Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 14

หนอนพยาธิแส้ม้า

สถานการณ์โรคระบาดวิทยา โรคพยาธิแส้ม้า

-พบได้ทัว่ โลก พบในเขตร้อนและอบอุ่น

-ปั จจ่บันพบได้ท่กภาคของประเทศไทย

พบการติดโรคสูงในภาคใต้ประมาณร้อยละ 38

ภาคกลาง ประมาณร้อยละ 3.3

ภาคเหนื อ ประมาณร้อยละ 5.2

ภาคตะวันออกเฉียงเหนื อประมาณร้อยละ 2.4 และถิ่นท่รกันดาร

หรือกลุ่มชาวเขา

มีการกระจายทางภูมศ
ิ าสตร์
พบได้ทัว่ โลก โดยเฉพาะในเขตร้อนและอบอุ่นที่มีการส่ขาภิบ าล

ไมุ ดี พ อ มั ก พบคุ่ ไ ปกั บ Ascaris lumbricoides แหลุ ง โรคอยุ่ ใ นคน

พยาธิตัวเต็มวัยอาศัยอยุ่บริเวณลำาไส้ใหญุตอนปลาย

ระบาดวิทยา
ลั ก ษณะของการระบาดเป็ นแบบ dooryard and household

infection เป็ นในเด็ ก มากกวุ า ผ้่ ใ หญุ แ ละจั ด อยุ่ ใ น soil transmitted

helminthiasis พยาธิตัวนี้ สุวนใหญุจะพบรุวมไปกับ Ascariasis ติดตุอ


เข้าสุ่คนโดยกินไขุพยาธิซ่ึงมีตวั อุอนอยุ่ภายในเข้าไปพร้อมกับอาหาร นำ้า

ผัก หรือติดไปกับเล็บมือ

ลักษณะรูปร่าง ชีววิทยา
เป็ นหนอนพยาธิตั วกลมขนาดเล็ ก มี ร่ ป รุ างลัก ษณะคล้ ายแส้ ม้ า

สุ ว นหน้ า เรีย วเล็ ก ยาวประมาณ 3 ใน 5 ของลำา ตั ว มี ห ลอดอาหาร

(oesophagus) อยุ่ ด้านหางใหญุออกเป็ นร่ปทรงกระบอก ยาว 2 ใน 5

ของลำาตัว มีลำาไส้ และอวัยวะสืบพันธุ่อยุ่ปลายหน้าส่ดของพยาธิตัวนี้

มี spear – like projection ซึ่งใช้เจาะ และเกาะติดกับเยื่อบ่ลำาไส้ตุอ

จากปากเป็ นหลอดอาหารซึ่งเป็ นทุอยาวตลอดสุวนแถบหน้าของลำาตัวตุอ

ไปเป็ นลำาไส้

ตรงสุวนกว้างซึ่งเปิ ดออกที่ anal opening ตรงปลายหลังส่ดของลำาตัว

ตัวผ้่ยาว 30 – 45 มิลลิเมตร ปลายหางม้วนงอ 360 องศา

หรือ มากกวุ า มี spicule 1 อั น ตั ว เมี ย ยาว 35 – 50 มิ ล ลิ เ มตร

ปลายหางทุ่ มี vulva เปิ ดที่สุวนหน้าของทุอนลำาตัว

ไขุ ร่ปรุางคล้ายถังเบียรุ ขนาด 50 x 25 ไมครอน มีเปลือก 2

ชั้น และมี ปุ ่ ม ใส ๆ ที่ หัว ท้ าย ไขุ มี สี น้ ำ าตาลเนื่ องจากสี ข องนำ้ าดี เมื่ อ

ออกมากับอ่จจาระใหมุ ๆ อยุ่ในระยะเซลลุเดียว ตัวเมียตัวหนึ่ งไขุได้

ประมาณวันละ 5,000 – 7,000 ฟอง


ตั ว แกุ อ าศั ย ใ น cecum แล ะ upper colon ใ น heavy

infection พบได้ถึง rectum ใช้สุวนหน้าของลำาตัวฝั งในเนื้ อเยื่อบ่ลำาไส้

ยึดเกาะและกินอาหาร จำานวนตัวเมียมากกวุาตัวผ้่เล็กน้อย ตัวแกุของ

พยาธิมีชีวิตอยุ่ได้ประมาณ 5 – 8 ปี

ไขุออกมากับอ่จจาระอยุ่ในดิน เมื่ออ่ณหภ่มิและความชื้ นเหมาะจะ

เจริญเป็ นระยะที่มีตัวอุอนอยุ่ภายใน เป็ นระยะติดตุอ กินเวลาประมาณ

2 – 4 สั ป ดาหุ ไขุ ช อบที่ รุ ม เงา อบอุ่ น ชุ่ ม ชื้ น ดิ น เหนี ย วหรือ ปน

ทราย เข้าสุ่คนโดยติดเข้าไปกับมือ อาหารหรือนำ้า ไขุจะ hetch ใน

ลำาไส้เล็ก larva เข้าไปอาศัยใน intestinal villi 3 – 10 วัน แล้ว

จึง migrate ไปสุ่ cecum เจริญเป็ นตัวแกุใน 30 – 90 วัน พยาธิ

ตั ว นี้ ไมุ ต้ อ งการ intermediate host มี host เพี ย งชนิ ด เดี ย ว คื อ

คน

ตัวพยาธิแส้มา้
ไขุจะมี plug ที่ข้ วั ทางปลายทั้ง
สองข้างมีเปลือกสีน้ ำาตาล

ทางชีววิทยา

พยาธิแส้ม้าจัดอยุ่ในกลุ่มไฟลัมนี มาโทดา(PHYLUM NEMATODA)

หนอนตัวกลม ไมุมีปล้อง เคลื่อนที่ด้วยการเอี้ยวตัวสลับกันไปมา ได้แกุ

พยาธิตัวกลมตุางๆ
พยาธิแส้ม้ามีช่ ือเรียกตามลักษณะ
ของลำาตัวที่มีสุวนหน้าเป็ นเส้นยาว
เรียวโดยมีความยาวประมาณ 3/4
ของลำาตัวสุวนท้ายที่เหลือซึ่งมี
ลักษณะหนากวุา พยาธิแส้ม้าอาศัย
อยุ่ในกระพ้่งลำาไส้ท่ีเรียกวุา
caecum โดยใช้สวุ นที่เรียวเล็กของ
ลำาตัวสุวนหน้าซึ่งเป็ นสุวนของ
หลอดอาหารสอดแทรกเข้าไปใน
ผนั งของลำาไส้ หลอดอาหารเป็ น
แบบ trichurid ซึ่งประกอบด้วย
เซลลุ stichosome ที่เรียงตุอกัน
พยาธิตัวผ้่ยาวประมาณ 7 ซม.
ปลายหางตัวผ้่งอม้วนมี spicule 1
อัน

และอยุ่ในปลอกห้่ม (sheath) แตุปลอกนี้ ห้่มเฉพาะสุวนต้นของ spicule


เทุานั้ น บนผนั งของปลอกห้่มมีหนามเล็กๆ พยาธิตัวเมียยาวประมาณ 7
ซม. ชุองเปิ ดอวัยวะเพศเมีย (vulva) เปิ ดตรงบริเวณจ่ดเริม
่ ต้นของสุวน
ที่ขยายใหญุของลำาตัว ไขุพยาธิมีสีน้ ำาตาลร่ปรุางคล้ายถัง (barrel shape)
และมีจ่ก (hyaline plug) ที่หัวและท้าย

วงจรชีวิต
พยาธิเพศเมียสามารถออกไขุได้วันละ 2000 ใบตุอวัน ไขุพยาธิท่ี
ปนออกมากับอ่จจาระภายใต้ภาวะที่เหมาะสมที่อ่ณหภ่มิประมาณ 25-34
องศาเซลเซียสจะเจริญจนมีพยาธิตัวอุอนระยะที่ 1 อยุภ
่ ายในโดยใช้เวลา
ประมาณ 1 เดือน ไขุระยะนี้ เป็ นไขุระยะติดตุอซึ่งอาจมีชวี ิตคงทนอยุ่ได้
หลายๆปี ถ้าไขุระยะนี้ ถ่กโฮสตุสด
่ ท้าย (final host) กินเข้าไปไขุจะฟั ก
เป็ นพยาธิตัวอุอนระยะที่ 1 ในลำาไส้เล็ก และไชเข้าไปอยุ่ในผนั งลำาไส้
นานราว 10 วัน หลังจากนั้ นจึงกลับออกมาอยุ่ในลำาไส้เล็ก และจะ
เคลื่อนที่ไปอยุ่ใน caecum เกาะติดอยุ่กับผนั งของ caecum แล้วเจริญ
เติบโตเป็ นพยาธิตัวเต็มวัยใช้เวลาประมาณ 70-90 วัน

ร่ป
ที่ 2 วงจรชีวต
ิ ของพยาธิแส้ม้า

อาการทางคลินิก
พยาธิ จำา นวนน้ อ ย อาการไมุ คุ อ ยมี ถ้ า พยาธิ จำา นวนมาก มี

อาการได้มากตั้งแตุอาเจียน เบื่ออาหาร นอนไมุหลับ ท้องอืด บาง

ครั้งมีผ่ ืนขึ้นตามตัว นำ้าหนั กลด มีไข้ตำ่า ๆ อาจมีอาการทางประสาท

มี reflex มากกวุ า ปกติ บางรายถุ า ยอ่ จ จาระมี ม่ ก เลื อ ด ท้ อ งเดิ น

เรื้ อรั ง ปวดเ บุ ง ผอ มแห้ ง เหนื่ อ ย หอ บ รวม ทั้ งอาการของ

secondary bacterial infection ในเด็ ก ที่ ข าดอาหาร และมี heavy

infection อาจทำาให้ตายได้ บางรายอาการคล้าย hookworm disease

การวินิจฉัยโรค

โดยการตรวจพบไขุ ใ นอ่ จ จาระ การตรวจวิ ธี concentration

จำาเป็ นใน light infection

การรักษาโรค พยาธิแส้ม้า
การรักษา

จะเป็ นการให้ยาถ่ายพยาธิเป็ นหลัก ดังนี้

1. Mebendazone (Fugacar) ยานี้ ในร่ปแบบยาเม็ด มีตัวยา 100

มิลลิกรัม /เม็ด ให้ทานในชุวงเช้าและเย็น เป็ นเวลา 3 วัน ไมุควรใช้ยานี้

ในสตรีที่ต้ งั ครรภุ โดยเฉพาะในชุวง 1 - 3 เดือนแรก

2. Pyrantel pamoate (Combantrin) เป็ นยาเม็ดขนาด 125

มิลลิกรัม /เม็ด ใช้ขนาดยา 10 มิลลิกรัมตุอนำ้าหนั กตัว 1 กิโลกรัม ครั้ง

เดียว

3. Levamisole ( Decaris) ประกอบด้วยตัวยา Levotetramisole


ทำาเป็ นเม็ดขนาด 50 มิลลิกรัม

สำาหรับเด็ก และขนาด 150 มิลลิกรัมสำาหรับผ้่ใหญุ ขนาดยาที่ใช้ 2.5

มิลลิกรัม ตุอนำ้าหนั กตัว 1 กิโล

กรัม ให้เพียงครั้งเดียว

สำาหรับรายที่มีการอ่ดกั้นลำาไส้ ถ้าอ่ดกั้นเพียงบางสุวนให้รก
ั ษาตาม

อาการเชุน ใช้สายสวนด่ดลมออก อาการอาเจียน ท้องอืดก็จะท่เลา แตุ

ถ้าอ่ดกั้นมากก็จำาเป็ นต้องใช้วิธีศัลยกรรม

4. ให้กินยาถุายพยาธิ Thiabendazole ขนาด 25 มิลลิกรัมตุอนำ้า

หนั กตัว 1 กิโลกรัม หลังอาหาร เช้าเย็นเป็ นเวลา 3 วัน

5. ใช้ยา Albendazole ขนาดยา 400 มิลลิกรัม ให้รบ


ั ประทานยา

2 เม็ด หลังอาหารครั้งเดียว สำาหรับผ้่ปุวยที่อาย่เกิน 2 ปี (ห้ามใช้ยาใน

หญิงตั้งครรภุและเด็กอาย่ตำ่ากวุา 2 ปี )

หมายเหตุ

การรับประทานยาถุายพยาธิน้ ั นไมุมีความจำาเป็ นที่ต้องกินยาท่กวัน

ติดตุอกันเป็ นเดือนซึ่งก็ข้ ึนกับชนิ ดของพยาธิและยาที่ใช้รก


ั ษา เชุน

Mebendazole ที่ใช้ในการรักษาพยาธิปากขอนั้ นกินติดตุอกันเพียงแคุ 3

วันก็สามารถกำาจัดพยาธิได้ สุวนการรับประทานยาถุายพยาธิน้ ั นในทาง

ทฤษฎีควรได้รบ
ั การตรวจยืนยันวุาเป็ นพยาธิด้วยการตรวจทางห้อง

ปฏิบัติการกุอนแตุเนื่ องจากการติดเชื้ อพยาธิพบได้บุอยในประเทศไทย

ประกอบกับคุายาในการรักษาใกล้เคียงหรือถ่กกวุาคุาตรวจทางห้อง
ปฏิบัติการ ดังนั้ นในทางปฎิบัติหากสงสัยหรือมีอาการของการเป็ นพยาธิ

จึงแนะนำาให้ใช้ยาได้เลย โดยอาจพิจารณาใช้ยา Mebendazole (เชุน

Fugacar®) เพราะครอบคล่มพยาธิหลายชนิ ด

ตัวอย่างยาที่ใช้ในการรักษา
การควบคุมและป้ องกันโรคพยาธิแส้ม้า

การป้ องกัน

- ปรับปร่งด้านการส่ขาภิบาลให้ดี

- ถุายอ่จจาระให้ถ่กส่ขลักษณะ ไมุถุายเรีย
่ ราด

- ให้เข้าใจถึงการบริโภคอาหาร โดยเฉพาะพวกผักต้องล้างให้สะอาด

หรือที่ทำาให้ส่ก โดยเฉพาะพวกผักที่ใช้ม่ลมาเป็ นปุ ่ยในการเพาะปล่ก

- ล้างมือและเล็บให้สะอาด

- ศึกษาวงจรชีวิตของพยาธิ

- พื้ นดินที่มีไขุพยาธิระยะติดตุอจำานวนมาก ควรจะปลุอยทิ้งไว้นาน

หลายเดือน เพื่อให้แสงแดดและความแห้งแล้งฆุาไขุพยาธิ

กลวิธใี นการดำาเนิ นงาน


1. ขั้นเตรียมการ

อบรมเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้อง การอบรมเป็ นกิจกรรม

สำาคัญกิจกรรมหนึ่ ง ซึ่งจะทำาให้การกำาจัดโรคพยาธิแส้ม้าบรรล่ตาม

วัตถ่ประสงคุได้ จึงต้องมีการถุายทอดความร้่ เทคนิ คและทักษะด้านการ

ปฏิบัติงานแกุผ้่เกี่ยวข้องท่กระดับ การจัดอบรมดำาเนิ นการโดยการสร้าง

บ่คลากรเป็ นลำาดับขั้นจากสุวนกลางสุ่สวุ น ภ่มิภาค (Training for

trainer) ซึ่งเป็ นกลวิธีท่ีให้ประโยชนุส่งส่ดทางด้านบริหารจัดการอบรม

การอบรมเป็ นการให้ความร้่เกี่ยวกับโรคพยาธิแส้ม้า การฝึ กปฏิบัติทักษะ

ด้านการ ตรวจอ่จาระไขุและตัวแกุในอ่จาระ ชุวยกระต้่นบทบาทการรุวม

มือกำาจัดโรคพยาธิแส้ม้าระหวุางเจ้าหน้าที่ของรัฐกับ ช่มชน

2. ขั้นดำาเนิ นการ

2.1 การกำาจัดโรคพยาธิแส้ม้า

2.1.1 มาตรการหลัก

- ให้การรักษา แกุประชาชนท่กคนในพื้ นที่มีการ

แพรุเชื้ อ (Transmission present area) เพื่อตัดวงจรการแพรุเชื้ อเป็ น

มาตรการหลัก โดยจะใช้ยาในการรักษาคือ ยาถุายที่นิยมใช้มีดงั นี้

1. Thiabendazole ( Mintezol ) เป็ น broad

spectrum antihelminthic อาจมีอาการข้างเคียงบ้าง เชุน วิงเวียน

คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ขนาดยาให้ผ้่ปุวย 25 มิลลิกรัมตุอนำ้า


หนั กตัว 1 กิโลกรัม

หลังอาหารเช้าและเย็น เป็ นเวลา 3 วัน

2. Mebendazole ( Fugacar ) ขนาดยา 100

มิลลิกรัม ตุอ เม็ด โดยให้เช้าและเย็นเป็ นเวลา 3 วัน ไมุคุอยมีฤิทธุข้าง

เคียง ให้ผลดี

การทำางานจะอาศัยช่มชนเป็ นหลักเพื่อให้มีความรุวมมือส่ง

โดยให้อสม.ที่อยุ่ในพื้ นที่ดำาเนิ นการจุายยารักษา

2.1.2 มาตรการเสริม

- การให้ส่ขศึกษา - ประชาสัมพันธุ

ส่ขศึกษา เป็ นสิ่งจำาเป็ นแรกเริม


่ ในการดำาเนิ นงานโครงการกำาจัดโรค

พยาธิแส้ม้า การให้ส่ขศึกษาเป็ นการสื่อสารให้กลุ่มเป้ าหมายเกิดการรับร้่

เข้าใจ และตระหนั กในปั ญหา ตลอดจนเสริมสร้างคุานิ ยม และเจตนคติ

ในการปฏิบัติ และพัฒนาพฤติกรรมของประชาชน

แนวคิด

- จัด/สนั บสน่ นให้เกิดประชาคมส่ขภาพในพื้ นที่เกี่ยวกับการควบค่มโรค

พยาธิแส้ม้า

- พิจารณาหาแนวทางปฏิบัติท่ีเป็ นร่ปธรรมสอดคล้องกับวัฒนธรรม วิถี

ชีวต

- สร้างกระบวนการเรียนร้่เกี่ยวกับโรคพยาธิแส้ม้าตั้งแตุวัยเด็ก ในระบบ
การเรียนการสอน โดยการเข้าไปให้ส่ขศึกษาในโรงเรียน

You might also like