไป

มักเกิดอาการกล้ามเนื้ ออ่อนแรงทัว่ ตัว โดยเริม


่ อ่อนแรงบริเวณกล้ามเนื้ อ

ใบหน้าก่อน ได้แก่ อาจมีหนั งตาตก (ptosis) ตามองเห็นภาพซ้อน

(diplopia) กลืนลำาบาก (dysphagia) พูดไม่ชัด (dysarthria) จากนั้ นจะ

เริม
่ มีกล้ามเนื้ อหายใจอ่อนแรงทำาให้หายใจลำาบาก หรือมีแขนขาอ่อน

แรงจนเดินไม่ได้ตามมา

2.ความผิดปกติของต่อมไธมัส อาจเกิดจากเนื้ องอกหรือเกิดจาก

ต่อมไธมัสโตผิดปกติ ทำาให้เกิดการสร้างแอนติบอดีต่อโปรตีนตัวรับ Ach

ในปริมาณสูงมาก และตรวจพบความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้ ากล้ามเนื้ อที่

ร้นแรง

นส.สุพิชญา วิฑูรย์พนากุล 5202220

You might also like