"เขื่อนไม่ใช่คำตอบน้ำท่วม-น้ำแล้ง" "ชลิต" อธิบดีกรมชลประทาน

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 3

"เขือ ่ ตอบน้ำท่วม-น้ำแล้ง" "ชลิต" อธิบดีกรมชลประทาน

่ นไม่ใชคำ
กรุงเทพธุรกิจ 05/12/2553

" เราต ้องหยุด การพัฒนา การก่อสร ้าง การใชประโยชน์ ้ ทดี่ นิ แบบไม่ระมัดระวัง แต่
พอน้ำท่วมบอกว่าบริหารจัดการไม่ด ี แต่ถ ้าถามว่าการแก ้ปั ญหาคืออะไร ทุกคนมอง
ไปทีส่ งิ่ ก่อสร ้างผมบอกว่าไม่ใช ่ การสร ้างเขือ
่ นกัน
้ น้ำไม่ใชคำ่ ตอบ "

ี หายจากสถานการณ์น้ำท่วมทีผ
ปฏิเสธไม่ได ้ว่า ความเสย ่ า่ นมา กรมชลประทานใน
ฐานะองค์กรบริหารจัดการน้ำเก่าแก่มานานกว่า 108 ปี ตกเป็ นจำเลย ไปพร ้อมๆ กับ
การแก ้ปั ญหาของรัฐบาลภายใต ้การนำของ นายอภิสท ิ ธิ์ เวชชาชวี ะ นายกรัฐมนตรี
..โดยหลายฝ่ ายมุง่ โจมตีไปทีก ่ ารบริหารจัดกาน้ำทีล
่ ้มเหลว และขาดบูรณาการ หน่วย
งานจัดการ ซ้ำเติมวิกฤติทเี่ กิดขึน ี หายเกิดขึน
้ ทำให ้ความเสย ้ ในวงกว ้าง

ั ภาษณ์
ภายใต ้คำถามต่างๆ หลังปั ญหาน้ำท่วมเบาบางลง "กรุงเทพธุรกิจ" ได ้สม
พิเศษ ชลิต ดำรงศกั ดิ์ อธิบดี กรมชลประทาน เพือ
่ ถามถึงการบริหารจัดการน้ำในชว่ ง
ทีผ
่ า่ นมา

** ความล้มเหลวการแก้ปญ
ั หาน้ำท่วมปัจจ ัยหนึง่ มาจากบริหารจ ัดการน้ำล้มเหลวหรือไม่

- ผมขอมองย ้อนหลังดีกว่า เดิมพืน ้ ทีภ


่ าคเหนือของเรา มีป่าไม ้อุดมสมบูรณ์ เวลาฝนตกน้ำตก เรามีป่าไม ้ช่วยชะลอ

น้ำก่อนลงสูแม่น้ำลำคลอง แม่น้ำลำคลองของเราก็ตลิง่ สูง ไม่เกิดน้ำล ้นตลิง่ พอน้ำไหลจากเหนือลงมาถึง ภาค
กลาง ก็มพ ี น
ื้ ทีร่ องรับน้ำ จำนวนมาก เช่น ภาคเหนือตอนล่าง นครสวรรค์ มีพน ื้ ทีร่ ับน้ำทีเ่ รียกว่า ทุง่ รับน้ำโดย
ธรรมชาติอยูแ ่ ล ้ว เช่นทุง่ บางระกำ ทีพ ่ ษิ ณุโลก ทุง่ พิจต ิ ร น้ำไหลจากเหนือเข ้าไปพักในพืน ้ ทีเ่ หล่านี้ ชาวบ ้านเอง
ก็ได ้ประโยชน์สามารถหาปลา ซึง่ หากพืน ้ ทีร่ ับน้ำในภาคเหนือล ้นก็ไหลลงทีท่ งุ่ รับน้ำในภาคกลาง ซึง่ ก็มท ี งุ่ รับน้ำ
อยูเ่ ช่นกัน แต่พน ื้ ทีเ่ หล่านีถ
้ ก ่ นแปลง มีสงิ่ ก่อสร ้างมากขึน
ู เปลีย ้ บางแห่งรุกพืน ้ ทีร่ ับน้ำเป็ นหมูบ ่ ้านจัดสรร มีถนนเกิด
ขึน

*** น้ำต้องหาทีอ
่ ยูใ่ หม่ ท่วมบ้าน

ใช่ครับ (น้ำเสียงขึงขัง) น้ำต ้องหาทีอ่ ยูใ่ หม่ ซึง่ ตอนหลังเราเรียกว่า น้ำท่วมเพราะว่าน้ำลงไม่ได ้ น้ำท่วมขังนานขึน ้
เพราะว่าไม่รู ้ว่าจะไหลไปไหน เมือ ่ เป็ นแบบนีแ ้ ล ้ว ของเดิม สภาพถูกเปลีย ่ น น้ำป่ าไหลหลากมีความถีม ้ ซึง่
่ ากขึน
ต ้องยอมรับว่า ปั จจุบันปั ญหาน้ำท่วม 50% เกิดจากปั ญหาน้ำท่วมขัง แต่มป ี ั ญหาน้ำล ้นตลิง่ น ้อยมาก เพราะว่าน้ำ
ไม่รู ้ว่าจะไหลไปไหน มีสงิ่ กีดขวางเต็มไปหมด เพราะว่าเราไปใช ้ทีด ่ น
ิ ไม่ระมัดระวัง ทำให ้เกิดการขวางทางน้ำ

*** ทุง ื้ ทีไ่ หนบ้าง


่ ร ับน้ำทีเ่ สียหายไปมีพน

การเปลีย ่ นแปลงการใช ้ประโยชน์ทด ี่ น


ิ เกิดขึน
้ มาก เอาง่ายๆ..ถ ้า ถามเด็กรุน ่ หลังว่ารู ้จักทุง่ รังสิตมัย้ ต ้องบอกไม่รู ้จัก
ทัง้ ๆ ที่ รังสิตคือทุง่ รับน้ำทีใ่ กล ้กรุงเทพฯ ทีส ่ ดุ รวมทัง้ ทุง่ ดอนเมือง แต่ถ ้าถามว่ารู ้จักฟิ วเจอร์พาร์คหรือเปล่า
แน่นอน เด็กรุน ่ หลังต ้องตอบว่า รู ้จักดี แต่ความจริงแล ้ว ฟิ วเจอร์พาร์ค ตั ง้ อยูใ่ นทุง่ รับน้ำ และพืน ้ ทีร่ ังสิตทัง้ แนวเป็ น
ทุง่ รับน้ำเดิม โดยเฉพาะในพืน ้ ทีร่ อบคลองต่างๆ ของปทุมธานี ส่วนใหญ่คอ ้ ทีร่ ับน้ำเป็ นทุง่ ซึง่ ในอดีตชาวบ ้าน
ื พืน
แถบนั น ้ เขาคุ ้นเคยกับ ปั ญหาน้ำท่วม ส่วนทุง่ รับน้ำ ทีย ่ ังสามารถรับน้ำได ้ดี คือ ทุง่ บางระกำ พิษณุโลกยังเป็ นทุง่ รับ
น้ำได ้ดีครับ แต่ทงุ่ ท่าวุ ้งที่ ลพบุร ี พึง่ เข ้าไปปรับปรุงเพือ ่ ให ้เกิดการใช ้งานได ้ดีขน
ึ้

***ถ้าจะนำทุง ้ ระโยชน์อก
่ ร ับน้ำมาใชป ี

เป็ นเรือ
่ งทีย
่ ากมากครับ เพราะพืน ้ ทีถ่ ก
ู เปลีย
่ นไปมาก ลำบากมากทีจ ่ ะนำกลับมาใหม่ เพราะว่า บางแห่งมีโฉนด
ทีด
่ นิ บางแห่งเป็ นถนน ซึง่ ขณะนี้ หากเราต ้องการระบายน้ำ ถ ้าปล่อยน้ำเข ้าทุง่ รับน้ำ เราจะต ้องเสียเงินจ่ายค่า
ชดเชยให ้กับคนในพืน ้ ซึง่ ผมคิดว่า หากพืน
้ ทีเ่ หล่านั น ้ ังไม่สามารถรับน้ำได ้ และการใช ้ประโยชน์
้ ทีร่ ับน้ำเหล่านีย
ทีด
่ น
ิ ยังไม่เปลีย
่ นแปลง ปั ญหาน้ำท่วมก็จะทวีความรุนแรงเพิม
่ มากขึน
้ ทุกปี หมูบ
่ ้านบางแห่ง ไปตัง้ บนสะดือทุง่ รับ
น้ำ ด ้วยซ้ำ

***แล้วจะแก้ปญ
ั หาได้ย ังไง

เราต ้องหยุด การพัฒนา การก่อสร ้าง การใช ้ประโยชน์ทด ี่ น


ิ แบบไม่ระมัดระวัง แต่พอน้ำท่วมบอกว่าบริหารจัดการ
ไม่ ดี แต่ ถ ้าถามว่าการแก ้ปั ญหาคืออะไร ทุกคนมองไปทีส ่ งิ่ ก่อสร ้างผมบอกว่าไม่ใช่ การสร ้างเขือ
่ นกัน
้ น้ำไม่ใช่ คำ
ตอบ พนังกัน ้ น้ำคือตัวปั ญหาในบางกรณี เพราะว่าเมืองต ้นน้ำสร ้างพนังกัน ้ น้ำ เมืองต่อไปโดน พอเมืองใต ้ลงมาส
ร ้างอีก เมืองต่อไปก็โดนหนักเข ้าไปอีก ปั ญหาไม่จบ

ผมคิดว่า วิธแ ่ มโทรมไปแล ้วก็ฟื้นฟู เช่นคลอง ต ้องฟื้ นฟูขน


ี ก ้ต ้องหยุดการทำลาย อนุรักษ์ไว ้ เสือ ึ้ มา แต่ไม่ใช่มอง
เรือ
่ งการพัฒนาเป็ นเรือ่ งก่อสร ้างอย่างเดียว

***ทุง ่ ังใชง้ านได้อยูท


่ ร ับน้ำทีย ่ ไี่ หนบ้าง

เราได ้ทำเรือ ่ งนีม ้ าตลอด แต่ต ้องใช ้เวลาสร ้างความเข ้าใจกับชาวบ ้านทีบ ่ างแห่งไปใช ้พืน
้ ทีทำ
่ การ เกษตรกรรม เช่น
ทุง่ รับน้ำท่าวุ ้ง สามารถรับน้ำได ้มากกว่า 100 ล ้านลูกบาศก์เมตร เดิมชาวบ ้านปลูกข ้าวฝั งลอยซึง่ ใช ้เวลานาน เราก็
เข ้าไปทำความเข ้าใจเปลีย ่ น พันธ์ข ้าว ทีร่ อบปลูกเก็บเกีย
่ วในช่วงฤดูน้ำมา ช่วงตุลาคม ชาวบ ้านเก็บเกีย ่ วเสร็จแล ้ว
ก็เปลีย ่ นพืน
้ ทีด ้ ทีร่ ับน้ำ แต่ทัง้ หมดชาวบ ้านต ้องมีสว่ นร่วม
่ ังกล่าวให ้เป็ นพืน

*** เขือ
่ นป้องก ันน้ำท่วมได้

ตอนนีไ ้ ม่มอ
ี ะไรทีด
่ ท ี ส
ี่ ด
ุ การสร ้างเขือ
่ นไม่ได ้ดีทส
ี่ ด
ุ ต ้องทำหลายอย่างในการแก ้ไขปั ญหา ต ้องมีหลายเครือ ่ งมือ
สร ้างเขือ ่ นไม่ใช่ทัง้ หมด ต ้องใช ้หลายวิธใี นการแก ้ไข เช่น การอนุรก ั ษ์ฟื้นฟู พัฒนาต ้องหยุดลงไปบ ้าง แต่หาก
พืน
้ ทีร่ ับน้ำไม่พอ ต ้องหาตุม ่ ใส่น้ำเพิม่ แต่ จะไปสร ้างเขือ ่ นเก็บไว ้ ก็คัดค ้าน เช่นกรณี ลุม
่ เจ ้าพระยา กรมชลประทาน
วางแผนสร ้าง เขือ ่ นแม่วงก์ แต่สร ้างไม่ได ้

้ ระโยชน์ทด
*** การคุมการใชป ี่ น
ิ ผ ังเมือง

ต ้องควบคุมการใช ้ประโยชน์ทด ี่ น ิ ซึง่ ต ้องมาร่วมกันหลายหน่วยงาน ผมเองก็พด ู เรือ


่ งนี้ จนไม่มเี สียแล ้ว (ยิม
้ น ้อยๆ)
ผมพูดจนไม่มเี สียงแล ้วอีก และผมคิดว่า หลังน้ำลดอีก 3 เดือนคงไม่มค ี นสนใจอีกแล ้ว ปั ญหาคือการสร ้างการมี
ส่วนร่วม แล ้วก็การบูรณาการหน่วยงานร่วมกัน ซึง่ ในเรือ ่ งนีผ
้ มต ้องบอกว่า กรมชลประทาน เกิดขึน ้ มานานกว่า 108
ปี แต่กอ ่ นเราเป็ นหน่วยงานทีบ ่ รู ณาการมากทีส ่ ด
ุ หลังจากรัฐบาลทักษิณ ปฏิรป ู ระบบราชการ หน่วยงานก็กระจาย
ไป ครัง้ แรกบอกว่าหน่วยงานเรือ ่ งน้ำจะมารวมกัน แต่ตอนนี้ หน่วยงานเรือ ่ งน้ำกระจายไปตามกระทรวง ถ ้าถามผม ก็
ต ้องบอกว่า แล ้วจะให ้ผมไปบูรณาการกับใคร เพราะว่าข ้อมูลเรามีมากทีส ่ ดุ และสองเราบริการจัดการน้ำมานานแล ้ว
่ องกรมชลฯ เลย แต่เราก็ชว่ ยแก ้ไขปั ญหามาตลอดเช่นกัน
ทัง้ ทีๆ่ น้ำท่วมไม่ใช่หน ้าทีข

*** แล้วควรเริม
่ จากตรงไหนก่อนดี

ผมว่า ไม่ใช่บรู ณาการระหว่างหน่วยงานดูเรือ


่ งน้ำ เพราะถ ้าถามผมตอนนี้ ผมก็สบ ั สน ไม่รู ้จะไปฟั งใคร ซึง่ ต ้องบูรณา
การ ก.มหาดไทย ผังเมือง เป็ นแนวทางเดียวกัน ไม่ใช่ เรือ่ งน้ำอย่างเดียว ทีถ
่ อ
ื กฎหมาย นีค ้ อ
ื การบูรณาการไม่ใช่
แค่เรือ
่ งน้ำเท่านั น

*** ทีผ
่ า
่ นมาเราไม่มก
ี ารวางแผนเชิงรุกเลย

การวางแผนล่วงหน ้า ต ้องขึน ้ อยูก


่ บ
ั นโยบาย นายกรัฐมนตรีก็พด
ู ว่าต ้องออกมาเป็ นนโยบายชาติให ้ได ้ พวกเรามี
ส่วนร่วมในเรือ
่ งนีท
้ ัง้ หมดไม่ใช่ คนใดคนหนึง่ เพราะว่าผลกระทบเกิดกับทุกคน ถ ้าแยกกันทำยังไงก็แก ้ไม่ได ้
นโยบายต ้องเป็ นบูรณาการหน่วยงานต่างๆ อย่างเป็ นรูปธรรมต ้องร่วมกันขับเคลือ่ นอย่างจริงจังและต่อเนือ่ ง

่ น้าแล้งอีกแล้ว จะบริหารอย่างไร
้ ล ังเข้าสูห
*** ตอนนีกำ

่ เข ้าช่วงน้ำแล ้ง อธิบดีกรมชลก็โดนตีหัวอีกแล ้ว... (หัวเราะ) ถึงเป็ นจำเลย ก็เป็ นสิง่ ทีเ่ รายอมรับเพราะว่าเรือ
เริม ่ งน้ำ
เข ้าใจยาก เพราะข ้อเท็จจริงน้ำแล ้ง หรือน้ำท่วม การบริหารต ้องใช ้หลายอย่างต ้องมีเครือ ่ งมือหลายชนิด ซึง่ ใน
ประเทศไทยมีพน ื้ ที่ 320 ล ้านไร่ แต่เรามีเครือ
่ งมือบริหารจัดการ มี เขือ ่ นประมาณ 300 เขือ ่ นทั่วประเทศ และพืน้ ที่
ชลประทาน 29 ล ้านไร่ ตรงนีค ้ อ
ื เครือ
่ งมือ นอกจากพืน ้ ทีบ
่ ริหารไม่ได ้ก็ปล่อยไปตามยถากรรม
้ ทีช
***นอกพืน ่ ลประทาน แก้ปญ
ั หาไม่ได้เลย

บริหารจัดการไม่ได ้ การขยายพืน ้ ทีช


่ ลประทานเป็ นได ้ยากมาก กรมชลประทานตัง้ มา 108 ปี แต่ทำได ้แค่ 29 ล ้าน
ไร่ ถือว่าช ้ามาก บางโครงการ เราต ้องการเพิม
่ พืน ่ ไร่ แต่ใช ้เวลา 5 ปี การทำงานด ้านนีต
้ ทีเ่ พียงแค่ 5 หมืน ้ ้องใช ้
เวลาไม่ได ้ง่ายๆ เลย บางเขือ
่ นเวลาก่อสร ้างนาน 7 ปี

*** ใชเ้ วลาเท่าไหร่พน


ื้ ทีช
่ ลประทานเต็ม 100%

ใช ้เวลาเท่าไหร่ถงึ จะ 100% ตอบไม่ได ้ เพราะว่า หากเรายังไม่หยุดเพิม ่ การสร ้างก่อสร ้าง การบุกรุก ไม่อนุรักษ์
สร ้างเขือ
่ นเท่าไหร่ก็ไม่พอ และการสร ้างเครือ
่ งมือบริหารจัดการน้ำไม่เหมือนกัน ภาคกลางกับ อีสานต ้องเป็ นเครือ ่ ง
มือคนละประเภท ถามว่า เรามียท ุ ธศาสตร์ ในการก่อสร ้างมัย ้ ต ้องตอบว่า กำหนดไม่ได ้เลย เช่นการสร ้างเขือ ่ นแม่
วงก์ สร ้างไม่ได ้ บางโครงการต ้องพับไปเลย เช่น เช่น เขือ ่ นฝายน ้อย ฝายใหญ่ บนพืน ้ ทีเ่ ขาใหญ่ กลายเป็ นอุทยาน
แห่งชาติเป็ นพืน้ ทีม
่ รดกโลกอีกทุกอย่าง จบ แล ้วต ้องทิง้ โครงการ

*** แก่งเสือเต้นก ับแม่วงก์ก็พ ับไปด้วยหรือเปล่า

่ นแม่วงก์ยังไม่พับโครงการ ถึงจะใช ้เวลานานกว่า 10 ปี แล ้ว ส่วน เขือ


เขือ ่ นแก่งเสือเต ้นยังไม่ทงิ้ แต่ยังไม่รู ้ลูกผีลก

คน ทุกอย่างยังอยูใ่ นแผนในการดำเนินการ ผมคิดว่า เราอาจจะต ้องเปลีย ่ นวิธค
ี ด
ิ ใหม่ แทนทีจ่ ะมองไปทีก ่ าร
ก่อสร ้างอย่างเดียว ให ้มองการแก ้ไขปั ญหาด ้วย เพราะเขือ ่ นไม่ได ้เป็ นคำตอบของทุกอย่าง แต่ถ ้าไม่กอ ่ สร ้างเขือ
่ น
เลยบางพืน ้ ทีอ
่ าจจะเป็ นไปไม่ได ้ เช่นกรณี พืน
้ ทีแ
่ ก่งเสือเต ้น ถ ้าสร ้างอ่างขนาดเล็กๆ อาจจะไม่เพียงพอ ต ้องสร ้าง
ขนาดใหญ่ เพราะสร ้างขนาดเล็ก จะได ้ลุม ่ น้ำย่อย แต่ผมยืนยันว่า เขือ ่ นไม่ใช่คำตอบทัง้ หมด

ทีมข่าวสิง่ แวดล ้อม

You might also like