Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

กาหนดการ

“งานมหกรรมฟื้นฟูป่า ฟื้นฟูชุมชน ฟื้นฟูเครือข่ายป่าชุมชนรอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวัออก”


ระหว่างวันที่ 18 – 19 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 (2 วัน 1 คืน)
สถานที่ โรงเรียนบ้านร่มโพธิ์ทอง หมู่ที่ 7 ตาบลคลองตะเกรา อาเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา

วันที่ 18 ธ.ค. 53
13.30- 14.30 ประธานพิธีเปิดงาน โดย อธิบดีกรมป่าไม้
กล่าวรายงานโดย ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา และประธานเครือข่ายป่าชุมชนฯ
14.30 – 15.00 ปาฐกถาธรรม โดยพระครูประโชต ธรรมาภิรม (พระอาจารย์สาย)
15.00- 16.30 เสวนาเล่าเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงป่ารอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออกไปสู่วิถีชีวิตชุมชนที่
พอเพียงโดยสอดคล้องกับฐานทรัพยากรท้องถิ่น”
กระบวนการองค์กรชุมชนจัดการป่าสู่เครือข่ายป่าชุมชนฯ โดย กานันตระกูล สว่างอารมย์
การเปลี่ยนแปลงชุมชนสู่การจัดการป่ารอยต่อภาคตะวันออกอย่างยั่งยืน โดย ดร.สมศักดิ์
สุขวงศ์
การหนุนเสริมของภาคธุรกิจต่อการบริหารจัดการทรัพยากรป่ารอยต่อภาคตะวันออก
โดย สถาบันลูกโลกสีเขียว บริษัทปตท.จากัด (มหาชน) และบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากร
นาภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) / อิสท์วอเตอร์
การขับเคลื่อนฟื้นฟูคุ้มครองรทรัพยากรป่ารอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออกอย่างมีส่วน
ร่วม
โดย ท่านประลอง ดารงค์ไทย ผู้อานวยการสานักจัดการป่าชุมชน กรมป่าไม้
ดาเนินรายการโดย ดร. นิตยา กิจติเวชกุล
16.30 – 17.00 จัดทาบันทึกความร่วมมือระหว่างกรมป่าไม้ กับเครือข่ายป่าชุมชนฯ
17.00 – 17.30 บายศรีสู่ขวัญเครือข่ายป่าชุมชนรอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก และผู้เข้าร่วมงาน
18.00- 22.30 เวทีสานสัมพันธ์ร้อยเรียงตามประสาวิถีวัฒนธรรมคนรอบป่ารอยต่อฯ
 กล่าวต้อนรับ โดย นายสนั่น คูคา นายกอบต.คลองตะเกรา
 นาฎศิลป์ประยุกต์พลวงทอง โดย กลุ่มเยาวชนตาบลพลวงทอง
 ราภูไทคลองตะเกรา โดย เครือข่ายป่าชุมชนตาบลคลองตะเกรา
 ดนตรีสานสัมพันธ์คนรอบป่า โดย วงจ่าหรอยแฮรี่
วิทยากรประจาวันโดย ธวัช เกียรติเสรี และอาจารย์นิรันดร์ เรือนอินทร์

วันที่ 19 ธ.ค. 53
6.00 – 8.00 ทาบุญตักบาตรและถวายภัตรตาหารเช้าแด่พระสงฆ์ นาโดย นายอาเภอท่าตะเกียบ
กานันโสภณ บุญทวีสูงส่ง นายกอบต.คลองตะเกรา ผู้ใหญ่บ้านร่มโพธิ์ทอง เครือข่ายป่าชุมชนฯ
พร้อมทังผูเข้าร่วมงานมหกรรม

1
8.30 – 10.30 เวทีเสวนา “วิถีคนพอเพียงรอบป่ารอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก”
 เครือข่ายป่าชุมชนพลวงทอง โดย นายกิติศักดิ์ สุรกิจบวร
 เครือข่ายป่าชุมชนตาบลเขาน้อย โดย นายสุข ปวงสุก
 เครือข่ายป่าชุมชนตาบลคลองตะเกรา โดย นายสุวิน พ่วงแพ
 เครือข่ายป่าชุมชนตาบลท่ากระดาน โดย นายบุญเฮียง บุตรจันทา
 เครือข่ายป่าชุมชนตาบลท่าตะเกียบ โดย พงษ์พันธ์ พันธ์สาโรง
 เครือข่ายป่าชุมชนพืนที่เขาฉกรรจ์-โนนสาวเอ้ โดย นายบงกช บ่อกลาง
 เครือข่ายป่าชุมชนพวา-ขุนซ่อง โดย บุญเลิศ ดุชิตา
 เครือข่ายองค์กรชาวบ้านป่าตะวันออก โดย วินัย สุวรรณไตร
ดาเนินรายการโดย ดร.เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์
10.30 – 11.30 การขับเคลื่อน “ คนกับป่ารอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก สู่วิถีความพอเพียง”
 “การพึ่งตนเองบนฐานทรัพยากรท้องถิ่น” โดย นายสมพงษ์ ธนูศิลป์
 “การหนุนเสริมจากท้องถิ่นสู่องค์กรชุมชนจัดการป่า”
โดย นายสนั่น คูคา (นายกอบต.คลองตะเกรา)
 “ความร่วมมือสู่จากหลายฝ่ายสู่การจัดการฐานทรัพยากรป่าไม้ท้องถิ่นอย่างพอเพียง”
โดย นายบุญนา รัตนมณฑ์ หัวหน้าศูนย์ศึกษาและพัฒนาวนศาสตร์ชุมชนที่ 16 (สระแก้ว)
 “การขับเคลือนภาคประชาชน จัดการป่าบนฐานศักยภาพองค์กรชุมชน” โดย ผู้แทน
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน(มหาชน) พอช.
ดาเนินรายการโดย นายทนงศักดิ์ จันทร์ทอง
11.30 – 12.00 จัดตั้งกองทุนเครือข่ายป่าชุมชนรอยต่อฯ โดย เครือข่ายป่าชุมชนรอยต่อ 5 จังหวัดภาค
ตะวันออก
12.00 – 12.40 มอบของที่ระลึกแก่องค์กรร่วมจัดและองค์กรสนับสนุนจัดงาน และกล่าวปิดงานมหกรรม

โดย นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทรา

วิทยากรประจาวันโดย อาจารย์นิรันดร์ เรือนอินทร์ และศักดิ์ชัย ชาตาด ี

2
โครงการ
“งานมหกรรมฟื้นฟูป่า ฟื้นฟูชุมชน ฟื้นฟูเครือข่ายป่าชุมชนรอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวัออก”

ความเป็นมา
ป่ารอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุม 5 จังหวัดได้แก่ ฉะเชิงเทรา สระแก้ว ระยอง จันทบุรี
และชลบุรี มีเนื้อที่รวมประมาณ 1.2 ล้านไร่ เป็น ป่าดิบลุ่มต่่าผืนสุดท้ายของประเทศ มีลักษณะโดดเด่นคือ เป็นป่าลุ่ม
ต่่าที่ไม่ผลัดใบ ( lowland forest) ซึ่งเป็นปัจจัยที่ท่าให้เกิดความหลายหลายทางชีวภาพมากแห่งหนึ่งของไทย มีการพบ
พันธุ์ไม้ พันธุ์สัตว์เฉพาะถิ่นหายากหลายชนิด เป็นพื้นที่ต้นน้่าที่ราบลุ่มผืนใหญ่ ที่เชื่อมโยงกับพื้นที่เกษตรกรรม และ
ยังเป็นแหล่งต้นน้่าหลายสายที่ส่าคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ เขตอุตสาหกรรมของ ภาคตะวันออก เช่น แม่น้่าบางปะกง
แม่น้่าปราจีน แม่น้่าประแสร์ คลองโตนด และแม่น้่าจันทบุรี ซึ่งแม่น้่าดังกล่าวเปรียบเสมือนสายโลหิตที่หล่อเลี้ยง
สิ่งมีชีวิตและชุมชนในภาคตะวันออกของไทย
ชุมชนส่วนใหญ่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในช่วงเวลาที่ต่างกัน ด้วยเหตุปัจจัยหลายอย่าง เช่น เข้ามาตามสัมปทาน
ป่าไม้ การบุกเบิกที่ท่ากินใหม่ ซึ่งมีความหลากหลายทั้งวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี สามารถแบ่งลักษณะชุมชน
ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ 1) กลุ่มวิถีชีวิตชาวไร่ เป็นชุมชนอพยพมาจากภาคอิสานเข้ามาตั้งถิ่นฐานในช่วงสัมปทานป่า
ไม้ และบุกเบิกพื้นที่ป่าเพื่อปลูกอ้อยและมันส่าปะหลัง จนรัฐต้องออกนโยบายประกาศเขตพื้นที่อนุรักษ์ในภาค
ตะวันออก และมีการอพยพบางชุมชนที่อาศัยในเขตป่า มาจัดตั้งชุมชนใหม่ในรูปแบบหมู่บ้านป่าไม้ ในเขตจังหวัด
ฉะเชิงเทราและจังหวัดสระแก้ว ภาษาและวัฒนธรรมส่วนใหญ่เป็นแบบอิสาน ปัจจุบันพบว่ามีปัญหาหนี้สินสะสมจาก
การท่าพืชไร่ 2) กลุ่มวิถีชีวิตชาวบ้าน มีการตั้งถิ่นฐานนานกว่าและมีความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ในพื้นที่มากกว่า
กลุ่มชาวไร่ เอกลักษณ์ของชุมชนมีความสัมพันธ์แบบเครือญาติ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพท่าสวน ทั้งสวนผลไม้ สวน
ยางพารา จะพบได้ในเขตตอนใต้จังหวัดจันทบุรี ระยอง และชลบุรีบางส่วน สถานะทางเศรษฐกิจของชุมชนดีกว่า
ชุมชนตอนบนที่มีอาชีพท่าไร่ ชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่โดยรอบป่ารอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก ได้พึ่งพาฐาน
ทรัพยากรท้องถิ่นเป็นส่าคัญต่อการพัฒนาวิถีชีวิต จากความเปลี่ยนแปลงด้านการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่ไม่
เหมาะสม ความต้องการที่ดินเพื่อไปปลูกพืชเศรษฐกิจ และการขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ส่งผล
กระทบต่อแหล่งน้่าที่ชุมชนใช้ประโยชน์ขาดแคลน มลพิษน้่าเสีย สร้างแรงกดดันต่อฐานทรัพยากรป่าไม้ น้่า และที่ดิน
วิถีชีวิตชุมชนเปลี่ยนตามการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น จึงต้องอพยพไปตั้งถิ่นฐานหา
ที่ดินท่ากินใหม่ ในปี พ.ศ. 2539 เกิดองค์กรชุมชนที่มีแนวคิดจัดการทรัพยากรธรรมชาติท้องถิ่นในมิติการพัฒนาและ
มิติการอนุรักษ์ ก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพคนในชุมชน สามารถจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อ
พึ่งตนเองและอนุรักษ์ทรัพยากรท้องถิ่น จนปัจจุบันมีองค์กรชุมชนกว่า 66 หมู่บ้านรวมตัวกันจัดการทรัพยากรป่าไม้ใน
รูปแบบ “ป่าชุมชน” ซึ่งเป็นพื้นที่ป่านอกเขตป่าอนุรักษ์ ซึ่งทั้งสองมิติก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพ
คนในชุมชน อันน่าไปสู่การจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการพึ่งตนเองและการอนุรักษ์ทรัพยากรท้องถิ่น เกิดการ
เชื่อมประสานกันเป็นเครือข่ายองค์กรชาวบ้านป่ารอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก โดยมีชุมชนที่มารวมตัวกัน
แลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นเครือข่ายรวมกว่า 66 ชุมชน เป็นกลไกการเรียนรู้ที่องค์กรชุมชนต้องการ เพื่อน่าไปสู่การ
แก้ปัญหาหรือต่อยอดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติท้องถิ่นอย่างยั่งยืน และเกิดเครือข่ายป่าชุมชน 7 พื้นที่ใน 5 จังหวัด
3
ภาคตะวันออกขึ้น คือ เครือข่ายป่าชุมชนต่าบลท่ากระดาน อ่าเภอสนามชัยเขต เครือข่ายป่าชุมชนต่าบลคลองตะเกรา
เครือข่ายป่าชุมชนต่าบลท่าตะเกียบ อ่าเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา เครือข่ายป่าชุมชนพื้นที่เขาฉะกรรจ์-โนนสาว
เอ้ จังหวัดสระแก้ว เครือข่ายป่าชุมชนพลองทอง-บ่อทอง จังหวัดชลบุรี เครือข่ายป่าชุมชนต่าบลเขาน้อย จังหวัดระยอง
และเครือข่ายป่าชุมชนต่าบลพวา-ขุนซ่อง อ่าเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี รวมทั้งสิ้นจ่านวน 66 ชุมชน จัดการป่า
ชุมชนจ่านวน 82 แปลง รวมเนื้อที่ประมาณจ่านวน 25,000 กว่าไร่ และยังร่วมกันจัดตั้งคณะกรรมการเครือข่ายป่า
ชุมชนรอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก โดยมีตัวแทนจากเครือข่าย 7 พื้นที่และที่ปรึกษารวมจ่านวน 30 คน
เครือข่ายป่าชุมชนรอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก และศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาองค์กรป่าชุมชนภาคตะวันออก
มุ่งเน้นจัดกระบวนการเรียนรู้โดยชุมชนมีส่วนร่วม ภายใต้แนวคิด “ป่าชุมชน” โดย จัดการพื้นที่ป่านอกเขตอนุรักษ์
พร้อมกับพัฒนาองค์กรชาวบ้านให้มีศักยภาพและความเข้มแข็ง ความสามารถจัดการป่าชุมชนอย่างมีส่วนร่วม ให้เกิด
รูปธรรมชุมชนต้นแบบที่ชัดเจนในระยะแรก และท่าการขยายผลสู่ชุมชนอื่นๆ รอบป่า รอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก
ในระยะต่อไป จึงได้ร่วมกับหน่วยงานสนับสนุนที่เกี่ยวข้องจัดงานมหกรรมเครือข่ายป่าชุมชนรอยต่อ 5 จังหวัดภาค
ตะวันออกขึ้นดังกล่าว

วัตถุประสงค์
1. น่าเสนอประสบการณ์บทเรียนและผลการจัดการฐานทรัพยากรท้องถิ่นอย่างมีส่วนร่วมของเครือข่ายป่าชุมชน
รอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก
2. สนับสนุนกระบวนการเรียนรู้และปลุกจิตส่านึกต่อการปกป้องฟื้นฟูภูมิทัศน์ป่ารอยต่อ 5 จังหวัดภาค
ตะวันออก
3. ประสานเชื่อมโยงองค์กรชุมชน เครือข่ายชาวบ้าน และกัลยาณมิตรรอบป่ารอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก
4. ระดมทุนและประกาศจัดตั้งกองทุนเครือข่ายป่าชุมชนรอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก

กลุ่มเป้าหมาย จานวน 800 คน


 เครือข่ายป่าชุมชนรอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก จ่านวน 66 ชุมชน (ชุมชนละ 10 คน) รวม 660 คน
 กลุ่มเยาวชนเครือข่ายป่าชุมชนต่าบลคลองตะเกราและเครือข่ายป่าชุมชนพลวงทอง
 เครือข่ายป่าชุมชน 6 ภาค และเครือข่ายองค์กรชาวบ้านป่าตะวันออก
 เครือข่ายลุ่มน้่าพอเพียง, เครือข่ายชายฝั่งทะเลบูรพาและอ่าวไทย , เครือข่ายสิ่งแวดล้อมเมืองและคูคลอง
 หน่วยงานส่วนราชการที่เกี่ยวข้องส่วนกลางและในพื้นที่ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 องค์กรภาคธุรกิจและองค์กรพัฒนาเอกชน
 ผู้สื่อข่าวสื่อมวลชน และผู้สนใจทั่วไป

รูปแบบการจัดงานมหกรรม
 เวทีวิชาการโดยการจัดเสวนาและอภิปราย
 เวทีการแสดงกลางแจ้ง ลานแสดงวัฒนธรรมท้องถิ่นชุมชนคนป่ารอยต่อฯ
4
 นิทรรศการของเครือข่ายฯ และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง และลานแสดงสินค้า ผลิตภัณฑ์ของเครือข่ายฯ

องค์กรร่วมจัด
 เครือข่ายป่าชุมชนรอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก และองค์กรชาวบ้านร่มโพธิ์ทอง
 องค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทรา
 องค์การบริหารส่วนต่าบลคลองตะเกรา
 โรงเรียนบ้านร่มโพธิ์ทอง
 ศูนย์ฝึกอบรมวนศาสตร์ชุมชนแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (RECOFTC),
 ส่านักงานจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 9 (ชลบุร)ี
 ส่านักงานจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 9 (สาขาปราจีนบุรี)
 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาวนศาสตร์ชุมชนที่ 16 (สระแก้ว)
 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาวนศาสตร์ชุมชนที่ 6 (ระยอง)
 ศูนย์ปฏิบัติการไฟป่าฉะเชิงเทรา)กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาองค์กรป่าชุมชนภาคตะวันออก

องค์กรสนับสนุน
 กรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน(มหาชน) พอช.
 สถาบันลูกโลกสีเขียว บริษัท ปตท.จ่ากัด (มหาชน)
 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้่าภาคตะวันออก จ่ากัด (มหาชน)
 บริษัท เครือซิเมนต์ไทย (SCG)
 มูลนิธิวนเกษตรเพื่อสังคม

ระยะเวลา วันที่ 18 – 19 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 (2 วัน 1 คืน)

สถานที่ โรงเรียนบ้านร่มโพธิ์ทอง หมู่ที่ 7 ต่าบลคลองตะเกรา อ่าเภอท่าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา

งบประมาณ จ่านวน 615,000 บาท

You might also like