Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

วัสดุจากยางพาราเพื่อปองกันความเสียหายของหลังคากระเบื้องซีเมนตใยหินจากพายุลูกเห็บ

Rubber-based Material Development for Asbestos Cement Roofing in Hailstorm-prone Region

วิเชษฐ เจริญธีรบูรณ 1 โสภาพรรณ แสงศัพท 2 และ สิงห อินทรชูโต 3


Vichet Charoenteeraboon, Sopapun Sangsupata, and Singh Intrachooto

บทคัดยอ
ในประเทศไทยเมื่อเกิดพายุลูกเห็บ มักจะพบวาหลังคาของอาคารที่มุงดวยกระเบื้องหลังคาซีเมนตใยหิน
จะเสียหายเปนจํานวนมาก จึงมีแนวคิดที่จะใชยางแผนดิบซึ่งเปนวัสดุจากธรรมชาติมาปดผิวหนาของกระเบื้อง
เพื่อลดแรงกระแทกของลูกเห็บ ในการวิจัยไดทดลองใชลูกตุมเหล็กซึ่งมีลักษณะการตกกระแทกเทียบเคียงกับการ
กระแทกของลูกเห็บ โดยใชพลังงานศักยจากความสูงของการปลอยลูกตุมเหล็กทดสอบแทนพลังงานจลนการชน
ของลูกเห็บ ผลการทดลองพบวาการปดทับดวยยางแผนดิบหนา 3 มม. บนกระเบื้องหนา 4 มม. สามารถปองกัน
ความเสียหายจากแรงกระแทกของลูกตุมเหล็กซึ่งเทียบไดกับลูกเห็บขนาดเสนผาศูนยกลางไมเกิน 20 มม. และ
การปดทับดวยยางแผนดิบหนา 3 มม. ทั้งแบบ 1 ชั้น และ 2 ชั้น สามารถลดแรงกระแทกเทียบไดกับลูกเห็บขนาด
เสนผาศูนยกลาง 30 มม. ไดใกลเคียงกัน แตการปดทับดวยยางแผนดิบหนา 3 มม. ทั้งแบบ 1 ชั้นและ 2 ชั้น ไม
สามารถลดแรงกระแทกเทียบไดกับลูกเห็บขนาดเสนผาศูนยกลาง 40 มม. ขึ้นไปได

ABSTRACT
Hailstorm is one of natural occurrence that causes damage to roofs (i.e. cement roof tiles) in a
number of regions in Thailand. Damages to cement roof tiles are costly to the home owners. The idea
of using natural materials such as unsmoked rubber sheets to reduce the damage to the surface of
roof tiles was initiated. A steel pendulum was used to substitute hailstone in the experiment because of
technical limitations in using actual ice spheres. Potential energy of the steel pendulum per area,
calculated from the released height, could imitate the impact force from kinetic energy of the hailstone.
The result of experiment revealed that covering the roof with 3 mm unsmoked sheets could protect the
damage to the 4 mm thick roof tiles from 20 mm diameter hailstones. There is no difference in the roof
damage between a single layer of 3 mm unsmoked shield or double layers of 3 mm unsmoked shield
from the impact of 30 mm diameter hailstones. This roof installation failed when the diameters of
hailstone were larger than 40 mm.
Key Words: hail, hailstone, hailstorm, para-rubber, unsmoked sheet, asbestos cement roof tile
V. Charoenteeraboon vichet_c@yahoo.com

____________________________
1,3
คณะสถาปตยกรรมศาสตร และ 2 คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
Faculty of Architecture and Faculty of Education, Kasetsart University
คํานํา
ที่มาของปญหาและแนวคิดของงานวิจัย
ประเทศไทยบริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนใหญจะเกิดลูกเห็บตกในชวงฤดูรอน
(มี.ค. – พ.ค.) ซึ่งจะเกิดตอเนื่องจากพายุฤดูรอน (กมลศรี, 2545) ลูกเห็บเปนภัยธรรมชาติอยางหนึ่งที่กอใหเกิด
ความเสียหายจํานวนมากตอที่อยูอาศัย โดยเฉพาะหลังคากระเบื้องซีเมนตใยหิน ซึ่งขอดีของหลังคาชนิดนี้คือ ไมผุ
ไมเปนสนิมหรือไหมไฟ มีเสียงรบกวนนอยเวลาฝนตก สามารถขึ้นรูปไดบางทําใหมีน้ําหนักเบา (บจก.กระเบื้อง
กระดาษไทย, 2546) เพื่อสะดวกแกการขนสงและทําใหโครงสรางของอาคารไมตองรับน้ําหนักมาก อีกทั้งมีราคาไม
สูง แตเมื่อเกิดพายุและมีลูกเห็บขนาดใหญตก หลังคาชนิดนี้จะเสียหายมากกวาหลังคากระเบื้องคอนกรีต
เนื่องจากหลังคาชนิดนี้แข็งและบาง จึงมีแนวคิดที่จะใชยางแผนดิบซึ่งเปนวัตถุดิบจากธรรมชาติซึ่งหาไดงาย
ยืดหยุนและเหนียวมาปดกระเบื้องหลังคาเพื่อชวยลดแรงกระแทก ซึ่งในอนาคตอาจพัฒนาตอเปนผลิตภัณฑ
หลังคาและใชซอ มแซมหลังคาเดิมที่เสียหาย และสาเหตุที่ผูประสบเหตุยังใชหลังคาชนิดนี้ไมเปลี่ยนไปใชหลังคา
คอนกรีตซึ่งแข็งแรงกวามามุงแทนกระเบื้องที่เสียหาย เพราะโครงสรางหลังคาเดิมไมไดเผื่อไวรองรับน้ําหนักของ
กระเบื้องคอนกรีตและระยะแปของหลังคากระเบื้องคอนกรีตนอยกวาหลังคากระเบื้องซีเมนตใยหินประมาณ 3-4
เทา สวนการเปลี่ยนเปนหลังคาเหล็กหากถูกแรงกระแทกของลูกเห็บขนาดใหญบอย ๆ ก็จะบุบเสียหายจนเกิด
สนิมภายหลังได อีกทั้งยังเกิดเสียงดังมากอีกดวย

การเกิดปรากฏการณลูกเห็บ
ลูกเห็บ (hail) เปนรูปแบบหนึ่งของการตกลงมาของน้ําจากบรรยากาศในรูปของแข็ง มีเสนผาศูนยกลาง
ระหวาง 0.5 – 2.0 นิ้ว ในบางครั้งอาจมีขนาดโตกวา โดยจะมีรูปรางไมแนนอน เกิดจากละอองหยาดฝนซึ่งเย็น
แบบยิ่งยวด ในเมฆฝน ปะทะกับวัตถุแข็ง เชน ผงฝุน หรือ กอนลูกเห็บที่เกาะตัวอยูกอนแลว และแข็งตัวเกาะรอบ
วัตถุนั้น ๆ เปนกอนลูกเห็บ กอนลูกเห็บนี้อาจลอยตัวกอเปนกอนอยูเบื้องบนเปนระยะเวลาหนึ่งกอนจะตกลงมา
เนื่องจากลมที่พัดพาอยูเบือ้ งบน ดังนั้นลูกเห็บอาจเกาะตัวจนเปนกอนใหญมีน้ําหนักเกินกวาที่ลมจะพัดใหลอยอยู
ไดและตกลงมา ลูกเห็บที่ตกในประเทศไทยมีเสนผาศูนยกลางระหวาง 0.5 – 2.0 นิ้ว มักเกิดในฤดูรอนบริเวณ
ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน สวนภาคอืน่ อาจเกิดไดจากความแปรปรวนของสภาพอากาศ
(กรมอุตุนิยมวิทยา, 2548)

ความเสียหายที่เกิดจากลูกเห็บ (Hailstone Damage Scale)


ตารางที่ 1 ตารางแสดงระดับความเสียหายที่เกิดขึ้นทั่วโลกกับวัตถุตางๆ (Weatherimagery Website, 2005)
Name SIZE Name
H0 0.2” – 0.4” pea-sized No damage
H1 0.2” – 0.8” marble-sized Makes holes in leaves and flowers
H2 0.2” – 1.2” penny-sized Strips leaves from plants and damages vegetables
H3 0.4” – 1.8” nickel-sized Breaks glass panes, scrapes paint, marks woodwork, dents trailers
H4 0.6” – 2.4” golf ball-sized Breaks windows, cracks windscreens, kills chickens and small birds
H5 0.8” – 3.0” tennis ball-sized Breaks some roof tiles and slates, dents cars, strips bark from trees, kills small animals
H6 1.2” – 3.9” baseball-sized Breaks many roof tiles, cuts through roof shingles, breaks wooden window frames
H7 1.8” – 4.9” grapefruit-sized Serious damage to cars, breaks metal window frames, shatters many roofs
H8 2.4” – 5.0” softball-sized Cracks concrete roofs, marks pavement, splits trees, can seriously injure people
แผนที่แสดงบริเวณที่เกิดพายุลูกเห็บ ป ค.ศ. 2000-2005 พื้นที่ที่เหมาะสมกับการปลูกยางพารา

รูปที่ 1 แสดงบริเวณที่เกิดพายุลูกเห็บ ป ค.ศ. 2000 – 2005 รูปที่ 2 แสดงพื้นที่ที่เหมาะสมกับการปลูกยางพารา (สํานักงาน


รวบรวมขอมูลพายุลูกเห็บแสดงในแผนที่จาก ขอมูลจาก เศรษฐกิจการเกษตร, 2548)
กรมอุตุนิยมวิทยา ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2548

จากการศึกษารูปแบบหลังคาในสหรัฐอเมริกาซึ่งประสบภัยพายุลูกเห็บเปนจํานวนมากพบวารูปแบบหลังคา
สวนใหญจะเปนวัสดุที่เหนียวและยืดหยุนหรือแข็งแรงมากเพื่อรองรับกับแรงกระแทกของลูกเห็บ จึงมีแนวความคิดที่
จะนํายางพาราซึ่งเปนวัสดุจากธรรมชาติที่มีคณุ สมบัติยืดหยุน เหมาะแกการรับแรงกระแทก มาปองกันหลังคา
กระเบื้องซีเมนตใยหินที่แข็ง บางและเปราะ โดยชาวบานในพื้นที่เสี่ยงสามารถนําแผนยางที่มีตําหนิจําหนายไมได
ราคา มาปูหลังคาปองกันในชวงฤดูที่มักเกิดเหตุและหลังจากนั้นยังสามารถนําแผนยางไปจําหนายตอไดอีก

อุตสาหกรรมยางพาราในประเทศไทย
อุตสาหกรรมยางพารา จะแบงออกเปน 2 ประเภทหลัก คือ อุตสาหกรรมยางแปรรูปพื้นฐาน และ
อุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง โดยอุตสาหกรรมยางแปรรูปพืน้ ฐานเปนการแปรรูปน้ํายางสดจากตนยางพาราไปเปน
ผลิตภัณฑยางขั้นตนหรือยางดิบ เพือ่ นําไปใชเปนวัตถุดิบของอุตสาหกรรมผลิตยางชนิดตางๆ ซึ่งผลิตภัณฑยาง
ขั้นตนนี้จะมีอยู 2 ลักษณะคือ
1. ยางแหงชนิดตางๆ ไดแก ยางแผนรมควัน ยางแทง และยางเครพ
2. น้ํายางขน (Concentrated Latex) โดยการทําใหน้ํายางสดมีความเขมขนสูงขึ้น อยูในระดับที่เหมาะสม
กับอุตสาหกรรม
ยางที่นํามาใชทดสอบ
เปนยางแผนดิบ (Unsmoked Sheet) ซึ่งเปนขั้นตอนหนึ่งของการแปรรูปน้ํายางสดเปนยางแหง และ
เปนชวงสุดทายที่ชาวบานจะเก็บยางตากไวกอ นสงใหแปรรูปเปนยางแผนดิบผึ่งแหง หรือยางแผนรมควัน ซึ่ง
ชาวบานสามารถนํายางแผนดิบที่มีตําหนิมาใชงานเพื่อลดความเสียหายจากพายุลูกเห็บกอนโดยวัตถุดิบหลัง
ใชงานยังสามารถจําหนายในภายหลังได

น้ํายางสด จับตัวดวยกรดฟอรมิค ยางจับเปน จักรรีดยาง


ยางแผนหนาประมาณ 2-3 มม.
ผานการกรองแยกสิ่งสกปรก หรืออะซิติค กอน
ผึ่งในที่รม

วัสดุที่นํามา ยางแผนดิบ (Unsmoked Sheet ,USS)


ใชทดสอบ
อบดวยลมรอน (อุณหภูมิประมาณ 45-65 OC) รมควัน (อุณหภูมิประมาณ 50-60 OC)
ใชเวลาประมาณ 3-5 วัน ใชเวลาประมาณ 4-10 วัน

ยางแผนผึ่งแหง ยางแผนรมควัน
รูปที่ 3 แสดงลักษณะยางแผนดิบที่ใชทดสอบ
ตรวจจัดชั้นดวยสายตา

หีบหอ / จําหนาย หีบหอ / จําหนาย

รูปที่ 4 แสดงแผนผังแสดงการผลิตยางแผนดิบเปนวัตถุดิบกอนผลิตเปนยางแผนผึ่งแหง หรือยางแผนรมควัน

คุณสมบัติและโครงสรางเคมีของยางพารา
ยางธรรมชาติเปนสารประกอบในกลุมโพลิเมอรที่มีโมเลกุลขนาดใหญ ประกอบดวยหนวยยอยชนิด
เดียว มีคุณสมบัติที่สําคัญ คือยืดหยุน เหมาะสําหรับทําวัสดุรับแรงกระแทก (กรมวิชาการเกษตร, 2541)

วัตถุประสงคของการวิจัย
ประยุกตใชยางพาราเพื่อลดความเสียหายของหลังคากระเบื้องซีเมนตใยหินจากพายุลูกเห็บ ซึ่งเปน
วัตถุดิบที่คนในทองถิ่นสามารถจัดหาและติดตั้งไดเอง
ขอบเขตของงานวิจัย
งานวิจัยนี้จะมุง เนนที่การใชยางพาราซึ่งเปนวัตถุดิบจากธรรมชาติที่สามารถหาไดในทองถิ่นหรือบริเวณ
ใกลเคียง เพื่อปองกันความเสียหายของหลังคากระเบื้องซีเมนตใยหินชนิดลอนคู หนา 4 มม. ที่เกิดจากแรง
กระแทกของลูกเห็บขนาดเสนผาศูนยกลางขนาด 3 ซม. ซึ่งเกิดหลังลมพายุ
แนวคิดการสรางเครื่องมือจําลองแทนลูกเห็บ
เนื่องจากในการทําวิจัยไมสามารถทดลองกับ
ลูกเห็บที่ตกจริงไดจึงทดลองโดยใชวัตถุที่มีลกั ษณะการ
ตกกระแทกเทียบเคียงกับการตกกระแทกของลูกเห็บ
คือใชลูกตุมเหล็กแทนลูกเห็บ ซึ่งความเร็วของลูกเห็บ
กอนกระแทกหลังคาจะคงที่ เนื่องจากแรงตานของ
อากาศ (NASA Website, 2005) เทากับน้ําหนักของ
ลูกเห็บ (ตามกราฟรูปที่ 5) โดยกําหนดใหพลังงานศักย
การชนของลูกตุมเหล็กตอพื้นที่แทนพลังงานจลนการ รูปที่ 5 กราฟแสดงเปรียบเทียบวัตถุตกโดยมีแรงตานและไมมี
ชนของลูกเห็บตอพื้นที่ (ตามรูปที่ 6) แรงตาน (NASA Website and Aerospaceweb Website,
2005)

รูปที่ 6 แสดงการเปรียบเทียบพลังงานของการตกของลูกเห็บกับเครื่องมือทดลอง (NASA Website and HyperPhysics Website, 2005)

เครื่องมือจําลองการกระแทกของลูกเห็บ
ในการออกแบบเครื่องมือทดลอง ตองหาความเร็ว
ปลายของลูกเห็บขณะกระแทกกับหลังคา เพื่อคํานวณหา
พลังงานจลนการกระแทกของลูกเห็บ ซึ่งความเร็วปลายจะ
ขึ้นกับน้ําหนักและรูปทรงของลูกเห็บ โดยรูปทรงและคา
Raynolds Number จะเปนตัวกําหนดคาสัมประสิทธิ์แรง
เสียดทาน (Drag coefficient) ของวัตถุดังกลาวตามรูปที่ 9
จากการคํานวณตามสูตร
- ลูกเห็บขนาดเล็กสุด (0.010 ม.) มีคา Re = 9.9779x103
- ลูกเห็บขนาดใหญสุด (0.063 ม.) มีคา Re = 1.5928x105 รูปที่ 7 แสดงสูตรการหาคา Reynolds Number ของ
จากกราฟรูป 9 คาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน(Cd) ลูกเห็บ วัตถุเคลื่อนที่ผานของไหล (NASA Website, 2005)
ในชวง Re = 103 – 105 จะมีคาประมาณ 0.50
การคํานวณหาความเร็วปลายของลูกเห็บ

คํานวณจากสูตรโดยกําหนดตัวอยางการคํานวณที่ลูกเห็บ
ขนาด เสนผาศูนยกลาง 0.01 เมตร (0.39 นิ้ว)
ถ.พ.ของน้ําแข็ง = 0.92, Density(D)น้ําแข็ง = 920 kg./m.3

รัศมีของลูกเห็บ = 0.005 m.
พื้นที่หนาตัดของลูกเห็บ (A)
= ¶ r2
= 7.8540x10-5 m.2 รูปที่ 8 แสดงคา Drag coefficient (Cd) สัมพันธกับคา
ปริมาตรของลูกเห็บ (V) = Reynolds Number ของวัตถุทรงกลม (NASA Website
= 5.2360x10-7m.3 and Aerospaceweb Website, 2005)
ความหนาแนนของอากาศ (r) = 1.22 kg./m.3
(ณ ความสูง 15 ม. ,อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส)
มวลของลูกเห็บ (m) = DV
= 920 kg./m.3 x 5.2360x10-7m.3
= 4.8171x10-4 kg.
น้ําหนักของลูกเห็บ (W) = m g
= 4.8171x10-4 kg. x 9.81 m./s2
= 0.0047256 kg.m./s2
ความเร็วปลายของลูกเห็บ =
รูปที่ 9 แสดงสูตรการหาความเร็วปลายของวัตถุตกโดยมี
แรงตานอากาศ (NASA Website, 2005)
=

= 14.0454 m./s.

ในการทดลองนี้เลือกใชตุมเหล็กที่มีขนาดเสนผาศูนยกลาง 2.7 ซม. หนัก 0.50 กก. ทดลองปลอย


ที่ความสูงตางๆแทนพลังงานจลนตกกระทบของลูกเห็บขนาดตางๆ เปนคาพลังงานศักยตอพื้นที่ของ
ลูกเห็บแตละขนาด
ตัวอยางการคํานวณหาความสูงในการปลอยลูกตุมเหล็ก โดยกําหนดเสนผาศูนยกลางลูกเห็บที่
0.010 ม.
EK – พลังงานจลน, EP – พลังงานศักย, A1 – พื้นที่หนาตัดลูกเห็บ (m.2), A2 – พื้นที่หนาตัดลูกตุมเหล็ก (m.2),
S - ความสูงการปลอยลูกตุมเหล็ก
EKของลูกเห็บ / A1 = EPของลูกตุมเหล็ก / A2
½ (m1 v12) / A1 = m2 g S / A2
½ (4.8171x10-4x (14.0454)2) / (7.8540x10-5) = (0.50 x 9.81 x S) / 0.000594
S = 0.07326 m
ตารางที่ 2 ตารางแสดงพลังงานจลนของลูกเห็บที่ขนาดตางๆเทียบเคียงกับพลังงานศักยของลูกตุมเหล็กปลอยที่
ความสูงตางๆ

ลูกตุมเหล็ก
ลูกเห็บ (มวล 0.5 Kg.
พื้นที่หนาตัด 5.94x10-4 m.2)
ความเร็ว พื้นที่ พลังงาน ความสูงของ
Dia. มวล (m) Ek /พื้นที่ Ep /พื้นที่
ปลาย หนาตัด จลนการชน การปลอย
(m.) (Kg.) (จูล/m.2) (จูล/m.2)
(m./s) (m.2) (จูล) (m.)
0.010 4.8171x10-4 14.0454 7.8540x10-5 0.0475 604.97 0.07326 604.97
0.020 3.8537x10-3 19.8631 3.1416x10-4 0.7602 2,419.87 0.29303 2,419.87
0.030 1.3006x10-2 24.3273 7.0686 x10-4 3.8486 5,444.71 0.65931 5,444.71
0.040 3.0829x10-2 28.0907 1.2566 x10-3 12.1636 9,679.49 1.17211 9,679.49
0.050 6.0214x10-2 31.4064 1.9635 x10-3 29.6963 15,124.20 1.83142 15,124.20
0.060 1.0405x10-1 34.4040 2.8274 x10-3 61.5782 21,778.84 2.63724 21,778.84
0.063 1.2276x10-1 35.3653 3.1570 x10-3 76.7678 24,317.05 2.94461 24,317.05

หมายเหตุ ตัวเลขขอมูลภายในตารางนํามาจากการคํานวณที่มีการปดเศษตัวเลขหลังทศนิยมลง

ในการจําลองการกระแทกของลูกเห็บขนาดตางๆ ดวยลูกตุมเหล็กขนาด 0.5 กก. ปลอยทีค่ วามสูงตางๆ ซึ่ง


ทําใหพลังงานศักยจากความสูงในการปลอยลูกตุมเหล็กตอพื้นที่ เทากับพลังงานจลนของลูกเห็บตอพื้นที่ตกกระทบ
จากการคํานวณจะไดคาความสูงในการปลอยลูกตุมเหล็กดังนี้
ลูกเห็บขนาด (ม.) ปลอยลูกตุมเหล็กที่ความสูง(ม.) ลูกเห็บขนาด (ม.) ปลอยลูกตุมเหล็กที่ความสูง(ม.)
0.010 0.073 0.050 1.831
0.020 0.293 0.060 2.637
0.030 0.659 0.063 2.944
0.040 1.172

อุปกรณที่ใชในการทดลอง
ประกอบดวย
1. ลูกตุมเหล็กหนัก 0.5 กก. หัวกระแทก
เสนผาศูนยกลาง 0.027 ม.
2. รอก เชือกและโครงเหล็กยึดกระเบื้องและรอก
3. กระเบื้องซีเมนตใยหินชนิดลอนคู หนา 4 มม.
และ หนา 5 มม.
4. ยางพาราแผนดิบหนา 3 มม. จากอําเภอศีขรภูมิ รูปที่ 10 ลูกตุมเหล็กหนัก 0.5 กก. หัวกระแทกขนาด
จังหวัดสุรินทร เสนผาศูนยกลาง 0.027 เมตร
วิธีการทดลองและการเก็บขอมูล
ชุดทดลองประกอบดวยโครงเหล็กดานลางมีเหล็กรับทําหนาที่เหมือนแปของหลังคา (ตามรูป 11) มีเสา
โครงเหล็กสูงตั้งเพื่อยึดรอกสําหรับปลอยลูกตุมเหล็กที่ความสูงตางๆที่จะใชทดสอบ เพื่อนับจํานวนครั้งที่เกิดรอย
แตกราว และกระเบื้องทะลุ โดยมีวิธีการดังนี้
- ความสูงที่ใชคํานวณคือความสูงจากจุดตกกระทบบนกระเบื้องถึงปลายลูกตุมเหล็กกอนปลอยทุกครั้ง
- กอนทดลองตองปลอยใหลูกตุมเหล็กนิ่งกอนเพื่อปรับตําแหนงการตกใหกระทบจุดที่เปนรางเรียบของแผน
กระเบื้องซีเมนตใยหินชนิดลอนคู
- ในการปลอยตกจะใหลูกเหล็กกระทบที่ทองรางซึ่งเปนสวนที่รับแรงกระแทกไดนอยที่สุด

รูปแบบเครื่องมือทดลอง

รูปที่ 11 แสดงแบบเครื่องมือทดลองที่จะใชทดสอบแรงกระแทกจากลูกตุมเหล็กแทนลูกเห็บ

ลักษณะความเสียหายของกระเบื้อง
จากการทดลองกระแทกของ
ลูกตุมเหล็ก

รูปที่ 12 แสดงลักษณะหลังคาแตกราวและ
ลักษณะหลังคาทะลุ
รูปที่ 13 แสดงการทดลองใชกระเบื้องลอนคูหนา 4 มม. ชนิดเดียว รูปที่ 14 แสดงการทดลองโดยใชยางแผนดิบหนา 3 มม.
เพื่อรับแรงกระแทก ปดทับตามรูปลอนกระเบื้องลอนคูหนา 4 มม. เพื่อรับแรงกระแทก

รูปที่ 15 แสดงการทดลองใชกระเบื้องลอนคูหนา 5 มม. (มอก.) รูปที่ 16 แสดงการทดลองโดยใชยางแผนดิบหนา 3 มม. 2 ชั้น


ชนิดเดียว เพื่อรับแรงกระแทก ปดทับตามรูปลอนกระเบื้องลอนคูหนา 4 มม. เพื่อรับแรงกระแทก

ผลการทดสอบยางแผนดิบปองกันหลังคากระเบื้องลอนคูจากแรงกระแทกของลูกตุมเหล็ก
ตารางที่ 3 ตารางเปรียบเทียบขอมูลคาเฉลี่ยจํานวนครั้งที่เสียหายจากการทดลองแบบละ 3 ครั้งของกระเบื้องหลังคา
และการปดทับดวยยางแผนดิบแบบตางๆ
เทียบเทาขนาดของ ความสูงของ กระเบื้อง 4 มม. กระเบื้อง 4 มม. กระเบื้อง 5 มม. กระเบื้อง 4 มม.
ลูกเห็บ การปลอย ชนิดเดียว +ยางแผนดิบ 1 ชนิดเดียว +ยางแผนดิบ 2
เสนผาศูนยกลาง ลูกตุมเหล็ก ชั้น ชั้น
(m.) (m.) A B A B A B A B
0.010 m. (~0.39”) 0.073 > 200 > 200 N/A N/A N/A N/A N/A N/A
0.020 m. (~0.79”) 0.293 13 16 50 59 105 111 146 160
0.030 m. (~1.18”) 0.659 3 3 5 6 9 13 4 5
0.040 m. (~1.57”) 1.172 1 2 2 2 4 5 2 2
0.050 m. (~1.97”) 1.831 1 1 1 1 2 3 1 1
0.060 m. (~2.36”) 2.637 1 1 1 1 1 1 1 1
0.063 m. (~2.50”) 2.944 N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
หมายเหตุ 1. ใชสัญลักษณ A แทนจํานวนครั้งเฉลี่ยที่ปลอยลูกตุมเหล็กจนกระเบื้องแตกราว
2. ใชสัญลักษณ B แทนคาเฉลี่ยจํานวนครั้งที่ปลอยลูกตุมเหล็กจนทะลุแผนกระเบื้อง
3. ขอมูลผลการทดสอบที่ได >200 คือ ไดทําการทดสอบปลอยลูกตุมเหล็ก 200 ครั้งยังไมพบความเสียหายของกระเบื้อง
4. สัญลักษณ N/A หมายถึงไมไดทดสอบ
สรุปผลการวิจัย
การปดทับดวยยางแผนดิบหนา 3 มม. บนกระเบื้องหนา 4 มม. สามารถปองกันความเสียหายจากแรง
กระแทกของลูกตุมเหล็กซึ่งเทียบไดกับลูกเห็บขนาดเสนผาศูนยกลางไมเกิน 20 มม. และการปดทับดวยยาง
แผนดิบหนา 3 มม. ทั้งแบบ 1 ชั้น และ 2 ชั้น สามารถลดแรงกระแทกเทียบไดกับลูกเห็บขนาดเสนผาศูนยกลาง 30
มม. ไดใกลเคียงกัน แตการปดทับดวยยางแผนดิบหนา 3 มม. ทั้งแบบ 1 ชั้นและ 2 ชั้น ไมสามารถลดแรงกระแทก
เทียบไดกับลูกเห็บขนาดเสนผาศูนยกลาง 40 มม. ขึ้นไปได

รูปที่ 17 กราฟเปรียบเทียบขอมูลเฉลี่ยความแข็งแรงของหลังคาลอนคูลักษณะตางๆ
ขอเสนอแนะจากการทดลอง
ในการทดลองครั้งตอไป นาจะทดลองเสริมคุณสมบัติการลดแรงกระแทกของยางพารา โดยปรับโครงสรางทาง
เคมีดวยวิธีวัลคาไนเซชั่น (Vulcanization) เพื่อใชยางพาราในการปองกันความเสียหายจากแรงกระแทกของลูกเห็บได
ดีขึ้น
เอกสารอางอิง
กมลศรี เสนีตันติกุล. 2545. ลูกเห็บหลงฤดู. วารสาร อุตุนิยมวิทยา 2 (2): 33-37.
กรมวิชาการเกษตร. 2541. อุตสาหกรรมแปรรูปยาง. แหลงที่มา :http://www.doa.go.th/pl_data/RUBBER/
6product/pro01.html#pro2, June 20, 2006
บจก. กระเบือ้ งกระดาษไทย. 2546. ขอมูลดานเทคนิคของกระเบื้องซีเมนตใยหิน.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2548. ลูกเห็บ. แหลงที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/ลูกเห็บ, 14 กรกฎาคม 2548.
ศูนยบริการขอมูล กรมอุตุนิยมวิทยา. 2548. ขอมูลการเกิดพายุลูกเห็บในประเทศไทยระหวางป ค.ศ. 2000–2005
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 2548. งานวิจัยที่เกี่ยวกับยางพารา. แหลงที่มา : http://www.trf.or.th/
default.asp, July 22 , 2005.
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2548. แผนที่แสดงพื้นที่ที่เหมาะสมในการปลูกยางพารา. แหลงที่มา:
http://gis.oae.go.th/datapic/แผนที่แสดงความเหมาะสมระดับป/ยางพารา.GIF, 7 สิงหาคม 2548.
สํานักพยากรณอากาศ กรมอุตุนิยมวิทยา. 2548. ความหมายศัพทของลูกเห็บ.
Aerospaceweb Website. 2005. Drag of Cylinders & Cones. Available
Source:http://www.aerospaceweb.org/question/aerodynamics/q0231.shtml, August 6, 2005.
Apex Website. 2005. Ice Dams and Hail Damage. Available Source: http://www.apexrest.com/
icedamshaildamage.htm, August 6, 2005.
HyperPhysics Website. 2005. Hailstone Terminal Velocity. Available Source: http://hyperphysics.phy-
astr.gsu.edu/hbase/airfri2.html#c5, August 7, 2005.
NASA Website. 2005. Force on a Falling Object. Available Source: http://www.grc.nasa.gov/WWW/
K-12/airplane/falling.html, September 2, 2005.
NASA Website. 2005. Reynolds number. Available Source: http://www.grc.nasa.gov/WWW/
K-12/airplane/reynolds.html, September 2, 2005.
NASA Website. 2005. Shape Effect on Drag. Available Source: http://www.grc.nasa.gov/WWW/K-
12/airplane/shaped.html, September 2, 2005.
NASA Website. 2005. Terminal Velocity. Available Source: http://www.grc.nasa.grv/WWW/K-12/
airplane/termv.html, September 2, 2005.
Weatherimagery Website. 2005. Hail Damage Scale. Available Source:
http://www.weatherimagery.com/wx_scales.php, August 7, 2005.

You might also like