สัมมนาประจำปี เครือข่ายชุมชนรอบป่าตะวันออก 27-29 ธ.ค. (ที่ วนเกษตร)

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

โครงการสัมมนาประจาปี เครือข่ายชุมชนรอบปุาตะวันออก

ระหว่างวันที่ ๒๗-๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๓


หลักการและเหตุผล
เครือข่ายชุมชนรอบปุาตะวันออกเป็นเครือข่ายของคนที่มาจากชุมชนในพื้นที่รอบปุารอยต่อ ๕ จังหวัดภาคตะวันออก
ประกอบไปด้วยเขตรักษาพันธุ์สัตว์ปุาเขาอ่างฤาไน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ปุาเขาสอยดาว เขตอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง
อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฎ และอุทยานแห่งชาติน้าตกเขาสิบห้าชั้น ในพื้นที่ ๕ จังหวัด คือจังหวัดจันทบุรี ระยอง ชลบุรี
สระแก้ว และฉะเชิงเทรา โดยชุมชนมีการดาเนินกิจกรรมหลักในด้านวนเกษตร และปุาชุมชน ริเริ่มเมื่อปี ๒๕๔๑ มีคาขวัญ
ในช่วงต้นของการรวมตัว คือ ฟื้นฟูปุา พัฒนาอาชีพ ชุมชนมีการพบปะหารือแลกเปลี่ยนกันเป็นระยะ ๆ กิจกรรมของชุมชนมี
การขยายประเด็นไปสู่เรื่องของการแปรรูป การออมทรัพย์ การสร้างสวัสดิการชุมชน และการสร้างวิสาหกิจชุมชน บนพื้นฐานของ
การฟื้นฟูทรัพยากรปุาไม้ ที่ยังหลงเหลืออยู่ให้เป็นปุาชุมชน และสร้างวนเกษตร หรือปุาครอบครัว
โดยมีศูนย์ศึกษาและพัฒนาวนเกษตรบ้านห้วยหิน เป็นศูนย์ประสานงาน ปัจจุบันมีมูลนิธิวนเกษตรเพื่อสังคมเป็นองค์กรพี่
เลี้ยง และได้รับการหนุนเสริมจากหน่วยงานต่าง ๆ มากมาย เช่น ศูนย์ฝึกอบรมวนศาสตร์ชุมชนแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
มูลนิธิหมู่บ้าน มูลนิธิสายใยแผ่นดิน สถาบันพัฒนาทรัพยากรชุมชน ศูนย์ศึกษาและพัฒนาวนศาสตร์ชุมชนที่ 2 (สระแก้ว)
โดยการสนับสนุนและการเชื่อมโยงกับองค์กรต่าง ๆ เช่น สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.)
สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) สานักงานพัฒนาองค์กร
ชุมชน มีการทากิจกรรมภายใต้โครงการต่าง ๆ ซึ่งพยายามสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้และเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ทั้งในระดับ
บุคคล ระดับกลุ่ม ระดับพื้นที่ชุมชน และระดับเครือข่าย โครงการต่าง ๆ มีทั้งลักษณะที่เป็นการวิจัย การพัฒนา และการ
ฝึกอบรม
เครือข่ายของคนในชุมชนรอบผืนปุาตะวันออกที่ดาเนินชีวิตและทากิจกรรมต่างเพื่อพัฒนาพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและพี่
น้องในชุมชนของตน ผ่านกิจกรรมโครงการต่าง ๆ ภายใต้การประสานงานในนามเครือข่ายชุมชนรอบปุาตะวันออก ในช่วงที่ผ่าน
มามีหลายสิบชุมชนด้วยกัน การพบปะกันของเครือข่ายฯ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นเป็นประจาทุกปี นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งเครือข่ายเมื่อปี
๒๕๔๑ โดยอาศัยโอกาสใกล้วันปีใหม่ และครบรอบวันเกิดของผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม ซึ่งทาให้คนที่มาร่วมกิจกรรมได้บอกเล่า
เรื่องราวความก้าวหน้าหรือความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงทั้งส่วนของชุมชน และส่วนของสถานการณ์ทางสังคม ได้เห็นหน้าเห็นตาได้
ไถ่ถามทุกข์สุขของกันด้วยความห่วงใย เป็นเหมือนงานบุญประเพณีที่จะได้มีโอกาสได้มาพบปะพี่น้องในเครือข่ายกันอย่างพร้อมหน้า
พร้อมตา ที่ผ่านมารูปแบบการจัดมีทั้งแบบที่เป็นทางการบ้าง ไม่เป็นทางการบ้าง ตามโอกาสและเงื่อนไข ซึ่งในปีนี้นอกจากจะ
เป็นการสัมมนาประจาปีของเครือข่ายชุมชนรอบปุาตะวันออกแล้ว ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมดจัดได้ร่วมกันทอดผ้าปุาเพื่อจัดตั้งกองทุน
ให้กับผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม ด้วย
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อสรุปบทเรียนและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของคนในเครือข่ายชุมชนปุา
ตะวันออก
๒. ทอดผ้าปุาสมทบการจัดตั้งกองทุนเพื่อผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม

ระยะเวลาดาเนินการ
ระหว่างวันที่ ๒๗-๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓

หน่วยงานรับผิดชอบ
๑. มูลนิธิวนเกษตรเพื่อสังคม
๒. เครือข่ายชุมชนรอบปุาตะวันออก
๓. ศูนย์ศึกษาและพัฒนาวนเกษตรบ้านห้วยหิน(ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม)
๔. อื่นๆ .....

แนวทางการดาเนินการ
๑. ปรึกษาหารือบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
~ องค์กรร่วมจัดงาน
~ วิทยากร
๒. ประสานแหล่งทุน และงบประมาณในการจัดงาน
๓. ทาจดหมายเชิญวิทยากร และผู้เข้าร่วมการสัมมนา
๔. ประชาสัมพันธ์ตามสื่อสาธารณะต่าง ๆ ให้บุคคลทั่วไปมาร่วมงาน

งบประมาณ
๑. การบริจาคสบทบการจัดงานจากสมาชิกเครือข่ายและกลุ่มบุคคลทั่วไป(เป็น เงิน ข้าว วัถตุดิบ อาหาร แรงกาย
แรงใจฯลฯ)
๒. การสนับสนุนงบประมาณจากโครงการ และหน่วยงานอื่นๆ

กิจกรรม
ประกอบไปด้วย
๑. เวทีแลกเปลี่ยน สรุปบทเรียนของเครือข่ายฯ ซึ่งมุ่งเน้นให้เกิดการสรุปและแลกเปลี่ยนบทเรียนจาก ๖ ฐานกิจกรรม
และกลุ่มองค์กรต่าง ๆ ภายในเครือข่าย
๒. ลานภูมิปัญญา ปุาตะวันออก เป็นบรรยากาศของงานที่เน้นให้ คณะทางาน ๖ ฐานกิจกรรมของเครือข่าย และ
ชุมชนต่าง ๆ ที่ดาเนินกิจกรรม มีองค์ความรู้ภูมิปัญญาที่เป็นประโยชน์มาแสดงและสาธิต เพื่อให้เกิดการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน โดยเฉพาะเรื่องมันปุาและมันพื้นบ้าน
๓. ร่วมงานบุญครบรอบวันเกิดของผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม
ทั้งนี้บุคคลทั่วไปที่สนใจสามารถเข้ามาร่วมงานได้ตลอดเวลาซึ่งจะมีการประชาสัมพันธ์งานผ่านสื่อวิทยายุชุมชนในท้องถิ่น
และสื่ออื่น ๆ ตามโอกาส
กาหนดการ
๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๓
๐๘.๓๐-๑๒.๐๐น. ลงทะเบียน แต่ละฐานกิจกรรม และชุมชน จัดเตรียมพื้นที่เพื่อสาธิต จัดนิทรรศการ
นาเสนอองค์ความรู้ของกลุ่ม ในวันที่ ๒๘
๑๓.๐๐-๑๕.๐๐น. สุขภาพกาย สุขภาพใจ ของคนเครือข่ายปุาตะวันออก
๑๕.๐๐-๑๖.๓๐น. คุยกันเรื่องของมัน
๑๖.๓๐-๑๘.๐๐น. เตรียมอุปกรณ์เผาข้าวหลาม เผาเผือก เผามัน หลามมัน
๑๘.๐๐น. รับประทานอาหารเย็น
๑๙.๐๐-๒๒.๐๐น. ลานวัฒนธรรมเครือข่าย พบปะพี่น้องของเรา เล่าเรื่องราวของแต่ละคน ดนตรีเกษตรบันเทิง
เบิ่งเผือก มันในกองฟอน ร่อนมันหลามแบ่งกันกิน
๒๒.๐๐น. เข้าที่พัก
๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๓
๐๖.๐๐-๐๗.๓๐น. เสวนายามเช้า .................................
๐๗.๓๐-๐๘.๓๐น. อาหารยามเช้า
๐๘.๓๐-๑๒.๐๐น. เรียนรู้ ๕ ฐานกิจกรรม ข้าว อาหาร สมุนไพร ของใช้ ดินและจุลินทรีย์
๑๒.๐๐-๑๓.๐๐น. อาหารกลางวัน
๑๓.๐๐-๑๕.๐๐น. สรุปการเรียนรู้ ๑ ปี ของเครือข่าย
๑๕.๐๐-๑๗.๐๐น. แผนปี ๒๕๕๔ ของเครือข่าย
๑๗.๐๐-๑๘.๐๐น. รับประทานอาหารเย็น
๑๘.๐๐-๑๙.๐๐น. สวดพุทธมนต์เย็น
๑๙.๐๐-๒๒.๐๐น. ธรรมเพื่อชีวิต และทิศทางการเรียนรู้ของเครือข่ายปุาตะวันออก
๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓
ร่วมทาบุญครบรอบวันเกิด พ่อวิบูลย์ เข็มเฉลิม
๐๗.๐๐น. ถวายภัตตาหารเช้าแด่พระภิกษุ
๐๙.๐๐-๑๐.๓๐น. แสดงธรรม โดย พระอาจารย์หนูสิน
๑๐.๓๐-๑๒.๐๐น. ..........
๑๒.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน
๑๓.๐๐ น. เดินทางกลับ
ภูมิปัญญาปุาตะวันออก แบ่งปันความรู้ เพื่อความสุข และความพอเพียง
~ วนเกษตร มีกิน มีใช้ มีหลักประกัน อย่างไร
~ การจัดการข้าว
~ สมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเอง
~ อาหารเพื่อสุขภาพ
~ ของใช้
~ ดินและจุลินทรีย์
~ มันพื้นบ้านอาหารคนยาก

แหล่งงบประมาณ(ใช้แนวทางประหยัดและขอสมทบจากโครงการต่าง ๆ)
-

แนวทางการด้านอาหาร
~ อาหารระหว่างวันที่ ๒๗-๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๓ จานวน ๕ มื้อ
~ ข้าว มีทีมหุงส่วนกลาง โดยทีมครัวหลักที่ทาอาหารประจาให้ศูนย์
~ อาหารกลางวัน ๒๗ ธ.ค.
~ อาหารเย็น ๒๗ ธ.ค.
~ อาหารเช้า ๒๘ ธ.ค.
~ อาหารกลางวัน ๒๘ ธ.ค.
~ อาหารเย็น ๒๘ ธ.ค.
เพื่อเป็นการนาเสนออาหารสุขภาพของแต่ละท้องถิ่น แต่ละหมู่บ้านจัดเตรียมวัตถุดิบเพื่อนามาประกอบอาหารเองจากท้องถิ่น
แต่ละมื้อมีผู้รอรับประทานอาหารสุขภาพประมาณ ๑๕๐ คน

~ อาหารในวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ (คนประมาณ ๑๐๐-๑๕๐ คน)


~ อาหารเช้า ร่วมด้วยช่วยกันถวายภัตตาหารเช้า
~ อาหารกลางวัน

การมาร่วมงานของเครือข่าย
๑. เตรียมใจมาแลกเปลี่ยนกัน
๒. อาหารการกิน ใครมีอะไรมาช่วยกันได้ก็ขอรบกวน เช่น ข้าว ผัก ปลา แรงกาย
๓. มันพื้นบ้านมันปุา พืชหัวที่กินได้ ทุกชนิด
๔. ความรู้ และผลิตภัณฑ์ ที่เรามีอยู่ในครอบครัว กลุ่ม ชุมชน

You might also like